เอนรีโก แฟร์มี (อิตาลี: Enrico Fermi) (29 กันยายน พ.ศ. 2444 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) นักฟิสิกส์รางวัลโนเบลชาวอิตาลีผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาวิชา เป็นนักฟิสิกส์ที่เชี่ยวชาญทั้งการทดลองและทฤษฎี ซึ่งหาได้ยากยิ่งในวงการฟิสิกส์ปัจจุบัน
เอนรีโก แฟร์มี | |
---|---|
เกิด | 29 กันยายน ค.ศ. 1901 โรม, ประเทศอิตาลี |
เสียชีวิต | 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 ชิคาโก, รัฐอิลลินอย, ประเทศสหรัฐ | (53 ปี)
พลเมือง | อิตาลี (1901–44) อเมริกัน (1944–54) |
ศิษย์เก่า | |
มีชื่อเสียงจาก | |
คู่สมรส | |
รางวัล |
|
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | ฟิสิกส์ |
สถาบันที่ทำงาน | |
อาจารย์ที่ปรึกษา | |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | |
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ | |
ลายมือชื่อ | |
ผลงานที่สำคัญทางด้านการทดลอง
ในช่วงประมาณคริสต์ทศวรรษ 1930 แฟร์มีและกลุ่มนักวิจัยของเขาค้นพบว่านิวเคลียสภายในอะตอมสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อถูกระดมยิงด้วยอนุภาคนิวตรอน ซึ่งต่อมาภายหลังเรารู้กันว่าสิ่งที่แฟร์มี (และ กลุ่มนักวิจัยชาวเยอรมัน) ค้นพบ ก็คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบแตกตัว (นิวเคลียร์ฟิชชั่น) นั่นเอง แฟร์มียังมีส่วนสำคัญในการสร้างเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ขึ้นครั้งแรกในโลก ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก (University of Chicago) สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นครั้งแรกที่มนุษย์สามารถสร้างและควบคุมปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ นับเป็นก้าวสำคัญที่ทำให้สหรัฐอเมริกา สามารถพัฒนาระเบิดปรมาณูได้สำเร็จ จึงนับได้ว่าเขาเป็นบิดา (คนหนึ่ง) ของวิชานิวเคลียร์ฟิสิกส์
ผลงานที่สำคัญทางด้านฟิสิกส์ทฤษฎี
ในปี พ.ศ. 2469 งานที่สำคัญของแฟร์มีใน (Statistical Mechanics) คือการค้นพบ (Fermi-Dirac Statistics) ซึ่งเป็นการศึกษาระบบอนุภาคจำนวนมากที่อยู่ภายใต้หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli's exclusion principle)
ระบบทางฟิสิกส์ที่ต้องใช้สถิติแบบแฟร์มี-ดิแรกในการอธิบายมีจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น กลุ่มแก๊สของอิเล็กตรอน) นับเป็นการปรับปรุงวิชากลศาสตร์สถิติแบบแผนให้ครอบคลุมสมบัติเชิงควอนตัมของอนุภาค (สปิน) ด้วย
ด้วยเหตุนี้สถิติแบบแฟร์มี-ดิแรกถูกไปสู่การประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางตั้งแต่การอธิบายปรากฏการณ์ระดับสเกลเล็ก ๆ ในระดับอะตอมไปจนถึงวัฏจักรชีวิตของดาวฤกษ์ ให้สังเกตว่าเป็นปี พ.ศ. 2469 แฟร์มี และ พอล ดิแรก ศึกษาเรื่องนี้ เป็นปีที่เพิ่งเริ่มมีวิชากลศาสตร์ควอนตัม (Quantum Mechanics) ที่สมบูรณ์เท่านั้น และดิแรกเองก็ยังเป็นหนึ่งในผู้ค้นพบวิชากลศาสตร์ควอนตัมด้วย
งานชิ้นต่อมาทางด้านทฤษฎีของแฟร์มีที่มีผู้ศึกษาต่อกันมาอย่างแพร่หลาย คือ แนวคิดเกี่ยวกับแรงอันตรกิริยาแบบอ่อน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่แรงมูลฐานที่ศึกษากันในฟิสิกส์ปัจจุบัน จากแนวคิดเรื่องแรงอันตรกิริยาแบบอ่อนนี้ เขาและเพาลีได้เสนออนุภาคใหม่คือ อนุภาคนิวตริโน (neutrio) - ตั้งชื่อโดยแฟร์มี- ซึ่งสำคัญอย่างยิ่งในการอธิบายการกำเนิดแสงของดวงอาทิตย์ อนุภาคนิวตริโนก็ยังมีปริศนาที่สำคัญอีกมากมายที่วิชาฟิสิกส์อนุภาคในปัจจุบันยังไม่สามารถให้คำอธิบายได้ ยังรอการค้นคว้าใหม่ๆทั้งในแง่ของการทดลองและทฤษฎี
ในด้านกลศาสตร์ควอนตัม แฟร์มียังได้คิดค้น กฎทองคำของแฟร์มี (Fermi's golden rule) ซึ่งเป็นสมการที่ใช้ในการอธิบายอัตราการเปลี่ยนสถานะของอนุภาคอีกด้วย
ด้วยผลงานการศึกษาอย่างจริงจังในสาขาเหล่านี้ ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2481
อ้างอิง
- Arhur Beiser, "Concepts of Modern Physics", McGraw-Hill, 1995
