ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
เส้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics)
ก่อน 1000 ปีก่อนคริสตกาล
- ประมาณ 70,000 ปีก่อนคริสตกาล ร่องรอยบนแผ่นหินซึ่งมีรูปแบบทางเรขาคณิต ที่แอฟริกาใต้
- ประมาณ 35,000 ถึง 20,000 ปีก่อนคริสตกาล หลักฐานก่อนประวัติศาสตร์ยุคแรกๆ ที่แสดงถึงการบันทึกเวลา
- ประมาณ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ท่อนกระดูกอิชานโก (Ishango Bone) อาจกล่าวถึงเรื่องจำนวนเฉพาะ และการคูณของชาวอียิปต์ ใน
- ประมาณ 3400 ปีก่อนคริสตกาล ชาว คิดค้นระบบตัวเลข และมาตราการชั่ง-ตวง-วัด ในลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย
- ประมาณ 3100 ปีก่อนคริสตกาล ชาวอียิปต์ คิดค้นระบบตัวเลข ฐานสิบ ซึ่งสามารถใช้แทนตัวเลขใดๆ ก็ได้ด้วยการแนะนำสัญลักษณ์รูปแบบใหม่
- ประมาณ 2800 ปีก่อนคริสตกาล อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุในอนุทวีปอินเดียใช้ระบบเศษส่วนในมาตราชั่ง-ตวง-วัด หน่วยที่เล็กที่สุดของความยาวประมาณ 1.704 มิลลิเมตร หน่วยที่เล็กที่สุดของมวลประมาณ 28 กรัม
- 2700 ปีก่อนคริสตกาล อียิปต์คิดค้นวิชา
- 2400 ปีก่อนคริสตกาล อียิปต์สร้างปฏิทินดาราศาสตร์ ใช้จนถึงยุคกลางเนื่องจากความถูกต้องทางคณิตศาสตร์ของมัน
- ประมาณ 2000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวบาบิโลนใช้ระบบ และเป็นครั้งแรกที่มีการประมาณค่า π เป็น 3.125
- ประมาณ 2000 ปีก่อนคริสตกาล ลูกหินแกะสลัก (Carved Stone Ball) แห่งสกอตแลนด์แสดงถึงรูปแบบของที่หลากหลาย รวมถึงทรงตันเพลโต
- 1800 ปีก่อนคริสตกาล แผ่นปาปิรุสทางคณิตศาสตร์แห่งมอสโค (Moscow Mathematical Papyrus) แสดงถึงวิธีการหาปริมาตรของฟรัสตัม
- 1600 ปีก่อนคริสตกาล แผ่นปาปิรุสทางคณิตศาสตร์แห่งรินด์เป็นคัดลอกของม้วนกระดาษต้นฉบับสูญหาย คาดว่าต้นฉบับน่าจะเขียนราว 1850 ปีก่อนคริสตกาลคัดลอกโดยอาลักษณ์ที่ชื่อว่าอาเมส ได้บันทึกการประมาณค่า π ด้วยค่า 3.16 เป็นความพยายามครั้งแรกที่จะหาวิธีการสร้างสี่เหลี่ยมจตุรัสที่มีพื้นที่เท่ากับพื้นที่วงกลมโดยใช้หลักการของ และแสดงถึงวิธีการแก้สมการเชิงเส้นอันดับหนึ่ง
- 1300 ปีก่อนคริสตกาล แผ่นปาปิรุสแห่งเบอร์ลินซึ่งกล่าวถึงสมการกำลังสองและวิธีการหาคำตอบของสมการดังกล่าว
1 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล
- - พีทาโกรัส ศึกษาและคิดค้นเรขาคณิต รวมทั้งนำคณิตศาสตร์มาใช้อธิบาย นอกจากนี้ลูกศิษย์ของเขายังได้ค้นพบจำนวนอตรรกยะจากของ 2 (มีเรื่องเล่ากันว่าพีทาโกรัสผู้ซึ่งบูชาตัวเลขดั่งพระเจ้า ตกใจมากกับการค้นพบตัวเลขซึ่งไม่สามารถแทนได้ด้วยเศษส่วนนี้ จึงสั่งให้ลูกศิษย์เซ่นไหว้วัว 100 ตัวในการขอขมาที่ไปพบกับความลับของพระเจ้า),
- - คิดค้น method of exhaustion ซึ่งเป็นวิธีที่ทรงพลังในการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิต ซึ่งเป็นเทคนิคที่อาร์คิมิดีสเชี่ยวชาญมากในเวลาต่อมา และเป็นหนึ่งในรากฐานสำคัญของแคลคูลัส,
- - อริสโตเติล คิดค้นตรรกศาสตร์หรือศาสตร์แห่งการให้เหตุผลในตำรา Organon,
- - ยุคลิด เขียนตำราเรขาคณิตชื่อ The Elememts ซึ่งเป็นตำราที่นักคณิตศาสตร์ทั้งในอดีตและปัจจุบันยกย่องว่า สมบูรณ์ใกล้เคียงกับมาก โดยใช้เป็นฐานของทฤษฎีบททั้งหมด ภายในนั้นมีว่าจำนวนเฉพาะมีไม่จำกัด (เป็นจำนวนอนันต์) รวมทั้งขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด และการพิสูจน์ทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต นักประวัติศาสตร์ชาวยุโรปบางท่านกล่าวว่าตำราเล่มนี้เป็นหนังสือที่มีผู้อ่านมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติรองมาจากคัมภีร์ไบเบิล,
- - อาร์คิมิดีส คำนวณค่า π ได้ถูกต้องถึงทศนิยมตำแหน่งที่สอง โดยใช้ method of exhaustion ของยุโดซุส จากรูปวงกลมด้วยรูปหลายเหลี่ยมทั้งภายนอกและภายในวงกลมนั้น แล้วใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการประมาณความยาวของเส้นรอบวง โดยอาร์คิมิดีสสามารถคำนวณความยาวรอบรูปของรูป 96 เหลี่ยม (เพื่อใช้ประมาณแทนรูปวงกลม) ได้ทั้งๆ ที่ยังไม่มีระบบตัวเลขฮินดู-อารบิกและพีชคณิต นอกจากนี้อาร์คิมิดีสยังได้แสดงการคำนวณพื้นที่ใต้รูปพาราโบลาโดยใช้ method of exhaustion อีกเช่นกัน,
- - เอราทอสเทนีส คิดค้นตะแกรงของเอราทอสเทนีส ซึ่งเป็นขั้นตอนวิธีที่ใช้หาจำนวนเฉพาะได้อย่างรวดเร็ว (ในสมัยนั้น),
- - เขียนตำรา On Conic Sections ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับภาคตัดกรวยในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น วงรี พาราโบลา หรือ ไฮเพอร์โบลา,
- - วางรากฐานของตรีโกณมิติ,
- ประมาณ ค.ศ. 200 - ทอเลมีแห่งอเล็กซานเดรีย เขียนตำรา (ภาษาละติน: Almagest แปลว่า หนังสือที่ยิ่งใหญ่) ซึ่งเป็นตำราดาราศาสตร์ที่สำคัญที่สุดในยุคนั้น และได้รับการยกย่องมากในยุคกลางโดยนักคณิตศาสตร์มุสลิม,
- ค.ศ. 250 - เขียนหนังสือ Arithmetica ซึ่งเป็นตำราฉบับแรกที่พูดถึงระบบพีชคณิต,
- ค.ศ. 400 - ค.ศ. 550 นักคณิตศาสตร์ฮินดูสร้างสัญลักษณ์แทนเลขศูนย์ ในระบบตัวเลข,
- ค.ศ. 750 - นักคณิตศาสตร์มุสลิมผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งพีชคณิต คิดค้นทฤษฎีเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้น และระบบ และชื่อของเขาเป็นที่มาของคำว่า ขั้นตอนวิธี ที่ใช้กันในปัจจุบัน
ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (เรอเนซองต์)
