บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
นีลส์ เฮนริก อาเบล (อังกฤษ: Neils Henrik Abel) เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 1802 เสียชีวิต 6 เมษายน ค.ศ. 1829 เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากนั้นบางท่านยกย่องอาเบลว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของสแกนดิเนเวีย อย่างไรก็ตามอาเบลเสียชีวิตด้วยอายุเพียง 26 ปี และเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการคณิตศาสตร์ เคียงคู่ไปกับ เอวารีสต์ กาลัว (เสียชีวิตเมื่ออายุ 20 ปี) , รามานุจัน (เสียชีวิตเมื่ออายุ 33 ปี) และ (เสียชีวิตโดยที่ไม่มีโอกาสได้ทราบว่าตนเองได้รับปริญญากิตติมศักดิ์)
นีลส์ เฮนริก อาเบล Niels Henrik Abel | |
---|---|
นีลส์ เฮนริก อาเบล | |
เกิด | 5 สิงหาคม ค.ศ. 1802 Nedstrand, นอร์เวย์ |
เสียชีวิต | 6 เมษายน ค.ศ. 1829 Froland, นอร์เวย์ | (26 ปี)
สัญชาติ | ชาวนอร์เวย์ |
ศิษย์เก่า | Royal Frederick University |
มีชื่อเสียงจาก | Abelian function Abelian group Abel's theorem |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | คณิตศาสตร์ |
มีอิทธิพลต่อ | Bernt Michael Holmboe |
อาเบลและเพื่อนนักคณิตศาสตร์ร่วมสมัยคือ เกาส์และ มีส่วนร่วมเป็นอย่างสูงในการพัฒนา ซึ่งแตกต่างจากคณิตศาสตร์สมัยเก่าตรงที่มีในทุกทฤษฎีบท
ชีวประวัติโดยย่อ
ครอบครัว
อาเบลเป็นลูกหนึ่งในหกคนของครอบครัวที่ยากจนในนอร์เวย์ ของอาเบลถูกสังเกตเห็นเป็นครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปีโดยอาจารย์ของเขาเมื่ออาเบลสามารถแสดงคำตอบของปัญหาของได้อย่างยอดเยี่ยม ซึ่งช่วงนั้นกล่าวกันว่าอาเบลได้ศึกษางานของนิวตัน ออยเลอร์ และจนเข้าใจละเอียดลึกซึ้ง
อย่างไรก็ตามบิดาของอาเบลซึ่งเป็นแกนหลักของครอบครัวได้เสียชีวิตลงเมื่อ อาเบลมีอายุได้เพียง 18 ปี ในช่วงนี้ครอบครัวของอาเบลได้เงินเลี้ยงดูจุนเจือ จากเพื่อนบ้านและญาติ โดยเฉพาะสำหรับอาเบลนั้นมีศาสตราจารย์หลายคนช่วยสนับสนุนในด้านต่างๆ ทำให้อาเบลสามารถเข้าเรียนที่ได้เมื่อเขาอายุ 19 ปี
ผลงาน
ผลงานทางวิชาการแรกสุดหลายๆ งานของอาเบลเกิดขึ้นเมื่อเขามีอายุได้ 21 ปี ซึ่งในนี้รวมไปถึงปัญหาคลาสสิกอย่าง (tautochrone) ซึ่งอาเบลได้เสนอคำตอบจากการสร้าง (integral equation) ซึ่งเป็นครั้งแรกที่สามารถหาคำตอบในสมการประเภทนี้ได้ และจากผลงานนี้เองที่ส่งผลให้มีการพัฒนาวงการคณิตศาสตร์ในเรื่องสมการปริพันธ์อย่างคึกคักในช่วงปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20
คำตอบในรูปแบบรากของสมการพหุนามอันดับ 5
