ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ในวิชาคณิตศาสตร์ ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด (อังกฤษ: Euclidean Algorithm)[a] หรือขั้นตอนวิธีของยุคลิด เป็นวิธีคำนวณตัวหารร่วมมาก (หรม.) ของจำนวนเต็มสองจำนวน ตั้งชื่อตามยุคลิด นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกผู้อธิบายทฤษฎีนี้ในเล่ม VII และ X
ตัวหารร่วมมากของจำนวนเต็มสองจำนวนคือจำนวนเต็มมากที่สุดที่หารทั้งสองจำนวนนั้นได้โดยไม่เหลือ
ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดเริ่มต้นด้วยจำนวนเต็มบวกคู่หนึ่ง แล้วสร้างจำนวนคู่ใหม่ประกอบด้วยจำนวนที่น้อยกว่าและผลต่างระหว่างจำนวนทั้งสอง จากนั้นทำซ้ำจนจำนวนทั้งสองเท่ากัน จำนวนในขั้นตอนสุดท้ายเป็นตัวหารร่วมมากของจำนวนเต็มบวกเริ่มต้น
หลักการสำคัญคือ หรม. ไม่เปลี่ยนค่าถ้านำจำนวนที่น้อยกว่าลบจำนวนที่มากกว่า เช่น หรม. ของ 252 และ 105 เท่ากับ หรม. ของ 147 (= 252 − 105) และ 105 จำนวนที่มากกว่าถูกลดลดค่าลงเสมอ ทำให้การทำวิธีนี้ซ้ำได้จำนวนที่เล็กลง การซ้ำนี้จึงจบอย่างแน่นอนเมื่อทั้งสองจำนวนมีค่าเท่ากัน (ถ้าทำอีกหนึ่งครั้ง จำนวนใดจำนวนหนึ่งจะเป็น 0)
หลักฐานเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดพบในหนังสือ Elements ของยุคลิด (ในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล) ทำให้เป็นขั้นตอนวิธีเก่าแก่ที่สุดเกี่ยวกับจำนวนที่ยังใช้โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธีฉบับดังเดิมใช้สำหรับจำนวนธรรมชาติและความยาวเชิงเรขาคณิต (จำนวนจริง) แต่นักคณิตศาสตร์ได้ขยายการใช้งานไปยังจำนวนชนิดอื่น เช่น และพหุนามหนึ่งตัวแปร อันนำไปสู่แนวคิดเชิงพีชคณิตนามธรรมสมัยใหม่ เช่น ซึ่งเป็นริงที่สามารถทำขั้นตอนวิธีของยุคลิดได้
ขั้นตอนวิธีของยุคลิดมีการประยุกต์ใช้ในทางทฤษฎีและปฏิบัติ อาจใช้ก่อกำเนิดจังหวะดนตรีที่สำคัญหลายรูปแบบที่พบในวัฒนธรรมต่างๆ ทั่วโลก ขั้นตอนวิธีนี้เป็นส่วนประกอบสำคัญของการเข้ารหัสอาร์เอสเอ (การเข้ารหัสลับแบบกุญแจอสมมาตรที่ใช้ทั่วไปในการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดใช้แก้แบบรูปแบบ เช่นการหาจำนวนที่สอดคล้องกับสมภาคหลายชุด () หรือตัวผกผันการคูณในฟิลด์จำกัด, ใช้สร้างเศษส่วนต่อเนื่อง, ใช้หาจำนวนรากจริงของพหุนามโดยวิธี และในขั้นตอนวิธีสมัยใหม่ และที่สำคัญ ขั้นตอนวิธีของยุคลิดเป็นเครื่องมือสำหรับพิสูจน์ทฤษฎีบทในทฤษฎีจำนวน เช่น ทฤษฎีบทผลรวมกำลังสองของลากรองจ์และทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต
ถ้าปรับปรุงขั้นตอนวิธีให้ใช้เศษหารจากวิธีหารแบบยุคลิดแทนที่จะเป็นการลบ ขั้นตอนวิธีของยุคลิดคำนวณค่าตัวหารร่วมมากของจำนวนขนาดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ขั้นตอนวิธีการหารเป็นจำนวนครั้งไม่เกินห้าเท่าของจำนวนหลักของจำนวนขนาดเล็กกว่า (ในฐานสิบ) ขั้นตอนวิธีแบบปรับปรุงนี้พิสูจน์ได้โดย เมื่อปี ค.ศ. 1844 นับเป็นจุดริเริ่มการศึกษาทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ และในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการพัฒนาวิธีเพิ่มประสิทธิภาพในรูปแบบอื่นเพิ่มขึ้นมา
