ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
นักคณิตศาสตร์ (อังกฤษ: mathematician) คือบุคคลที่ศึกษาและ ทำงานวิจัยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
บทบาท
งานของนักคณิตศาสตร์ไม่ใช่เพียงศึกษาแต่ยังค้นคว้าวิจัยเพื่อสร้างความรู้ใหม่ๆ ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งบทบาทนี้เป็นสิ่งที่ต้องเน้นในที่นี้ เพราะว่ามักมีความเชื่อผิดๆ ว่าทุกอย่างในคณิตศาสตร์นั้นถูกค้นพบแล้ว ในความเป็นจริง การตีพิมพ์ผลงานวิจัยใหม่ทางด้านคณิตศาสตร์ยังคงมีอยู่สูงใน ซึ่งจำนวนมากมีเป้าหมายเพื่อพิมพ์งานด้านคณิตศาสตร์ และอีกหลายๆ เล่มนั้นก็เกี่ยวข้องสาขาวิชาที่นำคณิตศาสตร์ไปใช้ (เช่น , ฟิสิกส์ หรือ กลศาสตร์ควอนตัม)
การคำนวณตัวเลข
คนทั่วไปมักคิดว่านักคณิตศาสตร์ต้องทำงาน เชี่ยวชาญ และเก่งในเรื่องที่เกี่ยวกับการคำนวณตัวเลขมาก เช่น บวกหรือลบเลขเพื่อคำนวณค่าทิปให้พนักงานบริการ นี่ก็เป็นความคิดที่ผิดอีกเช่นกัน เพราะแม้แต่นักคณิตศาสตร์ชื่อดังหลายๆ ท่านยังทำเรื่องพวกนี้ได้แย่กว่าคนธรรมดาเสียด้วยซ้ำ ในความเป็นจริงแล้ววิชาคณิตศาสตร์เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ลึกซึ้งและมีอะไรมากกว่าแค่การคำนวณตัวเลขมากนัก อย่างไรก็ตามในหมู่นักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ก็มีบางท่านที่มีพรสวรรค์ที่สามารถคำนวณสมการทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนมากในใจได้อย่างรวดเร็ว เช่น วอน นอยแมน หรือ รามานุจัน เป็นต้น
แรงบันดาลใจ
นักคณิตศาสตร์มีแรงบันดาลใจในการทำงานหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งโดยทั่วไปแล้วไม่ได้มาจากความโลภทางเงินตรา แต่มาจากความสนใจในความรู้ หรือ โดยตรง และแรงบันดาลใจอาจมาจากนักคณิตศาสตร์ที่ตนชื่นชอบที่เป็นฮีโร่ในอุดมคติ
ในหนังสือ อันโด่งดังของนักคณิตศาสตร์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ฮาร์ดี้ได้บรรยายด้วยความรู้สึกส่วนตัวว่า สำหรับเขาแล้วคณิตศาสตร์โดยเฉพาะคณิตศาสตร์บริสุทธิ์คือศิลปะ มันเป็นการสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงามออกมาจากจิตใจภายใน นักคณิตศาสตร์ทำงานของเขาเพราะว่าเขาชื่นชอบและมีความสุขในงานที่เขาทำ เขาไม่ชอบคณิตศาสตร์ประยุกต์ และหวังว่าผลงานของเขาจะไม่ถูกใช้ประยุกต์ในด้านใดๆ เลย! นอกจากนี้เขายังได้กล่าววาทะที่นักคณิตศาสตร์ทั่วไปชื่นชอบว่า ความงามมาเป็นอันดับแรก ไม่มีที่อยู่ในโลกใบนี้สำหรับคณิตศาสตร์ที่น่าเกลียด (Beauty is the first test: there is no permanent place in this world for ugly mathematics)
ความสวยงามของคณิตศาสตร์นั้นซ่อนเร้นอยู่ในหลายๆ แห่ง ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอน หรือผลลัพธ์ของทฤษฎีบท ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความสวยงามอยู่ไม่ต่างจากความงามของภาพวาดหรือความงามของบทเพลงและบทกวี ในหนังสือของเขา ฮาร์ดี้ในกล่าวถึงความงามทางคณิตศาสตร์ไว้ดังนี้