แต่สำหรับหนึ่งในผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอาเบลเกิดในปีค.ศ. 1824 เมื่อเขาสามารถพิสูจน์ได้ว่าไม่มีคำตอบใน(radical forms) ของสมการกำลัง 5 หรืออันดับ 5 () เหมือนกับอันดับที่ต่ำกว่าคืออันดับ 2 (พบคำตอบใน) อันดับ3 และอันดับ4 (พบคำตอบโดยและลูกศิษย์หลังจากสมัยกรีกประมาณ 2000 ปี) ซึ่งถือได้ว่าอาเบลสามารถแก้ปัญหาทางพีชคณิตที่นักคณิตศาสตร์ชื่อดังอย่างนิวตัน ออยเลอร์ ลากรองช์ และเกาส์รวมถึงท่านอื่นๆ ต่างถกเถียงและพยายามหาคำตอบมา 300 ปีตั้งแต่สมัยของคาร์ดาโนได้สำเร็จ (สำหรับรายละเอียดดู )
วารสารคณิตศาสตร์ของเคร็ลเลอร์ (Crelle)
อาเบลได้รับทุนให้ไปศึกษาและทำวิจัยคณิตศาสตร์ที่แถบยุโรปกลาง โดยในปีแรกอาเบลใช้เวลาเกือบทั้งหมดที่เบอร์ลิน ที่นั่นอาเบลได้มีโอกาสรู้จักกับ Crelle ซึ่งขณะนั้นเป็นนักคณิตศาสตร์สมัครเล่น โดยในเวลาถัดมา Crelle เป็นเพื่อนที่ดีสุดจวบจนสิ้นชีวิตของอาเบล อาเบลเป็นแรงบันดาลใจให้ Crelle ริเริ่ม "Journal für die Reine und Angewandte Mathematik " (ดู Crelle's Journal) ในราวปี ค.ศ. 1826 ซึ่งเป็นวารสารฉบับแรกที่ไม่ใช่ของมหาวิทยาลับลัยและอุทิศเนื้อหาทั้งหมดให้คณิตศาสตร์ล้วนๆ (Simmons, 1991) โดยใน 3 ฉบับแรกนั้นมีบทความของอาเบลทั้งหมด 22 ชิ้น รวมไปถึงบทพิสูจน์เรื่องสมการกำลัง 5 ที่อาเบลได้ตกแต่งให้เข้าใจง่ายขึ้นอีกด้วย นอกจากนั้นยังมีผลงานที่โดดเด่นอื่นๆ ในวารสาร เช่น
- เรื่องซึ่งอาเบลได้ให้บทพิสูจน์เรื่องความถูกต้องในการขยายจากฟังก์ชันในรูป ไปเป็นอนุกรมทวินาม โดยพิสูจน์ในรูปแบบคณิตศาสตร์สมัยใหม่ (พิสูจน์แบบเคร่งครัด) และค้นพบรูปแบบทั่วไปของ (Abel's Test) ซึ่งถือเป็นงานคลาสสิกชิ้นหนึ่งของอาเบล
- เรื่อง(elliptic function) และ hyperelliptic function และกลุ่มของฟังก์ชันชนิดใหม่ที่ต่อมาเรียกว่า (Abelian function) ซึ่งเป็นหัวข้อที่มีการทำวิจัยกันอย่างคึกคักในเวลาต่อมา
ความอาภัพของอาเบล
อาเบลได้ส่งผลงานเรื่องสมการพหุนามไปให้เกาส์ที่ ด้วยความหวังว่ามันจะแทนหนังสือเดินทางไปสู่เกิตติงเกน อย่างไรก็ตามเกาส์ไม่ได้เปิดจดหมายของอาเบลดูเลย จดหมายที่ยังไม่ได้แกะฉบับนี้ถูกพบในบ้านของเกาส์ในอีก 30 ปีถัดมา อาเบลรู้สึกว่าตนถูกดูแคลนจึงเดินทางต่อไปยังปารีสโดยไม่แวะพบเกาส์ และนี่คงเป็นโชคร้ายของวงการคณิตศาสตร์ที่ทั้งสองคนไม่มีโอกาสร่วมงานกัน
ในปี ค.ศ. 1826 อาเบลได้เดินทางไปยังปารีสเป็นเวลา 10 เดือน ที่นั่นอาเบลได้พบกับนักคณิตศาสตร์ชั้นนำของฝรั่งเศส อาทิเช่น และ แม้ว่าอาเบลจะมีผลงานมากมายในวารสารของ Creller ก็ตาม แต่เนื่องจากเหล่านักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศสยังไม่รู้จักวารสารฉบับใหม่นี้นัก พวกเขาจึงไม่สนใจอาเบลมากนัก นอกจากนี้ยังเป็นเพราะว่าอาเบลมีนิสัยขี้อาย ไม่ค่อยชอบพูดคุยผลงานของตนให้ผู้อื่นฟังอีกด้วย