เมื่อ ตัวหารร่วมมากสามารถเขียนในรูปผลรวมเชิงเส้นของสองจำนวนที่นำมาดำเนินการ โดยที่แต่ละจำนวนคูณกับจำนวนเต็ม เช่น ตัวหารร่วมมากของ 252 และ 105 คือ 21 และ 21 = [5 × 105] + [(−2) × 252] สมบัตินี้เรียกว่าเอกลักษณ์ของเบซู
พื้นฐาน — ตัวหารร่วมมาก
ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดคำนวณค่าตัวหารร่วมมาก (หรม.) ของจำนวนธรรมชาติสองจำนวน a และ b ค่าตัวหารร่วมมาก g เป็นจำนวนธรรมชาติค่ามากสุดที่หารทั้ง a และ b ลงตัว คำที่มีความหมายเหมือนกับ หรม. ได้แก่ ตัวประกอบร่วมค่ามากสุด (อังกฤษ: greatest common factor, GCF), ตัวประกอบร่วมค่ามากสุด (อังกฤษ: highest common factor, HCF) และ greatest common measure (GCM) ตัวหารร่วมมากมักเขียนแทนด้วย gcd(a, b) หรือ (a, b), แม้ว่าสัญลักษณ์แบบหลังใช้สำหรับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์อีกหลายอย่าง เช่น สองมิติ
ถ้า gcd(a, b) = 1 แล้ว a กับ b เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ ความเป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ไม่ได้บ่งบอกว่า a หรือ b เป็นจำนวนเฉพาะเองแต่อย่างใด เช่น 6 และ 35 ต่างไม่ใช่จำนวนเฉพาะ เพราะต่างมีตัวประกอบเฉพาะจำนวนละสองตัว: 6 = 2 × 3 and 35 = 5 × 7 อย่างไรก็ตาม 6 และ 35 เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ ไม่มีจำนวนธรรมชาตินอกเหนือจาก 1 หารทั้ง 6 และ 35 ลงตัว เพราะไม่มีตัวประกอบเฉพาะร่วมกัน
ให้ g = gcd(a, b) จากการที่ a และ b เป็นพหุคูณของ g สามารถเขียนในรูป a = mg และ b = ng และไม่มีจำนวนเต็ม G ที่มากกว่า g ที่ทำให้ข้อความดังกล่าวเป็นจริง m และ n ต้องเป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ เพราะหากมีตัวประกอบร่วมของ m และ n จะทำให้ g มีค่ามากขึ้น ดังนั้นจำนวนเต็ม c ใด ๆ ที่หาร a และ b ลงตัว จะต้องหาร g ลงตัวด้วย ตัวหารร่วมมาก g ของ a และ b คือตัวหารร่วมบวกเพียงหนึ่งตัวของ a และ b ที่หารด้วยตัวหารร่วมอื่น c ลงตัว
ตัวหารร่วมมากสามารถอธิบายได้ด้วยการสมมติสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง a ยาว b และตัวหารร่วม c ที่หาร a และ b ลงตัว ด้านของสี่เหลี่ยมสามารถแบ่งเป็นส่วนย่อยยาว c ซึ่งแบ่งสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อยยาวด้านละ c โดยตัวหารร่วมมาก g คือค่าที่มากที่สุดที่เป็นไปได้ของ c ตัวอย่างดังภาพคือสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 24 ยาว 60 สามารถแบ่งได้เป็นตารางของสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1 1, สี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 2, สี่เหลี่ยมจัตุรัส 3 3, สี่เหลี่ยมจัตุรัส 4 4, สี่เหลี่ยมจัตุรัส 66 หรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส 12 12 ดังนั้น 12 คือตัวหารร่วมมากของ 24 และ 60 โดยสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 24 ยาว 60 สามารถแบ่งเป็นตารางของสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 12 ที่มีสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 รูปติดด้านกว้าง (24/12 = 2) และสี่เหลี่ยมจัตุรัส 5 รูปติดด้านยาว (60/12 = 5)
