ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรม (อังกฤษ: series) คือผลจากการบวกสมาชิกทุกตัวของลำดับเข้าด้วยกัน หากกำหนดให้ลำดับของจำนวนเป็น อนุกรมของลำดับนี้ก็คือ อนุกรมสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ของผลรวม ∑ เช่นตัวอย่างนี้เป็นอนุกรมของลำดับ
พจน์ของอนุกรมมักถูกสร้างขึ้นโดยกฎเกณฑ์เฉพาะ เช่นโดยสูตรคณิตศาสตร์ ขั้นตอนวิธี ลำดับของการวัด หรือแม้แต่การสุ่มจำนวน และเนื่องจากพจน์ในอนุกรมมีจำนวนไม่จำกัด อนุกรมจึงอาจเรียกว่าเป็น อนุกรมไม่จำกัด หรือ อนุกรมอนันต์(infinite series) อนุกรมจำเป็นต้องมีเครื่องมือจากคณิตวิเคราะห์เพื่อที่จะทำความเข้าใจและเพื่อให้สามารถจัดการปรับแต่งได้ ไม่เหมือนกับผลรวมที่มีพจน์จำกัด นอกเหนือจากการใช้งานทั่วไปในคณิตศาสตร์ อนุกรมไม่จำกัดยังถูกใช้งานอย่างกว้างขวางในสาขาวิชาเชิงปริมาณ ตัวอย่างเช่นฟิสิกส์หรือวิทยาการคอมพิวเตอร์
สมบัติพื้นฐาน
อนุกรมสามารถสร้างขึ้นได้จากหลายประเภทรวมทั้งจำนวนจริง จำนวนเชิงซ้อน ฟังก์ชัน ฯลฯ นิยามต่อไปนี้จะถูกกำหนดบนจำนวนจริง แต่ก็สามารถทำให้เป็นกรณีทั่วไปได้
กำหนดให้ลำดับไม่จำกัดของจำนวนจริง เรานิยามให้
เราเรียก ว่าเป็น ผลรวมบางส่วน N พจน์ ของลำดับ ของ อนุกรมคือลำดับของผลรวมบางส่วนเข้าด้วยกัน
ความสับสนที่อาจเกิดขึ้น
เมื่อพูดถึงอนุกรม เราอาจหมายถึงลำดับ ของผลรวมบางส่วน หรือหมายถึง ผลรวมของอนุกรม อย่างใดอย่างหนึ่ง ขึ้นอยู่กับบริบท
เพื่อที่จะแยกแยะความแตกต่างของทั้งสองความหมายนี้ จึงมีการซ่อนขอบเขตบนและล่างเครื่องหมายผลรวม เช่น
หมายถึงผลรวมของอนุกรม ซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีผลรวมจริงๆ ก็ได้
และลู่ออก
อนุกรม ∑ จะเรียกว่า (converge) เมื่อลำดับ ของผลรวมบางส่วนมีลิมิตที่ไม่เป็นอนันต์ แต่ถ้าลิมิตของ เป็นอนันต์หรือไม่มีลิมิต อนุกรมนั้นจะเรียกว่า ลู่ออก (diverge) และเมื่อผลรวมบางส่วนมีลิมิต เราเรียกลิมิตนั้นว่าเป็น ผลรวมของอนุกรม
วิธีที่ง่ายที่สุดที่จะทำให้อนุกรมไม่จำกัดเป็นอนุกรมลู่เข้า นั่นคือ ทุกพจน์มีค่าเป็นศูนย์ ซึ่งสังเกตได้จากของอนุกรม ส่วนการลู่เข้าของอนุกรมที่พจน์ต่างๆ ไม่เป็นศูนย์ เป็นสาระสำคัญของการศึกษาอนุกรม ลองพิจารณาตัวอย่างนี้
อนุกรมนี้อาจ มองว่า เป็นอนุกรมลู่เข้าบนเส้นจำนวนจริง เราอาจจินตนาการถึงเส้นตรงยาว 2 หน่วย และมีขีดกำกับแบ่งครึ่งไว้ที่ความยาว 1 หน่วย, ½ หน่วย, ¼ หน่วย ฯลฯ ซึ่งเราจะมีที่ว่างเสมอสำหรับขีดกำกับครั้งถัดไป เพราะว่าความยาวของเส้นที่เหลือจะยังคงมีอยู่เหมือนกับขีดกำกับก่อนหน้า เช่น เมื่อกำกับขีดไว้ที่ ½ หน่วย ก็ยังคงเหลือที่ว่างอีก ½ หน่วยที่ยังไม่มีขีด ดังนั้นเราจึงสามารถขีดกำกับที่ ¼ หน่วยลงไปได้อีก เช่นนี้เรื่อยไป คำอธิบายข้างต้นมิได้เป็นข้อพิสูจน์ว่าผลรวมดังกล่าว เท่ากับ 2 (ถึงแม้ว่าจะเป็นเช่นนั้น) แต่เป็นการพิสูจน์ว่าผลรวมนั้นมีค่า มากที่สุด คือ 2 หรือกล่าวอีกทางหนึ่งคือ อนุกรมนี้มีขอบเขตบนที่ 2