หลังจากเขาเดินทางถึงประเทศฝรั่งเศสไม่นาน เขาก็ทำผลงานชื่อ Memoire sur une Propriete Tenerale d'une Classe Tres Etendue des Fonctions Transcendantes ได้สำเร็จ โดยอาเบลภูมิใจงานนี้มากโดยถือว่าเป็นผลงานชิ้นเอก (masterpiece) ในผลงานนี้มีซึ่งเป็นแก่นฐานของ Abelian integrals และ อาบีเลียนฟังก์ชัน ยกย่องผลงานชิ้นนี้ว่าเป็นการค้นพบที่ยิ่งใหญ่ที่สุดใน (integral calculus) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อาเบลส่งผลงานชิ้นนี้ไปที่ French Academy โดยหวังว่าจะได้รับการยอมรับจากเหล่านักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศส แต่แล้วทุกสิ่งทุกอย่างก็เงียบซึ่งทำให้อาเบลต้องตัดสินใจกลับเบอร์ลิน
จริงๆ แล้วเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในตอนนั้นคือ โคชี่และเลอจองด์ถูกมอบหมายให้เป็นผู้ตรวจสอบผลงานของอาเบล แต่ทว่าโคชี่นำมันกลับไปบ้านและด้วยความที่ขณะนั้นโคชี่กำลังทำงานของเขาอยู่อย่างขะมักเขม้น (formalizing/rigourising แคลคูลัส) ทำให้โคชี่วางงานของอาเบลไว้อย่างไม่สนใจและลืมเรื่องนี้ไปในท้ายที่สุด งานชิ้นนี้ของอาเบลถูกตีพิมพ์เมื่อปีค.ศ. 1841 หลังจากที่เขาเสียชีวิตไปแล้วถึง 15 ปี
หลังจากนั้นไม่นาน อาเบลก็ต้องเดินทางกลับบ้านพร้อมด้วยหนี้สิน โดยอาเบลหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยในบ้านเกิด แต่ก็เป็นอีกครั้งที่เขาต้องผิดหวัง เขาต้องทนทำงานเป็นครูสอนพิเศษ โดยได้รับเชิญไปสอนในมหาวิทยาลัยเป็นบางครั้งเท่านั้น ในปี ค.ศ. 1829 อาเบลเริ่มป่วยหนักด้วยวัณโรค (ใน (Simmons, 1991) บอกว่าเป็นปอดบวม) และอาการก็กำเริบหนักมากในเดือนเมษายนปีเดียวกัน ในที่สุดอาเบลก็เสียชีวิตด้วยวัยเพียง 26 ปี โดยในช่วงเวลาเดียวกันนั้นความพยายามของ Crelle ประสบผลสำเร็จ โดยเขาสามารถหาตำแหน่งอาจารย์คณิตศาสตร์ให้อาเบลได้ที่เบอร์ลิน แต่จดหมายของ Crelle ก็มาถึงช้าไป 2 วัน อาเบลได้จากไปเสียแล้ว
งานทั้งหมดของอาเบลที่ปรากฏในวารสารของ Crelle ได้ถูกนำมาตีพิมพ์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1839 และ ปี ค.ศ. 1881 ศาสตราจารย์คณิตศาสตร์ในมหาวิทยาลัยหลายท่านยังแนะนำให้อ่านงานของอาเบลจวบจนทุกวันนี้ ชื่อของอาเบลปรากฏในศัพท์คณิตศาสตร์หลายแห่งมากมายเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจาก Abel's Test และ อาบีเลียนฟังก์ชันที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังมี
อนุสรณ์
ในปี ค.ศ. 2002, ประเทศนอร์เวย์ได้ตั้งรางวัลอาเบล (Abel Prize) ให้แก่นักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานดีเด่น
วาทะ
ผมคิดว่าใครก็ตามที่ต้องการจะสร้างความก้าวหน้าให้กับวงการคณิตศาสตร์ เขาควรศึกษาจากงานระดับอาจารย์ไม่ใช่ระดับลูกศิษย์
It appears to me that if one wants to make progress in mathematics,
one should study the masters and not the pupil
ในที่นี้คำว่าอาจารย์หมายถึงผู้ที่มีอิทธิพลสูงในการทำให้คณิตศาสตร์ก้าวหน้า โดยสำหรับตัวอาเบลเองเขาศึกษางานของนิวตัน ออยเลอร์ และลากรองช์ จนเข้าใจละเอียดลึกซึ้ง
- เลอจองด์ ได้กล่าวชื่นชมอาเบลว่า
quelle tête celle du jeune Norvégien !