- ค.ศ. 1520 - คิดค้นคำตอบใน ของ แบบลดรูป (คือสมการกำลังสาม ที่สัมประสิทธิ์ของเทอม x2 เท่ากับ 0) ได้สำเร็จ แต่ว่าไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานนี้ และได้ถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์คนสนิทชื่อ "อันโตนิโอ ฟิออ" คนเดียวเท่านั้น
- ค.ศ. 1535 - อันโตนิโอ ฟิออ ซึ่งได้รับถ่ายทอดเทคนิคจาก เดล เฟอโร ได้ท้า หรือ แข่งทำโจทย์คณิตศาสตร์ โดยต่างคนต่างให้โจทย์อีกฝ่ายคนละ 30 ข้อ โดยฟิออได้ให้ทาร์ทากลียาทำโจทย์สมการกำลังสาม ลดรูปทั้งหมด 30 ข้อ และในที่สุด ทาร์ทากลียาก็คิดค้นคำตอบในรูปแบบรากได้เช่นเดียวกันกับ เดล เฟอโร และชนะการแข่งขันครั้งนั้น อย่างไรก็ตาม ทาร์ทากลียาก็ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้เช่นกัน,
- ค.ศ. 1539 - เรียนรู้วิธีในการหาคำตอบสมการกำลังสามลดรูปจากทาร์ทากลียา และในเวลาต่อมา คาร์ดาโนก็สามารถคิดค้นวิธีหาคำตอบในรูปแบบรากของสมการกำลังสามแบบสมบูรณ์ได้,
- ค.ศ. 1540 - ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของคาร์ดาโน คิดค้นวิธีหาคำตอบในรูปแบบรากของสมการกำลังสี่ ได้สำเร็จ,
- ค.ศ. 1614 - คิดค้นลอการิทึมได้สำเร็จหลังจากทุ่มเทมานับสิบปี และตีพิมพ์ผลงานนี้ใน Mirifici Logarithmorum Canonis Descriptio,
- ค.ศ. 1619 - เรอเน เดการ์ต และปีแยร์ เดอ แฟร์มา คิดค้นเรขาคณิตวิเคราะห์ได้ ในเวลาใกล้เคียงกัน,
- ค.ศ. 1629 - ปีแยร์ เดอ แฟร์มา ได้คิดค้นรากฐานบางส่วนของ,
- ค.ศ. 1637 - ปีแยร์ เดอ แฟร์มา ได้จดบันทึกเล็ก ๆ ในหนังสือ Arithmetica ของไดโอแฟนตุสว่า ผมสามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทนี้ได้ แต่ว่าที่ว่างตรงนี้มันน้อยเกินไปที่จะเขียนบทพิสูจน์ ทฤษฎีบทที่ว่านี้ก็คือ ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาซึ่งไม่มีใครพิสูจน์ได้เลยเป็นเวลานานเกือบ 400 ปี จนกระทั่งได้ให้บทพิสูจน์ในปี ค.ศ. 1995,
- ค.ศ. 1654 - แบลซ ปัสกาล และ ปีแยร์ เดอ แฟร์มา ได้ร่วมมือกันคิดค้นรากฐานของทฤษฎีความน่าจะเป็น,จากสามเหลี่ยมปาสกาลซึ่งเป็นผลงานทางคณิตศาสตร์ของชาวจีน
คริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 (ยุคคลาสสิก)
- ค.ศ. 1665 - ไอแซก นิวตัน พิสูจน์ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัส และสร้างแคลคูลัสขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาทางกลศาสตร์ในฟิสิกส์ โดยนิวตันเรียกแคลคูลัสว่า ,
- ค.ศ. 1671 - คิดค้นอนุกรมอนันต์ในการแทนฟังก์ชันผกผันของซึ่งเป็นอนุกรมอนันต์ที่มีการนำไปประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย เช่น นำไปใช้คำนวณค่า π,
- ค.ศ. 1673 - กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ประดิษฐ์แคลคูลัสของเขาเองโดยไม่ขึ้นกับของนิวตัน แคลคูลัสของไลบ์นิซนั้นมีรากฐานมาจากคณิตศาสตร์บริสุทธิ์โดยตรงซึ่งต่างจากนิวตันที่มีรากฐานมาจากการประยุกต์ใช้ในโลกแห่งความเป็นจริง โดยประเด็นที่ว่าใครเป็นผู้คิดค้นแคลคูลัสเป็นคนแรกนั้นถูกถกเถียงกันมานานนับศตวรรษ ชื่อ แคลคูลัส มาจากฝั่งของไลบ์นิซ นอกจากนั้นสัญลักษณ์ทางแคลคูลัสในคณิตศาสตร์ปัจจุบันเราก็ใช้ของไลบ์นิซ เนื่องจากเป็นสัญลักษณ์ที่ช่วยให้จดจำกฎต่างๆ ของแคลคูลัสได้ง่ายกว่าในที่สุดจึงได้รับเป็นบิดาแห่งวิชาแคลคูลัส (ในทำนองเดียวกันกับ ในกลศาสตร์ควอนตัม)
- ค.ศ. 1675 - ไอแซก นิวตัน คิดค้นการวิเคราะห์เชิงตัวเลขเพื่อหาคำตอบของ เรียกว่า หรือ เนื่องจากเวลาต่อมานักคณิตศาสตร์ชื่อราฟสันก็คิดค้นวิธีเดียวกันนี้ได้โดยไม่ขึ้นกับนิวตัน,
- ค.ศ. 1691 - กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ คิดค้นเทคนิคในการแยกตัวแปรของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ,
- ค.ศ. 1696 - (ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของ ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของไลบ์นิซอีกที) ได้คิดค้นกฎของโลปีตาล ในการคำนวณหาค่าลิมิตของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป 0/0,
- ค.ศ. 1696 - โยฮัน เบอร์นูลลี หาคำตอบในปัญหา ได้สำเร็จและเป็นจุดเริ่มต้นของ,
- ค.ศ. 1712 - พัฒนาได้สำเร็จ,
- ค.ศ. 1722 - ได้แสดง ซึ่งทำให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันของตรีโกณมิติและจำนวนเชิงซ้อน,
- ค.ศ. 1730 - ตีพิมพ์ The Differential Method,
- ค.ศ. 1733 - อับราฮัม เดอ มอยเร นำ ในการประมาณค่าของของนิวตัน(โดยคันพบจากสามเหลี่ยมปาสคาล)ในทฤษฎีความน่าจะเป็น,
- ค.ศ. 1734 - เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ คิดค้น ในการแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์สามัญอันดับหนึ่ง,
- ค.ศ. 1736 - เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ แก้ปัญหาสะพานทั้งเจ็ดแห่งเมืองโคนิกส์เบิร์ก ได้สำเร็จและส่งผลให้ทฤษฎีกราฟกำเนิดขึ้นมาเป็นสาขาใหม่ของคณิตศาสตร์,
- ค.ศ. 1739 - เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ คิดวิธีมาตรฐานในการแก้สมการเชิงอนุพันธ์สามัญแบบที่มีสัมประสิทธิ์เป็นค่าคงที่ได้สำเร็จ,
- ค.ศ. 1761 - ได้สร้างขึ้นมาในทฤษฎีความน่าจะเป็น,
- ค.ศ. 1762 - คิดค้น ,
- ค.ศ. 1796 - คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ พิสูจน์ว่า รูป 17 เหลี่ยมด้านเท่า สามารถสร้างได้ด้วยเท่านั้น ซึ่งนับเป็นการต่อยอดความรู้กรีกที่นิ่งมาราว 2000 ปีได้สำเร็จ,
- ค.ศ. 1796 - ให้ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับ,