นักคณิตศาสตร์ได้นำวิธีเดียวกันนี้ไปใช้อธิบายสิ่งอื่นๆ เป็นแนวความคิดแบบอนุกรม เช่นเมื่อเราพูดถึงทศนิยมซ้ำจำนวนนี้
เหมือนว่าเรากำลังพูดถึงอนุกรม แต่เมื่ออนุกรมเหล่านี้ลู่เข้าบนจำนวนจริงเสมอ การอธิบายอนุกรมก็เหมือนกับการอธิบายค่าที่แท้จริงของจำนวนนั้น (ดูเพิ่มที่ 0.999...)
ตัวอย่างอนุกรม
- อนุกรมเรขาคณิต เป็นอนุกรมที่พจน์ต่างๆ ถูกสร้างขึ้นโดยการคูณพจน์ก่อนหน้าด้วยค่าคงตัวค่าหนึ่ง นั่นคือมาจากลำดับเรขาคณิต ตัวอย่างเช่น
และโดยทั่วไป อนุกรมเรขาคณิต
จะเป็นอนุกรมลู่เข้าก็ต่อเมื่อ
- คืออนุกรมดังนี้
เป็นอนุกรมลู่ออก
- อนุกรมสลับเครื่องหมาย เป็นอนุกรมที่พจน์ต่างๆ มีเครื่องหมายบวกลบสลับกัน ตัวอย่างเช่น
- สำหรับอนุกรมนี้
จะเป็นอนุกรมลู่เข้าเมื่อ r > 1 และเป็นอนุกรมลู่ออกเมื่อ r ≤ 1 ในฐานะฟังก์ชันของ r ผลรวมของอนุกรมนี้คือฟังก์ชันซีตาของรีมันน์
- สำหรับนี้
จะเป็นอนุกรมลู่เข้า ถ้าลำดับ ลู่เข้าไปยังขอบเขต L ค่าหนึ่ง เมื่อ n มีค่าเข้าใกล้อนันต์ และค่าของอนุกรมนี้จะเท่ากับ
สมบัติอื่น ๆ
อนุกรมมิได้ถูกแบ่งเพียงว่าจะลู่เข้าหรือลู่ออก อนุกรมยังสามารถแบ่งออกไปได้โดยขึ้นอยู่กับสมบัติของพจน์ (ลู่เข้าสัมบูรณ์หรือลู่เข้าตามเงื่อนไข) ประเภทของการลู่เข้าของอนุกรม (ลู่เข้ารายจุดหรือลู่เข้าสม่ำเสมอ) ประเภทของพจน์ (ไม่ว่าจะเป็นจำนวนจริง ลำดับเรขาคณิต ฟังก์ชันตรีโกณมิติ) และอื่นๆ อีกมากมาย
พจน์ที่ไม่เป็นลบ
เมื่อ เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นลบสำหรับทุกค่าของ n ดังนั้นลำดับ ของผลรวมบางส่วนจึงมีค่าที่ไม่ลดลง อนุกรม ∑ ซึ่งพจน์ไม่เป็นลบจะลู่เข้าก็ต่อเมื่อลำดับ ของผลรวมบางส่วนถูกจำกัดขอบเขต
ตัวอย่างเช่น กำหนดให้
เป็นอนุกรมลู่เข้า เนื่องจากอสมการ
และทำให้สามารถสรุปได้ว่า ผลรวมบางส่วนถูกจำกัดขอบเขตไว้ที่ 2
กำหนดให้อนุกรมหนึ่ง
จะเรียกว่าลู่เข้าสัมบูรณ์ ถ้าหากอนุกรมของค่าสัมบูรณ์
ลู่เข้าค่าใดค่าหนึ่งด้วย ซึ่งเป็นค่าเดียวกันกับอนุกรมแรก
อนุกรมจะเรียกว่าลู่เข้าตามเงื่อนไข (หรือกึ่งลู่เข้า) ถ้าอนุกรมนั้นลู่เข้า แต่ไม่ได้ลู่เข้าสัมบูรณ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคืออนุกรมสลับเครื่องหมาย เช่น
เป็น (และมีผลรวมเท่ากับ ln 2) แต่อนุกรมของค่าสัมบูรณ์กลายเป็นซึ่งลู่ออก กล่าวไว้ว่า อนุกรมลู่เข้าตามเงื่อนไข สามารถจัดเรียงให้กลายเป็นอนุกรมลู่ออก และยิ่งไปกว่านั้น ถ้า เป็นจำนวนจริง และ S ก็เป็นจำนวนจริง เราสามารถจัดเรียงใหม่เพื่อให้อนุกรมนั้นลู่เข้าและมีผลรวมเท่ากับ S
(Abel's test) เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับอนุกรมลู่เข้าตามเงื่อนไข ถ้าหากอนุกรมนั้นอยู่ในรูปแบบ
เมื่อผลรวมบางส่วน ถูกจำกัดขอบเขต, เป็นตัวจำกัดความแปรผัน และ มีลิมิต
แล้วอนุกรม ∑ จะลู่เข้า สิ่งนี้เป็นจริงในการลู่เข้ารายจุดของอนุกรมตรีโกณมิติ อาทิ
โดยที่ วิธีการของอาเบลประกอบด้วยการเขียน และกระทำการแปลงอย่างหนึ่งซึ่งคล้ายกับการหาปริพันธ์เป็นส่วน (เรียกว่า) ซึ่งทำให้อนุกรม ∑ เปลี่ยนเป็นอนุกรมลู่เข้าสัมบูรณ์ได้ดังนี้