แหล่งข้อมูลอื่น
- ประวัติอย่างละเอียดของ เอนริโก แฟร์มี ได้ที่เว็บไซต์ของรางวัลโนเบล 2005-12-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
exnriok aefrmi xitali Enrico Fermi 29 knyayn ph s 2444 28 phvscikayn ph s 2497 nkfisiksrangwloneblchawxitaliphumibthbathsakhyinkarphthnawicha epnnkfisiksthiechiywchaythngkarthdlxngaelathvsdi sunghaidyakyinginwngkarfisikspccubnexnriok aefrmiekid29 knyayn kh s 1901 1901 09 29 orm praethsxitaliesiychiwit28 phvscikayn kh s 1954 1954 11 28 53 pi chikhaok rthxillinxy praethsshrthphlemuxngxitali 1901 44 xemrikn 1944 54 sisyekamichuxesiyngcakphuesnxptikiriyalukosniwekhliyr kdthxngkhakhxngaefrmi ptithrrsnkhxngaefrmi khxpyhaaefrmikhusmrsrangwl 1926 rangwloneblsakhafisiks 1938 1942 1946 1947 phakhismachikrachsmakhmaehnglxndxn 1950 1950 1953 1954 xachiphthangwithyasastrsakhafisikssthabnthithanganmhawithyalyekiththingenginmhawithyalyilednmhawithyalyokhlmebiymhawithyalychikhaokxacarythipruksamks bxrnluksisyinradbpriyyaexkluksisythimichuxesiyngxun laymuxchuxphlnganthisakhythangdankarthdlxnginchwngpramankhristthswrrs 1930 aefrmiaelaklumnkwicykhxngekhakhnphbwaniwekhliysphayinxatxmsamarthepliynaeplngidemuxthukradmyingdwyxnuphakhniwtrxn sungtxmaphayhlngeraruknwasingthiaefrmi aela klumnkwicychaweyxrmn khnphb kkhux ptikiriyaniwekhliyraebbaetktw niwekhliyrfichchn nnexng aefrmiyngmiswnsakhyinkarsrangetaptikrnniwekhliyrkhunkhrngaerkinolk thimhawithyalychikhaok University of Chicago shrthxemrika sungepnkhrngaerkthimnusysamarthsrangaelakhwbkhumptikiriyaniwekhliyrid nbepnkawsakhythithaihshrthxemrika samarthphthnaraebidprmanuidsaerc cungnbidwaekhaepnbida khnhnung khxngwichaniwekhliyrfisiksphlnganthisakhythangdanfisiksthvsdiinpi ph s 2469 nganthisakhykhxngaefrmiin Statistical Mechanics khuxkarkhnphb Fermi Dirac Statistics sungepnkarsuksarabbxnuphakhcanwnmakthixyuphayithlkkarkidknkhxngephali Pauli s exclusion principle rabbthangfisiksthitxngichsthitiaebbaefrmi diaerkinkarxthibaymicanwnmak twxyangechn klumaekskhxngxielktrxn nbepnkarprbprungwichaklsastrsthitiaebbaephnihkhrxbkhlumsmbtiechingkhwxntmkhxngxnuphakh spin dwy dwyehtunisthitiaebbaefrmi diaerkthukipsukarprayuktichxyangkwangkhwangtngaetkarxthibaypraktkarnradbseklelk inradbxatxmipcnthungwtckrchiwitkhxngdawvks ihsngektwaepnpi ph s 2469 aefrmi aela phxl diaerk suksaeruxngni epnpithiephingerimmiwichaklsastrkhwxntm Quantum Mechanics thismburnethann aeladiaerkexngkyngepnhnunginphukhnphbwichaklsastrkhwxntmdwy nganchintxmathangdanthvsdikhxngaefrmithimiphusuksatxknmaxyangaephrhlay khux aenwkhidekiywkbaerngxntrkiriyaaebbxxn sungepnhnunginsiaerngmulthanthisuksakninfisikspccubn cakaenwkhideruxngaerngxntrkiriyaaebbxxnni ekhaaelaephaliidesnxxnuphakhihmkhux xnuphakhniwtrion neutrio tngchuxodyaefrmi sungsakhyxyangyinginkarxthibaykarkaenidaesngkhxngdwngxathity xnuphakhniwtrionkyngmiprisnathisakhyxikmakmaythiwichafisiksxnuphakhinpccubnyngimsamarthihkhaxthibayid yngrxkarkhnkhwaihmthnginaengkhxngkarthdlxngaelathvsdi indanklsastrkhwxntm aefrmiyngidkhidkhn kdthxngkhakhxngaefrmi Fermi s golden rule sungepnsmkarthiichinkarxthibayxtrakarepliynsthanakhxngxnuphakhxikdwy dwyphlngankarsuksaxyangcringcnginsakhaehlani thaihekhaidrbrangwloneblsakhafisiks pracapi ph s 2481xangxingArhur Beiser Concepts of Modern Physics McGraw Hill 1995 ISBN 0 07 004814 2aehlngkhxmulxunprawtixyanglaexiydkhxng exnriok aefrmi idthiewbistkhxngrangwlonebl 2005 12 19 thi ewyaebkaemchchin xngkvs