- ค.ศ. 1799 - คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ ให้บทพิสูจน์ของทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต ที่บอกว่า ทุกๆ จะมีคำตอบในรูปจำนวนเชิงซ้อนเสมอ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงบทบาทที่สำคัญที่สุดของจำนวนเชิงซ้อนในพีชคณิต,
คริสต์ศตวรรษที่ 19
- ค.ศ. 1801 - ความเรียงของเกาส์ในเรื่องทฤษฎีจำนวนชื่อ ได้รับการตีพิมพ์เป็นภาษาละติน
- ค.ศ. 1805 - เอเดรียน-แมรี เลอจองด์ คิดค้นเพื่อใช้ในปัญหา เพื่อให้ได้เส้นโค้งที่มี ค่าผิดพลาดเฉลี่ย น้อยที่สุด
- ค.ศ. 1807 - ตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับอนุกรมฟูรีเย หรือนั่นเอง
- ค.ศ. 1811 - คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ ได้อภิปรายความหมายของการอินทิกรัลในลิมิตเชิงซ้อน และยกตัวอย่างความขึ้นต่อกันของอินทิกรัลต่อวิถี (Path) ของการอินทิกรัลนั้น
- ค.ศ. 1815 - ต่อยอดการอินทิกรัลบนวิถีใน
- ค.ศ. 1817 - ได้ให้บทพิสูจน์อย่างเคร่งครัดของทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง ซึ่งกล่าวว่า สำหรับฟังก์ชันต่อเนื่องใดๆ ถ้ามีจุดในโดเมนที่ให้ค่าบวกและค่าลบอย่างน้อยอย่างละหนึ่งจุด ฟังก์ชันนี้จะต้องมีจุดในโดเมนอย่างน้อยหนึ่งจุด และต้องอยู่ระหว่างสองจุดดังกล่าว ที่ให้ค่า 0
- ค.ศ. 1822 - เสนอ สำหรับอินทิกรัลบนกรอบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าใน
- ค.ศ. 1824 - นีลส์ เฮนริก อาเบล ได้ให้บทพิสูจน์ว่าไม่มีคำตอบในสำหรับอันดับห้าใดๆ เป็นการให้คำตอบของปัญหาที่นักคณิตศาสตร์ทั้งหลายเฝ้าพยายามค้นคว้ามาราว 300 ปีได้สำเร็จ
- ค.ศ. 1825 - เสนอ สำหรับหาค่าปริพันธ์บนวิถีใดๆ ภายใต้สมมติฐานว่าฟังก์ชันที่จะหาค่าปริพันธ์นั้นจะต้องสามารถหาค่าอนุพันธ์ได้และต่อเนื่อง อีกทั้งยังได้เสนอทฤษฎีส่วนตกค้าง (residue) ในการวิเคราะห์เชิงซ้อน
- ค.ศ. 1825 - ปีเตอร์ ดิริเคต (en:Peter Dirichlet) และ เลอจองด์ ได้พิสูจน์ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาในกรณี n = 5
- ค.ศ. 1825 - ค้นพบ
- ค.ศ. 1828 - พิสูจน์ทฤษฎีบทของกรีน
- ค.ศ. 1829 - ตีพิมพ์ผลงาน เรขาคณิตนอกแบบยุคลิดแบบไฮเปอร์โบลิก
- ค.ศ. 1831 - en:Mikhail Vasilievich Ostrogradsky พิสูจน์ ทฤษฎีบทไดเวอร์เจนต์ (divergence theorem) ก่อน เลอจองด์ เกาส์ และกรีน
- ค.ศ. 1832 - เอวาริสเต เกลอส (en:Évariste Galois) เสนอวิธีการพิสูจน์ว่าปัญหาของสมการหรือระบบสมการพิชคณิตหนึ่งๆ จะแก้ไขได้หรือไม่ ซึ่งใช้ ทฤษฎีกลุ่ม() และ ทฤษฏีของเกลอส ()
- ค.ศ. 1832 - ปีเตอร์ ดิริเคต (en:Peter Dirichlet) พิสูจน์ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาได้ในกรณี n=14
- ค.ศ. 1835 - ปีเตอร์ ดิริเคต (en:Peter Dirichlet) พิสูจน์ทฤษฎี en:Dirichlet theorem ของเขาเกี่ยวกับการก้าวหน้าของจำนวนเฉพาะ
- ค.ศ. 1837 - ปีแอร์ วานต์เซล (en:Pierre Wantzel) พิสูจน์การสร้างลูกบาศก์ที่มีขนาดเป็นสองเท่าของลูกบาศก์ที่กำหนดให้หนึ่งๆ และการแบ่งมุมออกเป็นสามส่วนเท่าๆกัน โดยใช้วงเวียนและสันตรงเพียงอย่างเดียวนั้นเป็นไปไม่ได้
- ค.ศ. 1841 - คาร์ล เวเรอสตราส (en:Karl Weierstrass) ค้นพบ การกระจายลอเรนซ์ (en:Laurent expansion theorem) แต่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่
- ค.ศ. 1843 - ลอเรนซ์ ค้นพบและเผยแพร่ การกระจายลอเรนซ์ (en:Laurent expansion theorem)
- ค.ศ. 1843 - แฮลมิงตัน (en:William Rowan Hamilton) ค้นพบแคลคูลัสของควาเตอร์เนียน (en:quaternion)
- ค.ศ. 1847 - จอร์จ บูล ตีพิมพ์เนื้อหาว่าด้วยตรรกศาสตรเชิงสัญลักษณ์(Symbolic Logic) ไว้ใน The Mathematical Analysis of Logic ซึ่งกลายเป็นพีชคณิตแบบบูลในปัจจุบัน
- ค.ศ. 1849 - สโตกส์ (en:George Gabriel Stokes) พบว่าชุดคลื่นโซลิตอนสามารถแยกองค์ประกอบเป็นฟังก์ชันรายคาบได้
- ค.ศ. 1850 - en:Victor Alexandre Puiseux ค้นพบหลักการของภาวะเอกฐาน
- ค.ศ. 1850 - สโตกส์พิสูจน์ ทฤษฎีบทสโตกส์
- ค.ศ. 1854 - แบร์นฮาร์ด รีมันน์ ค้นพบ เรขาคณิตของรีมันน์
- ค.ศ. 1854 - อาเธอร์ แคร์เรย์ (en:Arthur Cayley) นำหลักการของควาเตอร์เนียนมาใช้ในการหมุนของปริภูมิสี่มิติ
- ค.ศ. 1858 - โมเบียส en:August Ferdinand Möbius คิดค้น แถบโมเบียส
- ค.ศ. 1859 - แบร์นฮาร์ด รีมันน์ ตั้ง ว่าด้วยการกระจายของจำนวนเฉพาะ
- ค.ศ. 1870 - เฟลิกซ์ ไคลน์ (en:Felix Klein)สร้างเรขาคณิตโลบาแชฟสกี (Lobachevski's geometry) ทำให้เกิดและเกี่ยวข้องกับสมมติฐานข้อห้าของยูคลิก
- ค.ศ. 1873 - พิสูจน์ได้ว่า เป็นจำนวนอดิศัย
- ค.ศ. 1873 - โฟรเบนิอุส (en:Georg Frobenius) ค้นพบ ขั้นตอนวิธีโฟรเบนีอุสในการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ ให้มีคำตอบเป็น
- ค.ศ. 1874 - เกออร์ก คันทอร์ แสดงว่า จำนวนจริงนั้นมีอนันต์ และจำนวนเต็มนั้นมีจำกัดกว่า ซึ่งขัดแย้งกับที่เขาค้นพบภายหลัง
- ค.ศ. 1878 - ชาร์ล เฮอมิท (en:Charles Hermite) แก้สมการพหุนามดีกรีห้าโดยวิธีการเชิงวงรีและโมดูล่า
- ค.ศ. 1882 - เฟอร์ดินานด์ วอน ลินเดอแมน (en:Ferdinand von Lindemann) พิสูจน์ว่า π เป็น และทำให้ไม่สามารถสร้างสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่เท่ากับวงกลมที่กำหนดให้โดยใช้วงเวียนและสันตรง
- ค.ศ. 1882 - เฟลิกซ์ ไคลน์สร้างขวดของไคลน์
- ค.ศ. 1895 - en:Diederik Korteweg และ en:Gustav de Vries ค้นพบสมการเคดีวี (en:Korteweg–de Vries Equation) โดยใช้อธิบายรูปแบบคลื่นน้ำที่กระจายตัวในท่อหน้าตัดสี่เหลี่ยม