อ้างอิง
- An Introduction to the Theory of Infinite Series MacMillan & Co. 1908, revised 1926, reprinted 1939, 1942, 1949, 1955, 1959, 1965.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangkhnitsastr xnukrm xngkvs series khuxphlcakkarbwksmachikthuktwkhxngladbekhadwykn hakkahndihladbkhxngcanwnepn an a1 a2 a3 displaystyle a n a 1 a 2 a 3 xnukrmkhxngladbnikkhux a1 a2 a3 displaystyle a 1 a 2 a 3 xnukrmsamarthekhiynaethniddwysylksnkhxngphlrwm echntwxyangniepnxnukrmkhxngladb 1 2n displaystyle 1 2 n n 1 12n 12 14 18 12n displaystyle sum n 1 infty frac 1 2 n frac 1 2 frac 1 4 frac 1 8 cdots frac 1 2 n cdots dd phcnkhxngxnukrmmkthuksrangkhunodykdeknthechphaa echnodysutrkhnitsastr khntxnwithi ladbkhxngkarwd hruxaemaetkarsumcanwn aelaenuxngcakphcninxnukrmmicanwnimcakd xnukrmcungxaceriykwaepn xnukrmimcakd hrux xnukrmxnnt infinite series xnukrmcaepntxngmiekhruxngmuxcakkhnitwiekhraahephuxthicathakhwamekhaicaelaephuxihsamarthcdkarprbaetngid imehmuxnkbphlrwmthimiphcncakd nxkehnuxcakkarichnganthwipinkhnitsastr xnukrmimcakdyngthukichnganxyangkwangkhwanginsakhawichaechingpriman twxyangechnfisikshruxwithyakarkhxmphiwetxrsmbtiphunthanxnukrmsamarthsrangkhunidcakhlaypraephthrwmthngcanwncring canwnechingsxn fngkchn l niyamtxipnicathukkahndbncanwncring aetksamarththaihepnkrnithwipid kahndihladbimcakdkhxngcanwncring an displaystyle a n eraniyamih SN n 0Nan a0 a1 a2 aN displaystyle S N sum n 0 N a n a 0 a 1 a 2 cdots a N dd eraeriyk SN displaystyle S N waepn phlrwmbangswn N phcn khxngladb an displaystyle a n khxng xnukrmkhuxladbkhxngphlrwmbangswnekhadwykn SN displaystyle S N khwamsbsnthixacekidkhun emuxphudthungxnukrm eraxachmaythungladb SN displaystyle S N khxngphlrwmbangswn hruxhmaythung phlrwmkhxngxnukrm xyangidxyanghnung khunxyukbbribth n 0 an displaystyle sum n 0 infty a n dd ephuxthicaaeykaeyakhwamaetktangkhxngthngsxngkhwamhmayni cungmikarsxnkhxbekhtbnaelalangekhruxnghmayphlrwm echn an displaystyle sum a n dd hmaythungphlrwmkhxngxnukrm sungxaccamihruximmiphlrwmcring kid aelaluxxk xnukrm an displaystyle a n caeriykwa converge emuxladb SN displaystyle S N khxngphlrwmbangswnmilimitthiimepnxnnt aetthalimitkhxng SN displaystyle S N epnxnnthruximmilimit xnukrmnncaeriykwa luxxk diverge aelaemuxphlrwmbangswnmilimit eraeriyklimitnnwaepn phlrwmkhxngxnukrm n 0 an limN SN limN n 0Nan displaystyle sum n 0 infty a n lim N to infty S N lim N to infty sum n 0 N a n dd withithingaythisudthicathaihxnukrmimcakdepnxnukrmluekha nnkhux an displaystyle a n thukphcnmikhaepnsuny