เด็กนอร์เวย์ผู้นี้ มีสมองประเภทไหนกัน?
what a head the young Norwegian has!
- ได้ยกย่องอาเบลในผลงาน Memoire ว่า
อาเบลทำผลงานมากพอที่จะทำให้เหล่านักคณิตศาสตร์รุ่นหลังต้องวุ่นวายไปอีก 500 ปี
Abel has left mathematicians enough to keep them busy for 500 years
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Simmons, G. F, Differential Equations with Applications and Historical Notes, 2nd Edition, McGraw-Hill, (1991)
แหล่งข้อมูลอื่น
- ชีวประวัติในเว็บไซต์ของรางวัลอาเบล
- ชีวประวัติในเว็บ MacTutor
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasmlingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud nils ehnrik xaebl xngkvs Neils Henrik Abel ekidemuxwnthi 5 singhakhm kh s 1802 esiychiwit 6 emsayn kh s 1829 epnnkkhnitsastrchawnxrewy epnhnunginnkkhnitsastrthimiphlnganoddednthisudinkhriststwrrsthi 19 nxkcaknnbangthanykyxngxaeblwaepnnkkhnitsastrthidithisudinprawtisastrkhxngsaekndienewiy xyangirktamxaeblesiychiwitdwyxayuephiyng 26 pi aelaepnhnunginnkkhnitsastrthimichiwitthisudinprawtisastrkhxngwngkarkhnitsastr ekhiyngkhuipkb exwarist kalw esiychiwitemuxxayu 20 pi ramanucn esiychiwitemuxxayu 33 pi aela esiychiwitodythiimmioxkasidthrabwatnexngidrbpriyyakittimskdi nils ehnrik xaebl Niels Henrik Abelnils ehnrik xaeblekid5 singhakhm kh s 1802 1802 08 05 Nedstrand nxrewyesiychiwit6 emsayn kh s 1829 1829 04 06 26 pi Froland nxrewysychatichawnxrewysisyekaRoyal Frederick UniversitymichuxesiyngcakAbelian function Abelian group Abel s theoremxachiphthangwithyasastrsakhakhnitsastrmixiththiphltxBernt Michael Holmboe xaeblaelaephuxnnkkhnitsastrrwmsmykhux ekasaela miswnrwmepnxyangsunginkarphthna sungaetktangcakkhnitsastrsmyekatrngthimiinthukthvsdibthchiwprawtiodyyxkhrxbkhrw xaeblepnlukhnunginhkkhnkhxngkhrxbkhrwthiyakcninnxrewy khxngxaeblthuksngektehnepnkhrngaerkemuxxayu 16 piodyxacarykhxngekhaemuxxaeblsamarthaesdngkhatxbkhxngpyhakhxngidxyangyxdeyiym sungchwngnnklawknwaxaeblidsuksangankhxngniwtn xxyelxr aelacnekhaiclaexiydluksung xyangirktambidakhxngxaeblsungepnaeknhlkkhxngkhrxbkhrwidesiychiwitlngemux xaeblmixayuidephiyng 18 pi inchwngnikhrxbkhrwkhxngxaeblidengineliyngducunecux cakephuxnbanaelayati odyechphaasahrbxaeblnnmisastracaryhlaykhnchwysnbsnunindantang thaihxaeblsamarthekhaeriynthiidemuxekhaxayu 19 pi phlngan smudbnthukkhxngxaebl phlnganthangwichakaraerksudhlay ngankhxngxaeblekidkhunemuxekhamixayuid 21 pi sunginnirwmipthungpyhakhlassikxyang tautochrone sungxaeblidesnxkhatxbcakkarsrang integral equation sungepnkhrngaerkthisamarthhakhatxbinsmkarpraephthniid aelacakphlnganniexngthisngphlihmikarphthnawngkarkhnitsastrineruxngsmkarpriphnthxyangkhukkhkinchwngplaykhxngkhriststwrrsthi 19 aelachwngtnkhxngkhriststwrrsthi 