- ค.ศ. 1895 - เกออร์ก คันทอร์ ตีพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับ เกี่ยวกับ ความเป็นอนันต์ ตัวเลขคาร์ดินัลen:cardinal number และสมมติฐานความต่อเนื่อง
- ค.ศ. 1896 - en:Jacques Hadamard และ en:Charles de La Vallée-Poussin พิสูจน์ พร้อมๆกันได้โดยบังเอิญ
- ค.ศ. 1896 - en:Hermann Minkowski นำเสนอ Geometry of numbers ซึ่งเป็นศาสตร์ใหญ่ในทฤษฎีจำนวน
- ค.ศ. 1899 - เกออร์ก คันทอร์ ค้นพบในของเขา
- ค.ศ. 1899 - ดาฟิด ฮิลแบร์ท เสนอสัจพจน์ทางเรขาคณิตที่มีใน Foundations of Geometry
- ค.ศ. 1900 - ดาฟิด ฮิลแบร์ท เสนอปัญหา 23 ข้อของฮิลแบร์ทที่กรุงปารีส โดยฮิลแบร์ทตั้งใจให้เป็นปัญหาแห่งศตวรรษใหม่ กลุ่มปัญหาที่ลึกซึ้งเหล่านี้ช่วยกระตุ้นวงการคณิตศาสตร์ในขณะนั้นให้พัฒนาขึ้นเป็นอย่างมาก
คริสต์ศตวรรษที่ 20
- ค.ศ. 1901 - เอเลีย คาร์ตันพัฒนาแนวคิด
- ค.ศ. 1903 - คาร์ล เดวิด ทอร์ม รูจ นำเสนอ
- ค.ศ. 1903 - ได้ให้บทพิสูจน์อย่างง่ายของ
- ค.ศ. 1908 - ได้นิยามกลุ่มสัจพจน์ของทฤษฎีเซตขึ้น เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงข้อขัดแย้งที่คันทอร์และรัสเซลล์พบ
- ค.ศ. 1908 - ค้นพบวิธีแก้ปัญหาของรีมันน์เกี่ยวกับการมีจริงของ สมการเชิงอนุพันธ์ จากกลุ่ม โดยใช้วิธีการของซอกฮอทสกี-เปลเมลจ์
- ค.ศ. 1912 - บราวเวอร์นำเสนอ
- ค.ศ. 1912 - ตีพิมพ์วิธีการพิสูจน์อย่างง่ายของทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาเมื่อค่าเลขชี้กำลัง n = 5
- ค.ศ. 1913 - ศรีนิวาสะ รามานุจัน ส่งทฤษฎีบทจำนวนมากชุดหนึ่ง (แต่ไม่ได้ให้บทพิสูจน์) ไปยังก็อดฟรีย์ ฮาร์ดี้แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
- ค.ศ. 1914 - ศรีนิวาสะ รามานุจัน ตีพิมพ์ Modular Equations and Approximations to π
- ค.ศ. 1919 - วิกโก บรันนิยามค่าคงที่ของบรัน สำหรับจำนวนเฉพาะฝาแฝด
- ค.ศ. 1928 - จอห์น ฟอน นอยมันน์ นำเสนอทฤษฎีเกมและพิสูจน์ทฤษฎีบท minimax
- ค.ศ. 1930 - แคซิเมียร์ กุราคอฟสกีพิสูจน์ว่าปัญหากระท่อมสามหลังเป็นไปไม่ได้
- ค.ศ. 1931 - เคิร์ท เกอเดลพิสูจน์ทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดลที่บอกว่า ถ้ามีประสิทธิภาพเพียงพอแล้ว จำเป็นที่จะต้อง หรือไม่เช่นนั้นก็จะไม่มีความต้องกัน
- ค.ศ. 1931 - จอร์จ เดอ ลามพัฒนาแนวคิด cohomology และ characteristic class ในทอพอโลยี
- ค.ศ. 1933 - แครอล บอร์ซัก และ สแตนนิซลอว์ อูลามนำเสนอ ในทอพอโลยี
- ค.ศ. 1933 - แอนดรี นิโคเลวิช โคโมโกรอฟ ตีพิมพ์หนังสือ Basic notions of the calculus of probability (Grundbegriffe der Wahrscheinlichkeitsrechnung) ซึ่งประกอบไปด้วย สัจพจน์ของความน่าจะเป็น บนพื้นฐานของ ทฤษฎีการวัด
- ค.ศ. 1940 - เคิร์ท เกอเดล แสดงให้เห็นว่าทั้งสมมติฐานความต่อเนื่องและสัจพจน์การเลือกไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นเท็จจากสัจพจน์พื้นฐานของทฤษฎีเซต
- ค.ศ. 1942 - แดนเนียลสันและแลนก์ซอสพัฒนาขั้นตอนวิธี
- ค.ศ. 1943 - เคนเน็ธ เลเวนเบิร์กเสนอวิธีการหาค่าเหมาะในรูปแบบที่ไม่เป็นเชิงเส้นโดยใช้กำลังสองน้อยสุด
- ค.ศ. 1945 - สตีเฟน โคล คลีน เสนอแนวคิด realizability
- ค.ศ. 1948 - จอห์น ฟอน นอยมันน์ เริ่มนำเครื่องจักรที่ทำงานด้วยตัวเองมาวิเคราะห์ตามหลักคณิตศาสตร์
- ค.ศ. 1949 - จอห์น ฟอน นอยมันน์ คำนวณ π ได้ถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 2,037 โดยใช้ENIAC
- ค.ศ. 1950 - และ จอห์น ฟอน นอยมันน์เสนอ
- ค.ศ. 1953 - นิโคลัส เมโทโพลิส เสนอขั้นตอนวิธีซึ่งประยุกต์มาจากแนวคิดของ
- ค.ศ. 1955 - เอนรีโก แฟร์มี จอห์น พาสต้าและ ศึกษาการนำความร้อนโดยใช้โมเดลการสั่นของสายเส้นเชิงตัวเลข และค้นพบว่ามีพฤติกรรมชุดคลื่นโซลิตอน
- ค.ศ. 1960 - C. A. R. Hoare คิดค้นขั้นตอนวิธี quicksort
- ค.ศ. 1960 - เออวิง รีดและกุสตาฟ โซโลมอน นำเสนอรหัสแก้ความผิดพลาดรีด-โซโลมอน
- ค.ศ. 1961 - เดเนียล แชงคส์และ จอห์น เวนช์คำนวณค่า π ถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 100,000 โดยใช้ฟังก์ชันผกผันของ และคอมพิวเตอร์ IBM-7090
- ค.ศ. 1962 - โดนัลด์ มาควอรต์ เสนอขั้นตอนวิธีการหาค่าเหมาะในรูปแบบที่ไม่เป็นเชิงเส้นโดยใช้กำลังสองน้อยสุดเลเวนเบิร์ก-มาควอรต์
- ค.ศ. 1963 - พอล โคเฮ็นคิดค้นเทคนิคการ forcing เพื่อแสดงว่าสมมติฐานความต่อเนื่องและสัจพจน์การเลือกไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นจริงจากสัจพจน์พื้นฐานของทฤษฎีเซต
- ค.ศ. 1963 - มาร์ติน ครุซกัล และนอร์มอน ซาบัสกี วิเคราะห์การทดลองของแฟร์มี-พาสต้า-อูลามในลิมิตที่ต่อเนื่องและค้นพบว่าระบบนี้สอดคล้องกับสมการเคดีวี
- ค.ศ. 1963 - เอ็ดวาร์ด นอร์ตัน ลอเรนซ์ ตีพิมพ์ผลเฉลยของโมเดลคณิตศาสตร์อย่างง่ายสำหรับอธิบายความแปรปรวนของสภาพอากาศ ซึ่งเป็นตัวอย่างที่รู้จักกันทั่วไปในด้านพฤติกรรมโกลาหล ตัวดึงดูดลอเรนซ์ หรือที่มักเรียกกันว่า
- ค.ศ. 1965 - ลอตฟิ อาสเกอร์ ซาเดห์ นักคณิตศาสตร์ชาวอิรักค้นพบทฤษฎีเซตวิภัชนัย อันเป็นการขยายแนวคิดของเซตดั้งเดิมและทำให้เกิดวิชาคณิตศาสตร์คลุมเคลือ
- ค.ศ. 1965 - มาร์ติน ครุซกัล และนอร์มอน ซาบัสกีศึกษาการชนกันของชุดคลื่นโซลิตอน เชิงตัวเลขในพลาสมา และค้นพบว่าชุดคลื่นดังกล่าวไม่เกิดการกระจายหลังการชน
- ค.ศ. 1965 - เจมส์ คูลลี และจอห์น ตูกี เสนอขั้นตอนวิธีที่ใช้ในปัจจุบัน
- ค.ศ. 1966 - อับราฮัม โรบินสัน เสนอการวิเคราะห์ Abraham Robinson presents Non-standard analysis.