ตัวหารร่วมมากของสองจำนวน a และ b คือผลคูณของตัวประกอบเฉพาะที่สองจำนวนนี้มีร่วมกัน โดยตัวประกอบเฉพาะหนึ่งค่าสามารถนำมาคูณได้หลายรอบ ตราบที่ผลคูณของตัวประกอบเหล่านี้หาร a และ b ลงตัว ตัวอย่างเช่น 1386 แยกตัวประกอบได้เป็น 2 3 3 7 11 และ 3213 แยกตัวประกอบได้เป็น 3 3 3 7 17 ตัวหารร่วมมากของ 1386 และ 3213 จึงเท่ากับ 63 = 3 3 7 ซึ่งก็คือผลคูณของตัวประกอบเฉพาะร่วม ถ้าสองจำนวนไม่มีตัวประกอบเฉพาะร่วมกัน ตัวหารร่วมมากคือ 1 (เท่ากับค่าผลคูณว่าง) หรือก็คือทั้งสองจำนวนนั้นเป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ ข้อได้เปรียบของขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดคือสามารถหาค่าตัวหารร่วมมากโดยไม่ต้องหาตัวประกอบเฉพาะร่วม
หรม. ของสามจำนวนขึ้นไปมีค่าเท่ากับผลคูณของตัวประกอบเฉพาะของจำนวนเหล่านั้น แต่ก็สามารถหาได้จากการหา หรม. ของแต่ละคู่จำนวน
- gcd(a, b, c) = gcd(a, gcd(b, c)) = gcd(gcd(a, b), c) = gcd(gcd(a, c), b)
ดังนั้นขั้นตอนวิธีแบบยูคลิดที่หาหรม.ของสองจำนวนจะสามารถหาหรม.ของหลายจำนวนได้ด้วยเช่นกัน
คำอธิบาย
กระบวนการ
ขั้นตอนวิธีแบบยูคลิดดำเนินเป็นขั้นตอน โดยผลลัพธ์ในแต่ละขั้นตอนจะถูกใช้ในขั้นตอนต่อไป ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่นับจำนวนขั้นตอนในวิธีการยูคลิด เริ่มจากศูนย์ ดังนั้นในขั้นตอนที่หนึ่งมีค่า k = 0 ขั้นตอนที่สองมีค่า k = 1 เป็นแบบนี้ไปเรื่อย ๆ
แต่ละขั้นตอนเริ่มด้วยเศษสองจำนวนที่มีค่าไม่เป็นลบ rk−1 และ rk−2 เนื่องจากวิธีการนี้จะทำให้เศษมีค่าลดลงในทุกขั้นตอนเสมอ rk−1 มีค่าน้อยกว่าเศษตัวก่อน rk−2 เป้าหมายของขั้นตอนที่ k คือหาผลหาร qk และเศษ rk ที่สอดคล้องกับสมการ
จะได้ว่า 0 ≤ rk < rk−1 กล่าวได้ว่า จำนวนที่มากกว่า rk−2 ถูกลบด้วยพหุคูณของจำนวนที่น้อยกว่า rk−1 จนกว่าเศษ rk จะมีค่าน้อยกว่า rk−1
ในขั้นแรก (k = 0) เศษ r−2 และ r−1 มีค่าเท่ากับ a และ b ตามลำดับ ในขั้นต่อมา (k = 1) เศษมีค่าเท่ากับ b และเศษ r0 ของขั้นแรก ทำแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ ขั้นตอนวิธีดังกล่าวเขียนออกมาในรูปแบบลำดับของสมการได้ว่า
ถ้า a มีค่าน้อยกว่า b ให้สลับตัวเลขในขั้นแรก ตัวอย่างคือ ถ้า a < b ผลหารในขั้นแรก q0 จะมีค่าเท่ากับศูนย์ และเศษ r0 มีค่าเท่ากับ a ดังนั้น rk จะมีค่าน้อยกว่า rk−1 สำหรับทุก k ≥ 0
เพราะเศษมีค่าลดลงในทุกขั้นตอน แต่ไม่สามารถเป็นมีค่าเป็นลบ เศษ rN จึงจะต้องเท่ากับศูนย์ในสักขั้นตอน
การพิสูจน์ความถูกต้อง
ความถูกต้องของขั้นตอนวิธีแบบยูคลิดสามารถพิสูจน์ได้โดยสองขั้นตอน ในขั้นตอนแรก เห็นได้ว่าเศษตัวสุดท้ายที่ไม่เท่ากับศูนย์ rN−1 จะหารทั้ง a และ b ลงตัว เพราะมันเป็นตัวหารร่วม จึงมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวหารร่วมมาก g และในขั้นตอนที่สอง เห็นได้ว่าตัวหารร่วมใด ๆ ของ a และ b (รวมถึงตัวหารร่วมมาก g ด้วย) ต้องหาร rN−1 ลงตัว ดังนั้น g ต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ rN−1 ข้อสรุปสองอันนี้ไม่แน่นอน เว้นแต่ rN−1 = g
เพื่อแสดงให้เห็นว่า rN−1 หารทั้ง a และ b ลงตัว (ขั้นแรก) และ rN−1 หาร rN−2 ลงตัว
- rN−2 = qNrN−1
เพราะเศษตัวสุดท้าย rN คือศูนย์ ทำให้ rN−1 หาร rN−3 ลงตัวด้วย
- rN−3 = qN−1rN−2 + rN−1
- g = gcd(a, b) = gcd(b, r0) = gcd(r0, r1) = … = gcd(rN−2, rN−1) = rN−1.