sungsngektidcakkhxngxnukrm swnkarluekhakhxngxnukrmthiphcntang imepnsuny epnsarasakhykhxngkarsuksaxnukrm lxngphicarnatwxyangni 1 12 14 18 12n displaystyle 1 frac 1 2 frac 1 4 frac 1 8 cdots frac 1 2 n cdots dd xnukrmnixac mxngwa epnxnukrmluekhabnesncanwncring eraxaccintnakarthungesntrngyaw 2 hnwy aelamikhidkakbaebngkhrungiwthikhwamyaw 1 hnwy hnwy hnwy l sungeracamithiwangesmxsahrbkhidkakbkhrngthdip ephraawakhwamyawkhxngesnthiehluxcayngkhngmixyuehmuxnkbkhidkakbkxnhna echn emuxkakbkhidiwthi hnwy kyngkhngehluxthiwangxik hnwythiyngimmikhid dngnneracungsamarthkhidkakbthi hnwylngipidxik echnnieruxyip khaxthibaykhangtnmiidepnkhxphisucnwaphlrwmdngklaw ethakb 2 thungaemwacaepnechnnn aetepnkarphisucnwaphlrwmnnmikha makthisud khux 2 hruxklawxikthanghnungkhux xnukrmnimikhxbekhtbnthi 2 nkkhnitsastridnawithiediywknniipichxthibaysingxun epnaenwkhwamkhidaebbxnukrm echnemuxeraphudthungthsniymsacanwnni x 0 111 displaystyle x 0 111 dots dd ehmuxnwaerakalngphudthungxnukrm 0 1 0 01 0 001 displaystyle 0 1 0 01 0 001 aetemuxxnukrmehlaniluekhabncanwncringesmx karxthibayxnukrmkehmuxnkbkarxthibaykhathiaethcringkhxngcanwnnn duephimthi 0 999 twxyangxnukrm xnukrmerkhakhnit epnxnukrmthiphcntang thuksrangkhunodykarkhunphcnkxnhnadwykhakhngtwkhahnung nnkhuxmacakladberkhakhnit twxyangechn1 12 14 18 116 n 0 12n displaystyle 1 1 over 2 1 over 4 1 over 8 1 over 16 cdots sum n 0 infty 1 over 2 n dd aelaodythwip xnukrmerkhakhnit n 0 zn displaystyle sum n 0 infty z n dd caepnxnukrmluekhaktxemux z lt 1 displaystyle z lt 1 khuxxnukrmdngni1 12 13 14 15 n 1 1n displaystyle 1 1 over 2 1 over 3 1 over 4 1 over 5 cdots sum n 1 infty 1 over n dd epnxnukrmluxxk xnukrmslbekhruxnghmay epnxnukrmthiphcntang miekhruxnghmaybwklbslbkn twxyangechn1 12 13 14 15 n 1 1 n 11n displaystyle 1 1 over 2 1 over 3 1 over 4 1 over 5 cdots sum n 1 infty 1 n 1 1 over n dd sahrbxnukrmni n 1 1nr displaystyle sum n 1 infty frac 1 n r dd caepnxnukrmluekhaemux r gt 1 aelaepnxnukrmluxxkemux r 1 inthanafngkchnkhxng r phlrwmkhxngxnukrmnikhuxfngkchnsitakhxngrimnn sahrbni n 1 bn bn 1 displaystyle sum n 1 infty b n b n 1 dd caepnxnukrmluekha thaladb bn displaystyle b n luekhaipyngkhxbekht L khahnung emux n mikhaekhaiklxnnt aelakhakhxngxnukrmnicaethakb b1 L displaystyle b 1 L smbtixun xnukrmmiidthukaebngephiyngwacaluekhahruxluxxk xnukrmyngsamarthaebngxxkipidodykhunxyukbsmbtikhxngphcn an displaystyle a n luekhasmburnhruxluekhatamenguxnikh praephthkhxngkarluekhakhxngxnukrm luekharaycudhruxluekhasmaesmx praephthkhxngphcn an