ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
จอร์จ บูล (อังกฤษ: George Boole) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ผลงานสำคัญคือการคิดพีชคณิตแบบบูลขึ้น อันเป็นรากฐานสำคัญของ ตรรกศาสตร์ และ จอร์จ บูล นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่มหาวิทยาลัย College Cork ผู้ที่นิยามพีชคณิตดังกล่าวขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางตรรกศาสตร์ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 พีชคณิตแบบบูลนำเทคนิคทางพีชคณิตมาใช้กับนิพจน์ในตรรกศาสตร์เชิงประพจน์ ในปัจจุบันพีชคณิตแบบบูลได้ถูกนำไปประยุกต์อย่างแพร่หลายในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่นำไปใช้คนแรกคือคลาวด์ อี. แชนนอน นักวิทยาศาสตร์แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratory) ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยนำมาใช้ในการวิเคราะห์วงจรเน็ตเวิร์กที่ทำงานต่อกันหลาย ๆ ภาค เช่น วงจรของโทรศัพท์ เป็นต้น เมื่อมีการพัฒนาวงจร คอมพิวเตอร์ขึ้นก็ได้มีการนำเอาพีชคณิตบูลีนมาใช้ในการคำนวณ ออกแบบ และอธิบายสภาวะการทำงานของสถานะวงจรภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยพีชคณิตบูลีนเป็นพื้นฐานสำคัญในการออกแบบวงจรตรรกของระบบดิจิทัล
จอร์จ บูล | |
---|---|
เกิด | 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2358 ( ประเทศอังกฤษ) |
เสียชีวิต | 8 ธันวาคม พ.ศ. 2407 ( ไอร์แลนด์) |
ยุค | |
แนวทาง | ปรัชญาตะวันตก |
สำนัก | ศูนย์คณิตศาสตร์แห่งวิทยาการคอมพิวเตอร์ |
ความสนใจหลัก | คณิตศาสตร์, ตรรกศาสตร์, |
แนวคิดเด่น | พีชคณิตแบบบูล |
ได้รับอิทธิพลจาก | |
เป็นอิทธิพลต่อ
|
ผลงานที่สำคัญ
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud cxrc bul xngkvs George Boole epnnkkhnitsastrchawxngkvs phlngansakhykhuxkarkhidphichkhnitaebbbulkhun xnepnrakthansakhykhxng trrksastr aela cxrc bul nkkhnitsastrchawxngkvs thimhawithyaly College Cork phuthiniyamphichkhnitdngklawkhunmaephuxepnswnhnungkhxngrabbthangtrrksastrinklangkhriststwrrsthi 19 phichkhnitaebbbulnaethkhnikhthangphichkhnitmaichkbniphcnintrrksastrechingpraphcn inpccubnphichkhnitaebbbulidthuknaipprayuktxyangaephrhlayinkarxxkaebbthangxielkthrxniks phuthinaipichkhnaerkkhuxkhlawd xi aechnnxn nkwithyasastraehnghxngthdlxngebll Bell Laboratory inkhriststwrrsthi 20 odynamaichinkarwiekhraahwngcrentewirkthithangantxknhlay phakh echn wngcrkhxngothrsphth epntn emuxmikarphthnawngcr khxmphiwetxrkhunkidmikarnaexaphichkhnitbulinmaichinkarkhanwn xxkaebb aelaxthibaysphawakarthangankhxngsthanawngcrphayinrabbkhxmphiwetxr odyphichkhnitbulinepnphunthansakhyinkarxxkaebbwngcrtrrkkhxngrabbdicithlcxrc bulekid2 phvscikayn ph s 2358 praethsxngkvs esiychiwit8 thnwakhm ph s 2407 ixraelnd yukhaenwthangprchyatawntksanksunykhnitsastraehngwithyakarkhxmphiwetxrkhwamsnichlkkhnitsastr trrksastr aenwkhidednphichkhnitaebbbulidrbxiththiphlcak xrisotetil spionsa niwtnepnxiththiphltx nkwithyakarkhxmphiwetxr Jevons Peirce Johnson Shannonphlnganthisakhyphichkhnitaebbbulduephimphichkhnitaebbbul