อะไรก็ตามในคณิตศาสตร์นั้นสวยงามถ้า
- มีความเรียบง่าย สั้น ง่ายต่อการทำความเข้าใจ (economy)
- มีความน่าประหลาดใจ คาดไม่ถึง (unexpectedness)
- ไม่สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งนั้นได้ ไม่ว่าเราจะพิสูจน์หรือคิดในรูปแบบใดก็ตาม จะเจอผลลัพธ์เดียวกันนี้เสมอ (ineviability)
— ฮาร์ดี้
ความแตกต่างระหว่างนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญาคณิตศาสตร์ และนักวิทยาศาสตร์
จากเอกสารของ Morris Kline, Mathematics: The Loss of Certainty ได้ให้เหตุผลไว้ว่า
นักปรัชญาโดยเฉพาะ (เช่น เบอร์ทรันด์ รัซเซลล์, หรือ ) มักจะสนใจวิเคราะห์เจาะประเด็นในเรื่องที่นักคณิตศาสตร์ทั่วไปถือว่าเป็นความจริงหรือสัจพจน์ทางคณิตศาสตร์อยู่แล้ว เช่น นักปรัชญาคณิตศาสตร์มักพิจารณาอย่างละเอียดว่าประโยค "1+1=2" นั้นหมายความว่าอย่างไร และเป็นจริงได้อย่างไรกันแน่ (โดยในหนังสือ ที่โด่งดังของ รัซเซลล์กับไวท์เฮดนั้น ต้องใช้ถึงหลายสิบหน้าในการพิสูจน์ประโยคนี้ทีเดียว) กล่าวโดยสรุปนักปรัชญาคณิตศาสตร์มักสนใจในเรื่องต่อไปนี้
- หลักเกณฑ์ (หรือ ตรรกศาสตร์) เพื่อพิสูจน์ทฤษฎีบททางคณิตศาสตร์ เช่น หลักการให้เหตุผลมีกี่ประเภท แต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร เป็นต้น นักปรัชญาคณิตศาสตร์ที่มีความเชื่อต่างกันบางทีก็ถกเถียงกันว่าหลักเกณฑ์การให้เหตุผลแบบใดกันแน่ที่ถูกต้อง ในประเด็นนี้สามารถแบ่งนักปรัชญาคณิตศาสตร์ได้เป็นสามประเภทใหญ่ๆ คือ Logicist, Intuitionist และ Formalist
- ขอบเขตของคณิตศาสตร์ เช่น คณิตศาสตร์ครอบคลุมความจริงประเภทใดบ้างเมื่ออ้างเซตของสัจพจน์กลุ่มหนึ่ง และมีสิ่งใดไม่สามารถใช้หลักเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์พิสูจน์ได้บ้างเป็นต้น (ดู และ ปัญหาการยุติการทำงาน)
- คณิตศาสตร์ใหม่ คือการสร้างคณิตศาสตร์ขึ้นมาใหม่จากเซตของสัจพจน์ที่แตกต่างจากเดิมเพื่อก้าวข้ามขอบเขตของคณิตศาสตร์เดิม บางครั้งก็มีการถกเถียงกันว่าควรจะยอมรับสัจพจน์บางอย่างหรือไม่ เช่น สัจพจน์การเลือก (axiom of choice) เป็นสัจพจน์ที่ถูกเถียงกันมากที่สุดว่าควรจะถือว่าเป็นความจริงดีหรือไม่
- ความหมายของสิ่งต่างๆ ในคณิตศาสตร์ เช่น ความหมายของ หรือ ความหมายของทฤษฎีบทต่างๆ
อนึ่ง ถึงแม้นักคณิตศาสตร์ทั่วไปมักมีข้อตกลงร่วมกันว่าประเด็นข้างต้นนั้นถือว่าเป็นจริงโดยสามัญสำนึกอยู่แล้ว แต่ทว่าไม่มีแนวคิดใด รูปแบบใดที่ทุกคนยอมรับว่าดีที่สุด นักคณิตศาสตร์แต่ละคนก็จะมีความเชื่อในแต่ละประเด็นข้างต้นแตกต่างกันไป นักคณิตศาสตร์ที่โด่งดังหลายท่านเช่น ปวงกาเร หรือ เกาส์ ก็สนใจในปรัชญาคณิตศาสตร์ ซึ่งบางทีผลลัพธ์ทางปรัชญาคณิตศาสตร์บางอย่างก็ส่งผลกระทบที่ยิ่งใหญ่ต่อวงการคณิตศาสตร์โดยตรง เช่น เมื่อเกาส์, และค้นพบว่าการละทิ้งสัจพจน์เส้นขนานนั้นสามารถกำเนิดสาขาใหม่ของคณิตศาสตร์คือเรขาคณิตนอกแบบยุคลิดได้นั้น นักคิดบางท่านเปรียบว่าการค้นพบครั้งนี้สำคัญเทียบเท่าทางดาราศาสตร์และทฤษฎีวิวัฒนาการของชาลส์ ดาร์วินเลยทีเดียว