20 khatxbinrupaebbrakkhxngsmkarphhunamxndb 5 aetsahrbhnunginphlnganthiyingihythisudkhxngxaeblekidinpikh s 1824 emuxekhasamarthphisucnidwaimmikhatxbin radical forms khxngsmkarkalng 5 hruxxndb 5 ax5 bx4 cx3 dx2 ex f 0 displaystyle ax 5 bx 4 cx 3 dx 2 ex f 0 ehmuxnkbxndbthitakwakhuxxndb 2 phbkhatxbin xndb3 aelaxndb4 phbkhatxbodyaelaluksisyhlngcaksmykrikpraman 2000 pi sungthuxidwaxaeblsamarthaekpyhathangphichkhnitthinkkhnitsastrchuxdngxyangniwtn xxyelxr lakrxngch aelaekasrwmthungthanxun tangthkethiyngaelaphyayamhakhatxbma 300 pitngaetsmykhxngkhardaonidsaerc sahrbraylaexiyddu warsarkhnitsastrkhxngekhrlelxr Crelle xaeblidrbthunihipsuksaaelathawicykhnitsastrthiaethbyuorpklang odyinpiaerkxaeblichewlaekuxbthnghmdthiebxrlin thinnxaeblidmioxkasruckkb Crelle sungkhnannepnnkkhnitsastrsmkhreln odyinewlathdma Crelle epnephuxnthidisudcwbcnsinchiwitkhxngxaebl xaeblepnaerngbndalicih Crelle rierim Journal fur die Reine und Angewandte Mathematik du Crelle s Journal inrawpi kh s 1826 sungepnwarsarchbbaerkthiimichkhxngmhawithyalblyaelaxuthisenuxhathnghmdihkhnitsastrlwn Simmons 1991 odyin 3 chbbaerknnmibthkhwamkhxngxaeblthnghmd 22 chin rwmipthungbthphisucneruxngsmkarkalng 5 thixaeblidtkaetngihekhaicngaykhunxikdwy nxkcaknnyngmiphlnganthioddednxun inwarsar echn eruxngsungxaeblidihbthphisucneruxngkhwamthuktxnginkarkhyaycakfngkchninrup a b n displaystyle a b n ipepnxnukrmthwinam odyphisucninrupaebbkhnitsastrsmyihm phisucnaebbekhrngkhrd aelakhnphbrupaebbthwipkhxng Abel s Test sungthuxepnngankhlassikchinhnungkhxngxaebl eruxng elliptic function aela hyperelliptic function aelaklumkhxngfngkchnchnidihmthitxmaeriykwa Abelian function sungepnhwkhxthimikarthawicyknxyangkhukkhkinewlatxmakhwamxaphphkhxngxaebl xaeblidsngphlnganeruxngsmkarphhunamipihekasthi dwykhwamhwngwamncaaethnhnngsuxedinthangipsuekittingekn xyangirktamekasimidepidcdhmaykhxngxaeblduely cdhmaythiyngimidaekachbbnithukphbinbankhxngekasinxik 30 pithdma xaeblrusukwatnthukduaekhlncungedinthangtxipyngparisodyimaewaphbekas aelanikhngepnochkhraykhxngwngkarkhnitsastrthithngsxngkhnimmioxkasrwmngankn inpi kh s 1826 xaeblidedinthangipyngparisepnewla 10 eduxn thinnxaeblidphbkbnkkhnitsastrchnnakhxngfrngess xathiechn aela aemwaxaeblcamiphlnganmakmayinwarsarkhxng Creller ktam aetenuxngcakehlankkhnitsastrfrngessyngimruckwarsarchbbihmnink phwkekhacungimsnicxaeblmaknk nxkcakniyngepnephraawaxaeblminisykhixay imkhxychxbphudkhuyphlngankhxngtnihphuxunfngxikdwy hlngcakekhaedinthangthungpraethsfrngessimnan ekhakthaphlnganchux Memoire sur une Propriete Tenerale d une Classe Tres Etendue des Fonctions Transcendantes idsaerc odyxaeblphumiicngannimakodythuxwaepnphlnganchinexk masterpiece