- ค.ศ. 1965 - พุตเซอร์เสนอวิธีการคำนวณการชี้กำลังของเมทริกซ์สองวิธีในรูปของพหุนามของเมทริกซ์นั้น
- ค.ศ. 1967 - โรเบิร์ต แลงค์แลนดส์เสนออันเป็นนำไปสู่การเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีจำนวนและ
- ค.ศ. 1968 - มิเชลล์ อาติยา และอิซาดอร์ ซิงเกอร์ พิสูจน์ซึ่งกล่าวถึง
- ค.ศ. 1973 - ลอตฟิ ซาเดห์ คิดค้น
- ค.ศ. 1975 - เบอนัว มานดัลบรอ ตีพิมพ์ Les objets fractals, forme, hasard et dimension ซึ่งกล่าวถึงแฟรกทัล เป็นครั้งแรก
- ค.ศ. 1976 - เคนเนต แอพพิว และวูลฟ์กัง ฮาเกน ใช้คอมพิวเตอร์พิสูจน์ทฤษฎีบทสี่สี
- ค.ศ. 1983 - เกิร์ต ฟัลติงส์พิสูจน์ ซึ่งเป็นการแสดงโดยทางอ้อมในทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา ว่าสำหรับ n > 2 ว่าจะมีจำนวนเต็ม a b และ c ซึ่งเป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กัน และทำให้ an + bn = cn อยู่จำนวนจำกัด
- ค.ศ. 1983 - ใน ซึ่งเป็นงานที่ทำโดยนักคณิตจำนวนมากและใช้เวลารวมสามสิบปีได้เสร็จสิ้นลง
- ค.ศ. 1985 - หลุยส์ เดอ บรังกส์ เดอ บอเชียพิสูจน์ สำเร็จ
- ค.ศ. 1987 - ยาสึมาสะ คานาดะ เดวิด เบลเลย์ โจนาทาน บอร์เวน และปีเตอร์ บอร์เวน ใช้การประมาณสมการมอดูลาร์แบบวนซ้ำประมาณอินทิกรัลเชิงวงรี บนเครื่องซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ NEC SX-2 เพื่อคำนวณค่า π ได้ถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 134 ล้าน
- ค.ศ. 1991 - อลอง คอนส์ และจอห์น ดับเบิลยู ลอตต์ พัฒนา
- ค.ศ. 1994 - แอนดรูว์ ไวลส์พิสูจน์ได้บางส่วนและเป็นการพิสูจน์ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา โดยทางอ้อมไปด้วย
- ค.ศ. 1998 - โทมัส คาลิสเตอร์ เฮลส์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยพิสูจน์ (รอการรับรองบทพิสูจน์อยู่)
- ค.ศ. 1999 - ได้รับการพิสูจน์ทั้งหมด
- ค.ศ. 2000 - (Clay Mathematics Institute) ได้ประกาศให้เงินรางวัลหนึ่งล้านดอลลาร์สหรัฐ แก่ผู้ที่สามารถหาคำตอบปัญหาข้อใดข้อหนึ่งในปัญหา 7 ข้อของเคลย์ได้
คริสต์ศตวรรษที่ 21 (ปัจจุบัน)
- ค.ศ. 2002 - มานินดรา อกราวัล นิทิน แซกซินา และนีราจ คายัล จากสถาบันเทคโนโลยีอินเดียคานเปอร์ (Indian Institute of Technology Kanpur) เสนอขั้นตอนวิธีไม่มีเงื่อนไขเชิงกำหนดซึ่งใช้เวลาเชิงพหุนามสำหรับพิจารณาว่าจำนวนที่ให้มาเป็นจำนวนเฉพาะหรือไม่ ซึ่งเรียกกันว่าการทดสอบจำนวนเฉพาะ AKS
- ค.ศ. 2002 - ยาสึมาสะ คานาดะ วาย. ยูชิโร่ ฮิซะยาสึ คุโรดะ มาโกโตะ คุโด้ และทีมงานอีกเก้าคนได้ทำการคำนวณ π ถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 1,241 ล้าน โดยใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ขนาด 64 node ของฮิตาชิ
- ค.ศ. 2002- Preda Mihăilescu พิสูจน์ ได้สำเร็จ
- ค.ศ. 2003- กริกอรี เพเรลมานพิสูจน์ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร ซึ่งเป็นหนึ่งในปัญหา 7 ข้อของเคลย์ได้สำเร็จ
- ค.ศ. 2007- นักวิจัยในอเมริกาเหนือและยุโรปร่วมมือกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อสร้าง ใน
- ค.ศ. 2009- Ngo Bao Chau นักคณิตศาสตร์ชาวเวียดนามพิสูจน์บทตั้งมูลฐาน (Fundamental lemma) ในโปรแกรมของแลงค์แลนดส์ (Langlands program) ได้สำเร็จ
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
- บางส่วนของบทความนี้นำมาจาก Niel Brandt (1984) ซึ่งอนุญาตให้ใช้ในโครงการวิกิพีเดียตามที่ระบุไว้ใน
อ้างอิง
- Laumon, G.; Ngô, B. C. (2004), Le lemme fondamental pour les groupes unitaires, arXiv:math/0404454
- en:Talk:Timeline of mathematics
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid esnewlakhxngkhnitsastrbrisuththiaelakhnitsastrprayukt timeline of mathematics kxn 1000 pikxnkhristkalpraman 70 000 pikxnkhristkal rxngrxybnaephnhinsungmirupaebbthangerkhakhnit thiaexfrikait praman 35 000 thung 20 000 pikxnkhristkal hlkthankxnprawtisastryukhaerk thiaesdngthungkarbnthukewla praman 20 000 pikxnkhristkal thxnkradukxichanok Ishango Bone xacklawthungeruxngcanwnechphaa aelakarkhunkhxngchawxiyipt in praman 3400 pikxnkhristkal chaw khidkhnrabbtwelkh aelamatrakarchng twng wd inlumaemnaemosopetemiy praman 3100 pikxnkhristkal chawxiyipt khidkhnrabbtwelkh thansib sungsamarthichaethntwelkhid kiddwykaraenanasylksnrupaebbihm praman 2800 pikxnkhristkal xarythrrmlumaemnasinthuinxnuthwipxinediyichrabbessswninmatrachng twng wd hnwythielkthisudkhxngkhwamyawpraman 1 704 milliemtr hnwythielkthisudkhxngmwlpraman 28 krm 2700 pikxnkhristkal xiyiptkhidkhnwicha 2400 pikxnkhristkal xiyiptsrangptithindarasastr ichcnthungyukhklangenuxngcakkhwamthuktxngthangkhnitsastrkhxngmn praman 2000 pikxnkhristkal chawbabiolnichrabb aelaepnkhrngaerkthimikarpramankha p epn 3 125 praman 2000 pikxnkhristkal lukhinaekaslk Carved Stone Ball aehngskxtaelndaesdngthungrupaebbkhxngthihlakhlay rwmthungthrngtnephlot 1800 pikxnkhristkal aephnpapirusthangkhnitsastraehngmxsokh Moscow Mathematical Papyrus aesdngthungwithikarhaprimatrkhxngfrstm 1600 pikxnkhristkal aephnpapirusthangkhnitsastraehngrindepnkhdlxkkhxngmwnkradastnchbbsuyhay khadwatnchbbnacaekhiynraw 1850 pikxnkhristkalkhdlxkodyxalksnthichuxwaxaems idbnthukkarpramankha p dwykha 3 16 epnkhwamphyayamkhrngaerkthicahawithikarsrangsiehliymctursthimiphunthiethakbphunthiwngklmodyichhlkkarkhxng aelaaesdngthungwithikaraeksmkarechingesnxndbhnung 1300 pikxnkhristkal aephnpapirusaehngebxrlinsungklawthungsmkarkalngsxngaelawithikarhakhatxbkhxngsmkardngklaw1 shswrrskxnkhristkal phithaokrs suksaaelakhidkhnerkhakhnit rwmthngnakhnitsastrmaichxthibay nxkcakniluksisykhxngekhayngidkhnphbcanwnxtrrkyacakkhxng 2 mieruxngelaknwaphithaokrsphusungbuchatwelkhdngphraeca tkicmakkbkarkhnphbtwelkhsungimsamarthaethniddwyessswnni cungsngihluksisyesnihwww 100 twinkarkhxkhmathiipphbkbkhwamlbkhxngphraeca khidkhn method of exhaustion sungepnwithithithrngphlnginkarhaphunthikhxngruperkhakhnit sungepnethkhnikhthixarkhimidisechiywchaymakinewlatxma aelaepnhnunginrakthansakhykhxngaekhlkhuls xrisotetil khidkhntrrksastrhruxsastraehngkarihehtuphlintara