นักคณิตศาสตร์แตกต่างจากนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรในประเด็นหลัก ๆ ตรงที่ว่า นักคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ให้ความสำคัญกับการทดลองมากนัก ในขณะที่สำหรับนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรนั้น การทดลอง ถือเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดเลยทีเดียว. นอกจากนั้น ผลลัพธ์หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรรม มักถือเป็นแค่สิ่งที่ใช้ประมาณหรือใกล้เคียงกับความจริงเท่านั้น (นักฟิสิกส์ที่มีชื่อเสียงเช่น ไฟน์แมน หรือ ได้กล่าวว่าเราไม่มีทางสร้างทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่อธิบายความจริงโดยสมบูรณ์ได้ เพราะว่ามันซับซ้อนเกินไป) ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์นั้นถูกล้มล้างได้ตลอดเวลา ถ้าขัดกับข้อมูลผลการทดลองที่เชื่อถือได้มากพอ. แต่สำหรับนักคณิตศาสตร์แล้วแต่ละทฤษฎีบทถือเป็นความจริงอย่างที่สุดเลยทีเดียว (ซึ่งความจริงที่ว่านี้ต้องอิงกับเซตของสัจพจน์ที่นักคณิตศาสตร์ใช้ด้วย)
ประโยคบางประโยคที่นักคณิตศาสตร์เชื่อว่าจริง แต่ไม่สามารถพิสูจน์ว่าจริงหรือไม่จริงได้นั้น เรียกว่า ข้อความคาดการณ์ ข้อความคาดการณ์บางอย่างก็มีชื่อเสียงมาก ถึงกับเป็นเป้าหมายชีวิตในการพิสูจน์ให้เป็นทฤษฎีบทของนักคณิตศาสตร์บางคน. เมื่อคอมพิวเตอร์เริ่มมีบทบาทในวงการวิทยาศาสตร์ ก็ก่อเกิดนักคณิตศาสตร์ประเภทใหม่ขึ้น คือ นักคณิตศาสตร์แนวทดลอง (experimental mathematician) ซึ่งพยายามใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลองและทดสอบความจริงของข้อความคาดการณ์ในหลาย ๆ รูปแบบ
อ้างอิง
- Morris Kline, Mathematics: The Loss of Certainty
- A Mathematician's Apology, by . Memoir, with foreword by .
- Reprint edition, Cambridge University Press, 1992;
- First edition, 1940
- A Mathematician's Apology ฉบับเต็มในรูปแบบไฟล์อิเล็กโทรนิก A Mathematician's Apology 2017-07-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, โดย the University of Alberta Mathematical Science Society.
- Dunham, William. Journey Through Genius: The Great Theorems of Mathematics. John Wiley 1990.
- Dunham, William. The Mathematical Universe. John Wiley 1994.
- Eves, Howard. An Introduction to the History of Mathematics. 6th edition, The Saunders Series 1990.
- Kline, Morris. Mathematics: The Loss of Certainty. Oxford University Press; Reprint edition, 1982.
- Benacerraf, Paul and Putnam, Hilary, eds. Philosophy of Mathematics: Selected Readings. Prentice Hall, 1964.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- The MacTutor History of Mathematics archive, มีรายชื่อและชีวประวัติที่ค่อนข้างครบถ้วนของนักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียง.