inphlngannimisungepnaeknthankhxng Abelian integrals aela xabieliynfngkchn ykyxngphlnganchinniwaepnkarkhnphbthiyingihythisudin integral calculus inkhriststwrrsthi 19 xaeblsngphlnganchinniipthi French Academy odyhwngwacaidrbkaryxmrbcakehlankkhnitsastrfrngess aetaelwthuksingthukxyangkengiybsungthaihxaebltxngtdsinicklbebxrlin cring aelwehtukarnthiekidkhunintxnnnkhux okhchiaelaelxcxngdthukmxbhmayihepnphutrwcsxbphlngankhxngxaebl aetthwaokhchinamnklbipbanaeladwykhwamthikhnannokhchikalngthangankhxngekhaxyuxyangkhamkekhmn formalizing rigourising aekhlkhuls thaihokhchiwangngankhxngxaebliwxyangimsnicaelalumeruxngniipinthaythisud nganchinnikhxngxaeblthuktiphimphemuxpikh s 1841 hlngcakthiekhaesiychiwitipaelwthung 15 pi hlngcaknnimnan xaeblktxngedinthangklbbanphrxmdwyhnisin odyxaeblhwngepnxyangyingwacamitaaehnngxacarythimhawithyalyinbanekid aetkepnxikkhrngthiekhatxngphidhwng ekhatxngthnthanganepnkhrusxnphiess odyidrbechiyipsxninmhawithyalyepnbangkhrngethann inpi kh s 1829 xaeblerimpwyhnkdwywnorkh in Simmons 1991 bxkwaepnpxdbwm aelaxakarkkaeribhnkmakineduxnemsaynpiediywkn inthisudxaeblkesiychiwitdwywyephiyng 26 pi odyinchwngewlaediywknnnkhwamphyayamkhxng Crelle prasbphlsaerc odyekhasamarthhataaehnngxacarykhnitsastrihxaeblidthiebxrlin aetcdhmaykhxng Crelle kmathungchaip 2 wn xaeblidcakipesiyaelw nganthnghmdkhxngxaeblthipraktinwarsarkhxng Crelle idthuknamatiphimphxikkhrnginpi kh s 1839 aela pi kh s 1881 sastracarykhnitsastrinmhawithyalyhlaythanyngaenanaihxanngankhxngxaeblcwbcnthukwnni chuxkhxngxaeblpraktinsphthkhnitsastrhlayaehngmakmayephuxepnekiyrtiaekekha nxkcak Abel s Test aela xabieliynfngkchnthiidklawipaelw yngmixnusrninpi kh s 2002 praethsnxrewyidtngrangwlxaebl Abel Prize ihaeknkkhnitsastrthimiphlngandiednwathaphmkhidwaikhrktamthitxngkarcasrangkhwamkawhnaihkbwngkarkhnitsastr ekhakhwrsuksacaknganradbxacaryimichradbluksisy It appears to me that if one wants to make progress in mathematics one should study the masters and not the pupil inthinikhawaxacaryhmaythungphuthimixiththiphlsunginkarthaihkhnitsastrkawhna odysahrbtwxaeblexngekhasuksangankhxngniwtn xxyelxr aelalakrxngch cnekhaiclaexiydluksung elxcxngd idklawchunchmxaeblwaquelle tete celle du jeune Norvegien edknxrewyphuni mismxngpraephthihnkn what a head the young Norwegian has idykyxngxaeblinphlngan Memoire waxaeblthaphlnganmakphxthicathaihehlankkhnitsastrrunhlngtxngwunwayipxik 500 pi Abel has left mathematicians enough to keep them busy for 500 yearsduephimnkkhnitsastr esnewlakhxngkhnitsastrxangxingSimmons G F Differential Equations with Applications and Historical Notes 2nd Edition McGraw Hill 1991 aehlngkhxmulxunchiwprawtiinewbistkhxngrangwlxaebl chiwprawtiinewb MacTutor