Organon yukhlid ekhiyntaraerkhakhnitchux The Elememts sungepntarathinkkhnitsastrthnginxditaelapccubnykyxngwa smburniklekhiyngkbmak odyichepnthankhxngthvsdibththnghmd phayinnnmiwacanwnechphaamiimcakd epncanwnxnnt rwmthngkhntxnwithiaebbyukhlid aelakarphisucnthvsdibthmulthankhxngelkhkhnit nkprawtisastrchawyuorpbangthanklawwataraelmniepnhnngsuxthimiphuxanmakthisudinprawtisastrkhxngmnusychatirxngmacakkhmphiribebil xarkhimidis khanwnkha p idthuktxngthungthsniymtaaehnngthisxng odyich method of exhaustion khxngyuodsus cakrupwngklmdwyruphlayehliymthngphaynxkaelaphayinwngklmnn aelwichthvsdibthphithaokrsinkarpramankhwamyawkhxngesnrxbwng odyxarkhimidissamarthkhanwnkhwamyawrxbrupkhxngrup 96 ehliym ephuxichpramanaethnrupwngklm idthng thiyngimmirabbtwelkhhindu xarbikaelaphichkhnit nxkcaknixarkhimidisyngidaesdngkarkhanwnphunthiitruppharaoblaodyich method of exhaustion xikechnkn exrathxsethnis khidkhntaaekrngkhxngexrathxsethnis sungepnkhntxnwithithiichhacanwnechphaaidxyangrwderw insmynn ekhiyntara On Conic Sections sungsuksaekiywkbphakhtdkrwyinrupaebbtang imwacaepn wngri pharaobla hrux ihephxrobla wangrakthankhxngtrioknmiti praman kh s 200 thxelmiaehngxelksanedriy ekhiyntara phasalatin Almagest aeplwa hnngsuxthiyingihy sungepntaradarasastrthisakhythisudinyukhnn aelaidrbkarykyxngmakinyukhklangodynkkhnitsastrmuslim kh s 250 ekhiynhnngsux Arithmetica sungepntarachbbaerkthiphudthungrabbphichkhnit kh s 400 kh s 550 nkkhnitsastrhindusrangsylksnaethnelkhsuny inrabbtwelkh kh s 750 nkkhnitsastrmuslimphusungidchuxwaepnbidaaehngphichkhnit khidkhnthvsdiekiywkbrabbsmkarechingesn aelarabb aelachuxkhxngekhaepnthimakhxngkhawa khntxnwithi thiichkninpccubnyukhfunfusilpawithyakar erxensxngt kh s 1520 khidkhnkhatxbin khxng aebbldrup khuxsmkarkalngsam thismprasiththikhxngethxm x2 ethakb 0 idsaerc aetwaimidtiphimphphlnganni aelaidthaythxdihkbluksisykhnsnithchux xnotniox fixx khnediywethann kh s 1535 xnotniox fixx sungidrbthaythxdethkhnikhcak edl efxor idtha hrux aekhngthaocthykhnitsastr odytangkhntangihocthyxikfaykhnla 30 khx odyfixxidihtharthakliyathaocthysmkarkalngsam ldrupthnghmd 30 khx aelainthisud tharthakliyakkhidkhnkhatxbinrupaebbrakidechnediywknkb edl efxor aelachnakaraekhngkhnkhrngnn xyangirktam tharthakliyakimidtiphimphphlnganchinniechnkn kh s 1539 eriynruwithiinkarhakhatxbsmkarkalngsamldrupcaktharthakliya aelainewlatxma khardaonksamarthkhidkhnwithihakhatxbinrupaebbrakkhxngsmkarkalngsamaebbsmburnid kh s 1540 sungepnluksisykhxngkhardaon khidkhnwithihakhatxbinrupaebbrakkhxngsmkarkalngsi idsaerc kh s 1614 khidkhnlxkarithumidsaerchlngcakthumethmanbsibpi aelatiphimphphlnganniin Mirifici Logarithmorum Canonis Descriptio kh s 1619 erxen edkart aelapiaeyr edx aefrma khidkhnerkhakhnitwiekhraahid inewlaiklekhiyngkn kh s 1629 piaeyr edx aefrma idkhidkhnrakthanbangswnkhxng kh s 1637 piaeyr edx aefrma idcdbnthukelk inhnngsux Arithmetica khxngidoxaefntuswa phmsamarthphisucnthvsdibthniid aetwathiwangtrngnimnnxyekinipthicaekhiynbthphisucn thvsdibththiwanikkhux thvsdibthsudthaykhxngaefrmasungimmiikhrphisucnidelyepnewlananekuxb 400 pi cnkrathngidihbthphisucninpi kh s 1995 kh s 1654 aebls pskal aela piaeyr edx aefrma idrwmmuxknkhidkhnrakthankhxngthvsdikhwamnacaepn caksamehliympaskalsungepnphlnganthangkhnitsastrkhxngchawcinkhriststwrrsthi 17 aela 18 yukhkhlassik kh s 1665 ixaesk niwtn phisucnthvsdibthmulthankhxngaekhlkhuls aelasrangaekhlkhulskhunmaephuxaekpyhathangklsastrinfisiks odyniwtneriykaekhlkhulswa kh s 1671 khidkhnxnukrmxnntinkaraethnfngkchnphkphnkhxngsungepnxnukrmxnntthimikarnaipprayuktichxyangaephrhlay echn naipichkhanwnkha p kh s 1673 kxththfrid wilehlm ilbnis pradisthaekhlkhulskhxngekhaexngodyimkhunkbkhxngniwtn aekhlkhulskhxngilbnisnnmirakthanmacakkhnitsastrbrisuththiodytrngsungtangcakniwtnthimirakthanmacakkarprayuktichinolkaehngkhwamepncring odypraednthiwaikhrepnphukhidkhnaekhlkhulsepnkhnaerknnthukthkethiyngknmanannbstwrrs chux aekhlkhuls macakfngkhxngilbnis nxkcaknnsylksnthangaekhlkhulsinkhnitsastrpccubnerakichkhxngilbnis enuxngcakepnsylksnthichwyihcdcakdtang khxngaekhlkhulsidngaykwainthisudcungidrbepnbidaaehngwichaaekhlkhuls inthanxngediywknkb inklsastrkhwxntm kh s 1675 ixaesk niwtn khidkhnkarwiekhraahechingtwelkhephuxhakhatxbkhxng eriykwa hrux enuxngcakewlatxmankkhnitsastrchuxrafsnkkhidkhnwithiediywknniidodyimkhunkbniwtn kh s 1691 kxththfrid ilbnis khidkhnethkhnikhinkaraeyktwaeprkhxngsmkarechingxnuphnthsamy kh s 1696 sungepnluksisykhxng sungepnluksisykhxngilbnisxikthi idkhidkhnkdkhxngolpital inkarkhanwnhakhalimitkhxngfngkchnthixyuinrup 0 0 kh s 1696 oyhn ebxrnulli hakhatxbinpyha idsaercaelaepncuderimtnkhxng kh s 1712 phthnaidsaerc kh s 1722 idaesdng sungthaihehnkhwamsmphnthrahwangfngkchnkhxngtrioknmitiaelacanwnechingsxn kh s 1730 tiphimph The Differential Method kh s 1733 xbrahm edx mxyer na inkarpramankhakhxngkhxngniwtn odykhnphbcaksamehliympaskhal inthvsdikhwamnacaepn kh s 1734 elxxnhard xxyelxr khidkhn inkaraekpyhasmkarechingxnuphnthsamyxndbhnung kh s 1736 elxxnhard xxyelxr aekpyhasaphanthngecdaehngemuxngokhniksebirk idsaercaelasngphlihthvsdikrafkaenidkhunmaepnsakhaihmkhxngkhnitsastr kh s 1739 elxxnhard xxyelxr khidwithimatrthaninkaraeksmkarechingxnuphnthsamyaebbthimismprasiththiepnkhakhngthiidsaerc kh s 1761 idsrangkhunmainthvsdikhwamnacaepn kh s 1762 khidkhn kh s 1796 kharl fridrich ekas phisucnwa rup 17 ehliymdanetha samarthsrangiddwyethann sungnbepnkartxyxdkhwamrukrikthiningmaraw 2000 piidsaerc kh s 1796 ihkhxsnnisthanekiywkb kh s 1799 