- The Mathematics Genealogy Project, which allows to follow the succession of thesis advisors for most mathematicians, living or dead.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud nkkhnitsastr xngkvs mathematician khuxbukhkhlthisuksaaela thanganwicyekiywkbkhnitsastrbthbathngankhxngnkkhnitsastrimichephiyngsuksaaetyngkhnkhwawicyephuxsrangkhwamruihm thangkhnitsastr sungbthbathniepnsingthitxngenninthini ephraawamkmikhwamechuxphid wathukxyanginkhnitsastrnnthukkhnphbaelw inkhwamepncring kartiphimphphlnganwicyihmthangdankhnitsastryngkhngmixyusungin sungcanwnmakmiepahmayephuxphimphngandankhnitsastr aelaxikhlay elmnnkekiywkhxngsakhawichathinakhnitsastripich echn fisiks hrux klsastrkhwxntm karkhanwntwelkhkhnthwipmkkhidwankkhnitsastrtxngthangan echiywchay aelaekngineruxngthiekiywkbkarkhanwntwelkhmak echn bwkhruxlbelkhephuxkhanwnkhathipihphnknganbrikar nikepnkhwamkhidthiphidxikechnkn ephraaaemaetnkkhnitsastrchuxdnghlay thanyngthaeruxngphwkniidaeykwakhnthrrmdaesiydwysa inkhwamepncringaelwwichakhnitsastrepnthngsastraelasilpthiluksungaelamixairmakkwaaekhkarkhanwntwelkhmaknk xyangirktaminhmunkkhnitsastrthiyingihykmibangthanthimiphrswrrkhthisamarthkhanwnsmkarthangkhnitsastrthisbsxnmakinicidxyangrwderw echn wxn nxyaemn hrux ramanucn epntnaerngbndalicnkkhnitsastrmiaerngbndalicinkarthanganhlayrupaebbdwykn sungodythwipaelwimidmacakkhwamolphthangengintra aetmacakkhwamsnicinkhwamru hrux odytrng aelaaerngbndalicxacmacaknkkhnitsastrthitnchunchxbthiepnhiorinxudmkhti inhnngsux xnodngdngkhxngnkkhnitsastrthimixiththiphlmakthisudkhnhnunginkhriststwrrsthi 20 hardiidbrryaydwykhwamrusukswntwwa sahrbekhaaelwkhnitsastrodyechphaakhnitsastrbrisuththikhuxsilpa mnepnkarsrangsrrkhsingthiswyngamxxkmacakciticphayin nkkhnitsastrthangankhxngekhaephraawaekhachunchxbaelamikhwamsukhinnganthiekhatha ekhaimchxbkhnitsastrprayukt aelahwngwaphlngankhxngekhacaimthukichprayuktindanid ely nxkcakniekhayngidklawwathathinkkhnitsastrthwipchunchxbwa khwamngammaepnxndbaerk immithixyuinolkibnisahrbkhnitsastrthinaekliyd Beauty is the first test there is no permanent place in this world for ugly mathematics khwamswyngamkhxngkhnitsastrnnsxnernxyuinhlay aehng imwacaepnkhntxn hruxphllphthkhxngthvsdibth sunglwnaelwaetmikhwamswyngamxyuimtangcakkhwamngamkhxngphaphwadhruxkhwamngamkhxngbthephlngaelabthkwi inhnngsuxkhxngekha hardiinklawthungkhwamngamthangkhnitsastriwdngni xairktaminkhnitsastrnnswyngamtha mikhwameriybngay sn ngaytxkarthakhwamekhaic economy mikhwamnaprahladic khadimthung unexpectedness imsamarthhlikeliyngsingnnid imwaeracaphisucnhruxkhidinrupaebbidktam caecxphllphthediywknniesmx ineviability hardikhwamaetktangrahwangnkkhnitsastr nkprchyakhnitsastr aelankwithyasastrcakexksarkhxng Morris Kline Mathematics The Loss of Certainty idihehtuphliwwa nkprchyaodyechphaa echn ebxrthrnd rsesll hrux mkcasnicwiekhraahecaapraednineruxngthinkkhnitsastrthwipthuxwaepnkhwamcringhruxscphcnthangkhnitsastrxyuaelw echn nkprchyakhnitsastrmkphicarnaxyanglaexiydwapraoykh 1 1 2 nnhmaykhwamwaxyangir aelaepncringidxyangirknaen odyinhnngsux thiodngdngkhxng rsesllkbiwthehdnn txngichthunghlaysibhnainkarphisucnpraoykhnithiediyw klawodysrupnkprchyakhnitsastrmksnicineruxngtxipni hlkeknth hrux trrksastr ephuxphisucnthvsdibththangkhnitsastr echn hlkkarihehtuphlmikipraephth aetlapraephthaetktangknxyangir epntn nkprchyakhnitsastrthimikhwamechuxtangknbangthikthkethiyngknwahlkeknthkarihehtuphlaebbidknaenthithuktxng inpraednnisamarthaebngnkprchyakhnitsastridepnsampraephthihy khux Logicist Intuitionist aela Formalist