displaystyle a n imwacaepncanwncring ladberkhakhnit fngkchntrioknmiti aelaxun xikmakmay phcnthiimepnlb emux an displaystyle a n epncanwncringthiimepnlbsahrbthukkhakhxng n dngnnladb SN displaystyle S N khxngphlrwmbangswncungmikhathiimldlng xnukrm an displaystyle a n sungphcnimepnlbcaluekhaktxemuxladb SN displaystyle S N khxngphlrwmbangswnthukcakdkhxbekht twxyangechn kahndih n 11n2 displaystyle sum n geq 1 frac 1 n 2 dd epnxnukrmluekha enuxngcakxsmkar 1n2 1n 1 1n n 2 displaystyle frac 1 n 2 leq frac 1 n 1 frac 1 n quad n geq 2 dd aelathaihsamarthsrupidwa phlrwmbangswnthukcakdkhxbekhtiwthi 2 karluekhasmburn kahndihxnukrmhnung n 0 an displaystyle sum n 0 infty a n dd caeriykwaluekhasmburn thahakxnukrmkhxngkhasmburn n 0 an displaystyle sum n 0 infty left a n right dd luekhakhaidkhahnungdwy sungepnkhaediywknkbxnukrmaerk xnukrmcaeriykwaluekhatamenguxnikh hruxkungluekha thaxnukrmnnluekha aetimidluekhasmburn twxyangthiehnidchdkhuxxnukrmslbekhruxnghmay echn n 1 1 n 1n 1 12 13 14 15 displaystyle sum limits n 1 infty 1 n 1 over n 1 1 over 2 1 over 3 1 over 4 1 over 5 cdots dd epn aelamiphlrwmethakb ln 2 aetxnukrmkhxngkhasmburnklayepnsungluxxk klawiwwa xnukrmluekhatamenguxnikh samarthcderiyngihklayepnxnukrmluxxk aelayingipkwann tha an displaystyle a n epncanwncring aela S kepncanwncring erasamarthcderiyngihmephuxihxnukrmnnluekhaaelamiphlrwmethakb S Abel s test epnekhruxngmuxsakhysahrbxnukrmluekhatamenguxnikh thahakxnukrmnnxyuinrupaebb an lnbn displaystyle sum a n sum lambda n b n dd emuxphlrwmbangswn BN b0 bN displaystyle B N b 0 b N thukcakdkhxbekht ln displaystyle lambda n epntwcakdkhwamaeprphn aela lnBn displaystyle lambda n B n milimit supN n 0Nbn lt ln 1 ln lt and lnBn converges displaystyle sup N Bigl sum n 0 N b n Bigr lt infty sum lambda n 1 lambda n lt infty text and lambda n B n text converges dd aelwxnukrm an displaystyle a n caluekha singniepncringinkarluekharaycudkhxngxnukrmtrioknmiti xathi n 2 sin nx ln n displaystyle sum n 2 infty frac sin nx ln n dd odythi 0 lt x lt 2p displaystyle 0 lt x lt 2 pi withikarkhxngxaeblprakxbdwykarekhiyn bn 1 Bn 1 Bn displaystyle b n 1 B n 1 B n aelakrathakaraeplngxyanghnungsungkhlaykbkarhapriphnthepnswn eriykwa sungthaihxnukrm an displaystyle a n epliynepnxnukrmluekhasmburniddngni ln ln 1 Bn displaystyle sum lambda n lambda n 1 B n dd xangxingAn Introduction to the Theory of Infinite Series MacMillan amp Co 1908 revised 1926 reprinted 1939 1942 1949 1955 1959 1965 duephimxnukrmelkhkhnit xnukrmerkhakhnit pyhabaesil xnukrmkrndi