kharl fridrich ekas ihbthphisucnkhxngthvsdibthmulthankhxngphichkhnit thibxkwa thuk camikhatxbinrupcanwnechingsxnesmx sungaesdngihehnthungbthbaththisakhythisudkhxngcanwnechingsxninphichkhnit khriststwrrsthi 19kh s 1801 khwameriyngkhxngekasineruxngthvsdicanwnchux idrbkartiphimphepnphasalatin kh s 1805 exedriyn aemri elxcxngd khidkhnephuxichinpyha ephuxihidesnokhngthimi khaphidphladechliy nxythisud kh s 1807 tiphimphphlnganekiywkbxnukrmfuriey hruxnnexng kh s 1811 kharl fridrich ekas idxphipraykhwamhmaykhxngkarxinthikrlinlimitechingsxn aelayktwxyangkhwamkhuntxknkhxngxinthikrltxwithi Path khxngkarxinthikrlnn kh s 1815 txyxdkarxinthikrlbnwithiin kh s 1817 idihbthphisucnxyangekhrngkhrdkhxngthvsdibthkharahwangklang sungklawwa sahrbfngkchntxenuxngid thamicudinodemnthiihkhabwkaelakhalbxyangnxyxyanglahnungcud fngkchnnicatxngmicudinodemnxyangnxyhnungcud aelatxngxyurahwangsxngcuddngklaw thiihkha 0 kh s 1822 esnx sahrbxinthikrlbnkrxbrupsiehliymphunphain kh s 1824 nils ehnrik xaebl idihbthphisucnwaimmikhatxbinsahrbxndbhaid epnkarihkhatxbkhxngpyhathinkkhnitsastrthnghlayefaphyayamkhnkhwamaraw 300 piidsaerc kh s 1825 esnx sahrbhakhapriphnthbnwithiid phayitsmmtithanwafngkchnthicahakhapriphnthnncatxngsamarthhakhaxnuphnthidaelatxenuxng xikthngyngidesnxthvsdiswntkkhang residue inkarwiekhraahechingsxn kh s 1825 pietxr diriekht en Peter Dirichlet aela elxcxngd idphisucnthvsdibthsudthaykhxngaefrmainkrni n 5 kh s 1825 khnphb kh s 1828 phisucnthvsdibthkhxngkrin kh s 1829 tiphimphphlngan erkhakhnitnxkaebbyukhlidaebbihepxroblik kh s 1831 en Mikhail Vasilievich Ostrogradsky phisucn thvsdibthidewxrecnt divergence theorem kxn elxcxngd ekas aelakrin kh s 1832 exwariset eklxs en Evariste Galois esnxwithikarphisucnwapyhakhxngsmkarhruxrabbsmkarphichkhnithnung caaekikhidhruxim sungich thvsdiklum aela thvstikhxngeklxs kh s 1832 pietxr diriekht en Peter Dirichlet phisucnthvsdibthsudthaykhxngaefrmaidinkrni n 14 kh s 1835 pietxr diriekht en Peter Dirichlet phisucnthvsdi en Dirichlet theorem khxngekhaekiywkbkarkawhnakhxngcanwnechphaa kh s 1837 piaexr wantesl en Pierre Wantzel phisucnkarsranglukbaskthimikhnadepnsxngethakhxnglukbaskthikahndihhnung aelakaraebngmumxxkepnsamswnethakn odyichwngewiynaelasntrngephiyngxyangediywnnepnipimid kh s 1841 kharl ewerxstras en Karl Weierstrass khnphb karkracaylxerns en Laurent expansion theorem aetimidphimphephyaephr kh s 1843 lxerns khnphbaelaephyaephr karkracaylxerns en Laurent expansion theorem kh s 1843 aehlmingtn en William Rowan Hamilton khnphbaekhlkhulskhxngkhwaetxreniyn en quaternion kh s 1847 cxrc bul tiphimphenuxhawadwytrrksastrechingsylksn Symbolic Logic iwin The Mathematical Analysis of Logic sungklayepnphichkhnitaebbbulinpccubn kh s 1849 sotks en George Gabriel Stokes phbwachudkhlunoslitxnsamarthaeykxngkhprakxbepnfngkchnraykhabid kh s 1850 en Victor Alexandre Puiseux khnphbhlkkarkhxngphawaexkthan kh s 1850 sotksphisucn thvsdibthsotks kh s 1854 aebrnhard rimnn khnphb erkhakhnitkhxngrimnn kh s 1854 xaethxr aekhrery en Arthur Cayley nahlkkarkhxngkhwaetxreniynmaichinkarhmunkhxngpriphumisimiti kh s 1858 omebiys en August Ferdinand Mobius khidkhn aethbomebiys kh s 1859 aebrnhard rimnn tng wadwykarkracaykhxngcanwnechphaa kh s 1870 efliks ikhln en Felix Klein srangerkhakhnitolbaaechfski Lobachevski s geometry thaihekidaelaekiywkhxngkbsmmtithankhxhakhxngyukhlik kh s 1873 phisucnidwa epncanwnxdisy kh s 1873 ofrebnixus en Georg Frobenius khnphb khntxnwithiofrebnixusinkaraeksmkarechingxnuphnth ihmikhatxbepn kh s 1874 ekxxrk khnthxr aesdngwa canwncringnnmixnnt aelacanwnetmnnmicakdkwa sungkhdaeyngkbthiekhakhnphbphayhlng kh s 1878 charl ehxmith en Charles Hermite aeksmkarphhunamdikrihaodywithikarechingwngriaelaomdula kh s 1882 efxrdinand wxn linedxaemn en Ferdinand von Lindemann phisucnwa p epn aelathaihimsamarthsrangsiehliymctursthimiphunthiethakbwngklmthikahndihodyichwngewiynaelasntrng kh s 1882 efliks ikhlnsrangkhwdkhxngikhln kh s 1895 en Diederik Korteweg aela en Gustav de Vries khnphbsmkarekhdiwi en Korteweg de Vries Equation odyichxthibayrupaebbkhlunnathikracaytwinthxhnatdsiehliym kh s 1895 ekxxrk khnthxr tiphimphhnngsuxekiywkb ekiywkb khwamepnxnnt twelkhkhardinlen cardinal number aelasmmtithankhwamtxenuxng kh s 1896 en Jacques Hadamard aela en Charles de La Vallee Poussin phisucn phrxmknidodybngexiy kh s 1896 en Hermann Minkowski naesnx Geometry of numbers sungepnsastrihyinthvsdicanwn kh s 1899 ekxxrk khnthxr khnphbinkhxngekha kh s 1899 dafid hilaebrth esnxscphcnthangerkhakhnitthimiin Foundations of Geometry kh s 1900 dafid hilaebrth esnxpyha 23 khxkhxnghilaebrththikrungparis odyhilaebrthtngicihepnpyhaaehngstwrrsihm klumpyhathiluksungehlanichwykratunwngkarkhnitsastrinkhnannihphthnakhunepnxyangmakkhriststwrrsthi 20kh s 1901 exeliy khartnphthnaaenwkhid kh s 1903 kharl edwid thxrm ruc naesnx kh s 1903 idihbthphisucnxyangngaykhxng kh s 1908 idniyamklumscphcnkhxngthvsdiestkhun ephuxthicahlikeliyngkhxkhdaeyngthikhnthxraelarsesllphb kh s 1908 khnphbwithiaekpyhakhxngrimnnekiywkbkarmicringkhxng smkarechingxnuphnth cakklum odyichwithikarkhxngsxkhxthski eplemlc kh s 1912 brawewxrnaesnx kh s 1912 tiphimphwithikarphisucnxyangngaykhxngthvsdibthsudthaykhxngaefrmaemuxkhaelkhchikalng n 5 kh s 1913 sriniwasa ramanucn sngthvsdibthcanwnmakchudhnung aetimidihbthphisucn ipyngkxdfriy hardiaehngmhawithyalyekhmbridc kh s 1914 sriniwasa ramanucn tiphimph Modular Equations and Approximations to p kh s 1919 wikok brnniyamkhakhngthikhxngbrn B2 displaystyle