khxbekhtkhxngkhnitsastr echn khnitsastrkhrxbkhlumkhwamcringpraephthidbangemuxxangestkhxngscphcnklumhnung aelamisingidimsamarthichhlkeknththangkhnitsastrphisucnidbangepntn du aela pyhakaryutikarthangan khnitsastrihm khuxkarsrangkhnitsastrkhunmaihmcakestkhxngscphcnthiaetktangcakedimephuxkawkhamkhxbekhtkhxngkhnitsastredim bangkhrngkmikarthkethiyngknwakhwrcayxmrbscphcnbangxyanghruxim echn scphcnkareluxk axiom of choice epnscphcnthithukethiyngknmakthisudwakhwrcathuxwaepnkhwamcringdihruxim khwamhmaykhxngsingtang inkhnitsastr echn khwamhmaykhxng hrux khwamhmaykhxngthvsdibthtang xnung thungaemnkkhnitsastrthwipmkmikhxtklngrwmknwapraednkhangtnnnthuxwaepncringodysamysanukxyuaelw aetthwaimmiaenwkhidid rupaebbidthithukkhnyxmrbwadithisud nkkhnitsastraetlakhnkcamikhwamechuxinaetlapraednkhangtnaetktangknip nkkhnitsastrthiodngdnghlaythanechn pwngkaer hrux ekas ksnicinprchyakhnitsastr sungbangthiphllphththangprchyakhnitsastrbangxyangksngphlkrathbthiyingihytxwngkarkhnitsastrodytrng echn emuxekas aelakhnphbwakarlathingscphcnesnkhnannnsamarthkaenidsakhaihmkhxngkhnitsastrkhuxerkhakhnitnxkaebbyukhlididnn nkkhidbangthanepriybwakarkhnphbkhrngnisakhyethiybethathangdarasastraelathvsdiwiwthnakarkhxngchals darwinelythiediyw nkkhnitsastraetktangcaknkwithyasastrhruxwiswkrinpraednhlk trngthiwa nkkhnitsastrswnihyimihkhwamsakhykbkarthdlxngmaknk inkhnathisahrbnkwithyasastrhruxwiswkrnn karthdlxng thuxepneruxngthisakhythisudelythiediyw nxkcaknn phllphthhruxthvsdithangwithyasastrhruxwiswkrrrm mkthuxepnaekhsingthiichpramanhruxiklekhiyngkbkhwamcringethann nkfisiksthimichuxesiyngechn ifnaemn hrux idklawwaeraimmithangsrangthvsdithangwithyasastrthixthibaykhwamcringodysmburnid ephraawamnsbsxnekinip thvsdithangwithyasastrnnthuklmlangidtlxdewla thakhdkbkhxmulphlkarthdlxngthiechuxthuxidmakphx aetsahrbnkkhnitsastraelwaetlathvsdibththuxepnkhwamcringxyangthisudelythiediyw sungkhwamcringthiwanitxngxingkbestkhxngscphcnthinkkhnitsastrichdwy praoykhbangpraoykhthinkkhnitsastrechuxwacring aetimsamarthphisucnwacringhruximcringidnn eriykwa khxkhwamkhadkarn khxkhwamkhadkarnbangxyangkmichuxesiyngmak thungkbepnepahmaychiwitinkarphisucnihepnthvsdibthkhxngnkkhnitsastrbangkhn emuxkhxmphiwetxrerimmibthbathinwngkarwithyasastr kkxekidnkkhnitsastrpraephthihmkhun khux nkkhnitsastraenwthdlxng experimental mathematician sungphyayamichkhxmphiwetxrinkarcalxngaelathdsxbkhwamcringkhxngkhxkhwamkhadkarninhlay rupaebbxangxingMorris Kline Mathematics The Loss of Certainty A Mathematician s Apology by Memoir with foreword by Reprint edition Cambridge University Press 1992 ISBN 0 521 42706 1 First edition 1940 A Mathematician s Apology chbbetminrupaebbiflxielkothrnik A Mathematician s Apology 2017 07 13 thi ewyaebkaemchchin ody the University of Alberta Mathematical Science Society Dunham William Journey Through Genius The Great Theorems of Mathematics John Wiley 1990 Dunham William The Mathematical Universe John Wiley 1994 Eves Howard An Introduction to the History of Mathematics 6th edition The Saunders Series 1990 Kline Morris Mathematics The Loss of Certainty Oxford University Press Reprint edition 1982 Benacerraf Paul and Putnam Hilary eds Philosophy of Mathematics Selected Readings Prentice Hall 1964 duephimkhnitsastr esnewlakhxngkhnitsastraehlngkhxmulxunThe MacTutor History of Mathematics archive miraychuxaelachiwprawtithikhxnkhangkhrbthwnkhxngnkkhnitsastrthimichuxesiyng The Mathematics Genealogy Project which allows to follow the succession of thesis advisors for most mathematicians living or dead