B 2 sahrbcanwnechphaafaaefd kh s 1928 cxhn fxn nxymnn naesnxthvsdiekmaelaphisucnthvsdibth minimax kh s 1930 aekhsiemiyr kurakhxfskiphisucnwapyhakrathxmsamhlngepnipimid kh s 1931 ekhirth ekxedlphisucnthvsdibthkhwamimsmburnkhxngekxedlthibxkwa thamiprasiththiphaphephiyngphxaelw caepnthicatxng hruximechnnnkcaimmikhwamtxngkn kh s 1931 cxrc edx lamphthnaaenwkhid cohomology aela characteristic class inthxphxolyi kh s 1933 aekhrxl bxrsk aela saetnnislxw xulamnaesnx inthxphxolyi kh s 1933 aexndri niokhelwich okhomokrxf tiphimphhnngsux Basic notions of the calculus of probability Grundbegriffe der Wahrscheinlichkeitsrechnung sungprakxbipdwy scphcnkhxngkhwamnacaepn bnphunthankhxng thvsdikarwd kh s 1940 ekhirth ekxedl aesdngihehnwathngsmmtithankhwamtxenuxngaelascphcnkareluxkimsamarthphisucnidwaepnethccakscphcnphunthankhxngthvsdiest kh s 1942 aedneniylsnaelaaelnksxsphthnakhntxnwithi kh s 1943 ekhnenth elewnebirkesnxwithikarhakhaehmaainrupaebbthiimepnechingesnodyichkalngsxngnxysud kh s 1945 stiefn okhl khlin esnxaenwkhid realizability kh s 1948 cxhn fxn nxymnn erimnaekhruxngckrthithangandwytwexngmawiekhraahtamhlkkhnitsastr kh s 1949 cxhn fxn nxymnn khanwn p idthungthsniymtaaehnngthi 2 037 odyichENIAC kh s 1950 aela cxhn fxn nxymnnesnx kh s 1953 niokhls emothophlis esnxkhntxnwithisungprayuktmacakaenwkhidkhxng kh s 1955 exnriok aefrmi cxhn phastaaela suksakarnakhwamrxnodyichomedlkarsnkhxngsayesnechingtwelkh aelakhnphbwamiphvtikrrmchudkhlunoslitxn kh s 1960 C A R Hoare khidkhnkhntxnwithi quicksort kh s 1960 exxwing ridaelakustaf osolmxn naesnxrhsaekkhwamphidphladrid osolmxn kh s 1961 edeniyl aechngkhsaela cxhn ewnchkhanwnkha p thungthsniymtaaehnngthi 100 000 odyichfngkchnphkphnkhxng aelakhxmphiwetxr IBM 7090 kh s 1962 odnld makhwxrt esnxkhntxnwithikarhakhaehmaainrupaebbthiimepnechingesnodyichkalngsxngnxysudelewnebirk makhwxrt kh s 1963 phxl okhehnkhidkhnethkhnikhkar forcing ephuxaesdngwasmmtithankhwamtxenuxngaelascphcnkareluxkimsamarthphisucnidwaepncringcakscphcnphunthankhxngthvsdiest kh s 1963 martin khruskl aelanxrmxn sabski wiekhraahkarthdlxngkhxngaefrmi phasta xulaminlimitthitxenuxngaelakhnphbwarabbnisxdkhlxngkbsmkarekhdiwi kh s 1963 exdward nxrtn lxerns tiphimphphlechlykhxngomedlkhnitsastrxyangngaysahrbxthibaykhwamaeprprwnkhxngsphaphxakas sungepntwxyangthiruckknthwipindanphvtikrrmoklahl twdungdudlxerns hruxthimkeriykknwa kh s 1965 lxtfi xasekxr saedh nkkhnitsastrchawxirkkhnphbthvsdiestwiphchny xnepnkarkhyayaenwkhidkhxngestdngedimaelathaihekidwichakhnitsastrkhlumekhlux kh s 1965 martin khruskl aelanxrmxn sabskisuksakarchnknkhxngchudkhlunoslitxn echingtwelkhinphlasma aelakhnphbwachudkhlundngklawimekidkarkracayhlngkarchn kh s 1965 ecms khulli aelacxhn tuki esnxkhntxnwithithiichinpccubn kh s 1966 xbrahm orbinsn esnxkarwiekhraah Abraham Robinson presents Non standard analysis kh s 1965 phutesxresnxwithikarkhanwnkarchikalngkhxngemthrikssxngwithiinrupkhxngphhunamkhxngemthriksnn kh s 1967 orebirt aelngkhaelndsesnxxnepnnaipsukarechuxmoyngrahwangthvsdicanwnaela kh s 1968 miechll xatiya aelaxisadxr singekxr phisucnsungklawthung kh s 1973 lxtfi saedh khidkhn kh s 1975 ebxnw mandlbrx tiphimph Les objets fractals forme hasard et dimension sungklawthungaefrkthl epnkhrngaerk kh s 1976 ekhnent aexphphiw aelawulfkng haekn ichkhxmphiwetxrphisucnthvsdibthsisi kh s 1983 ekirt fltingsphisucn sungepnkaraesdngodythangxxminthvsdibthsudthaykhxngaefrma wasahrb n gt 2 wacamicanwnetm a b aela c sungepncanwnechphaasmphththkn aelathaih an bn cn xyucanwncakd kh s 1983 in sungepnnganthithaodynkkhnitcanwnmakaelaichewlarwmsamsibpiidesrcsinlng kh s 1985 hluys edx brngks edx bxechiyphisucn saerc kh s 1987 yasumasa khanada edwid eblely ocnathan bxrewn aelapietxr bxrewn ichkarpramansmkarmxdularaebbwnsapramanxinthikrlechingwngri bnekhruxngsupepxrkhxmphiwetxr NEC SX 2 ephuxkhanwnkha p idthungthsniymtaaehnngthi 134 lan kh s 1991 xlxng khxns aelacxhn dbebilyu lxtt phthna kh s 1994 aexndruw iwlsphisucnidbangswnaelaepnkarphisucnthvsdibthsudthaykhxngaefrma odythangxxmipdwy kh s 1998 othms khalisetxr ehlsichkhxmphiwetxrchwyphisucn rxkarrbrxngbthphisucnxyu kh s 1999 idrbkarphisucnthnghmd kh s 2000 Clay Mathematics Institute idprakasihenginrangwlhnunglandxllarshrth aekphuthisamarthhakhatxbpyhakhxidkhxhnunginpyha 7 khxkhxngekhlyidkhriststwrrsthi 21 pccubn kh s 2002 manindra xkrawl nithin aesksina aelanirac khayl caksthabnethkhonolyixinediykhanepxr Indian Institute of Technology Kanpur esnxkhntxnwithiimmienguxnikhechingkahndsungichewlaechingphhunamsahrbphicarnawacanwnthiihmaepncanwnechphaahruxim sungeriykknwakarthdsxbcanwnechphaa AKS kh s 2002 yasumasa khanada way yuchior hisayasu khuorda maokota khuod aelathimnganxikekakhnidthakarkhanwn p thungthsniymtaaehnngthi 1 241 lan odyichsupepxrkhxmphiwetxrkhnad 64 node khxnghitachi kh s 2002 Preda Mihăilescu phisucn idsaerc kh s 2003 krikxri epherlmanphisucnkhxkhwamkhadkarnkhxngpwngkaer sungepnhnunginpyha 7 khxkhxngekhlyidsaerc kh s 2007 nkwicyinxemrikaehnuxaelayuorprwmmuxknphanekhruxkhaykhxmphiwetxrephuxsrang E8 displaystyle E 8 in kh s 2009 Ngo Bao Chau nkkhnitsastrchawewiydnamphisucnbthtngmulthan Fundamental lemma inopraekrmkhxngaelngkhaelnds Langlands program idsaercduephimsthaniyxykhnitsastrnkkhnitsastr khnitsastrhmayehtubangswnkhxngbthkhwamninamacak Niel Brandt 1984 sungxnuyatihichinokhrngkarwikiphiediytamthirabuiwinxangxingLaumon G Ngo B C 2004 Le lemme fondamental pour les groupes unitaires arXiv math 0404454 en Talk Timeline of mathematics