ตัวอย่างการใช้งาน
เพื่อให้เห็นภาพ ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดสามารถนำมาใช้หาตัวหารร่วมมากของ a = 1071 และ b = 462 ได้ เริ่มต้นด้วย นำ 1071 เป็นตัวตั้ง ลบกับตัวคูณของ 462 จนกว่าเศษจะน้อยกว่า 462 ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้ว การคูณด้วย 2 นั้นสามารถนำมาใช้ในการลบออกได้ (q0 = 2) โดยมีเศษคือ 147
- 1071 = 2 × 462 + 147.
ต่อมา ตัวคูณของ 147 จะถูกลบออกจาก 462 จนกว่าเศษจะมีค่าน้อยกว่า 147 เมื่อพิจารณาแล้ว การคูณด้วย 3 นั้นสามารถนำมาใช้ในการลบออกได้
- 462 = 3 × 147 + 21.
ต่อมา ตัวคูณของ 21 จะถูกลบออกจาก 147 จนกว่าเศษจะมีค่าน้อยกว่า 21 ซึ่งการคูณด้วย 7 นั้นสามารถนำมาใช้ในการลบออกได้ (q2 = 7) ไม่เหลือเศษแล้ว
- 147 = 7 × 21 + 0.
ขั้นที่ k | สมการ | ผลหาร (q) และเศษเหลือ (r) |
---|---|---|
0 | 1071 = q0 462 + r0 | q0 = 2 และ r0 = 147 |
1 | 462 = q1 147 + r1 | q1 = 3 และ r1 = 21 |
2 | 147 = q2 21 + r2 | q2 = 7 และ r2 = 0; อัลกอริทึมจบลง |
การอธิบายเป็นภาพ
เราสามารถทำขั้นตอนวิธีแบบยูคลิดให้เห็นภาพได้ โดยใช้วิธีคล้ายกับการปูกระเบื้องในการหาตัวหารร่วมมาก สมมุติว่าเราต้องการปูพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด โดยใช้กระเบื้องสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยที่ a เป็นค่าที่มีค่ามากกว่าอีกจำนวน เริ่มแรก เราจะปูโดยใช้กระเบื้องสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด แต่ว่า กลับเหลือพื้นที่ที่ปูไม่ได้ มีขนาดเป็น โดยที่ เราก็เลยเปลี่ยนไปใช้กระเบื้องสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด แทน แต่ก็ยังปูพื้นที่ได้ไม่ครบอีก เหลือพื้นที่เป็น เราก็เลยเปลี่ยนไปใช้กระเบื้องขนาด แทน ทำแบบนี้ซ้ำไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งไม่เหลือพื้นที่ที่ยังไม่ได้ปู นั่นคือ เมื่อกระเบื้องสี่เหลียมจัตุรัสสามารถปูพื้นที่ที่ยังไม่ได้ปูในขั้นที่แล้วได้ทั้งหมด โดยความยาวของด้านของสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่เล็กที่สุดก็คือตัว ห.ร.ม. ของขนาดของสี่เหลี่ยมรูปต้นแบบนั่นเอง เช่น กระเบื้องสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเล็กที่สุดในรูปคือ (ในรูปแสดงโดยใช้สีแดง) และ 21 เป็นตัวหารร่วมมากของ 1071 และ 462 ซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมต้นฉบับ (แสดงโดยใช้สีเขียว)
การหารแบบยูคลิด
ในทุกขั้นตอน k ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดคำนวณผลหาร qk และเศษ rk จากตัวเลขสองตัว rk−1 และ rk−2
- rk−2 = qkrk−1 + rk
โดยที่ rk เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ และมีค่าน้อยกว่าค่าสัมบูรณ์ของ rk−1 โดยมีทฤษฏีที่รับรองว่าขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดจะมีผลหารและเศษเสมอ
ในขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดแบบดั้งเดิม ผลหารและเศษหาได้จากการลบซ้ำ ๆ นั่นคือ
- rk = rk−2 mod rk−1.
การนำไปใช้งาน
การนำไปใช้งานของขั้นตอนวิธีแบบยูคลิดจะถูกเขียนในรูปแบบโค้ดเทียม
function gcd(a, b) while b ≠ 0 t := b b := a mod b a := t return a
function gcd(a, b) while a ≠ b if a > b a := a − b else b := b − a return a
ในรูปแบบเรียกซ้ำ จะขึ้นอยู่กับความเท่ากันของตัวหารร่วมมากของเศษเหลือต่อเนื่อง โดยมีเงื่อนไขการหยุดคือ gcd(rN−1, 0) = rN−1
function gcd(a, b) if b = 0 return a else return gcd(b, a mod b)
(หากค่าที่รับมาเป็นลบ หรือฟังก์ชัน mod อาจให้ค่าที่ติดลบ ต้องเปลี่ยน "return a" เป็น "return max(a, −a)")
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดเป็นหนึ่งในขั้นตอนวิธีที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งปรากฏในจำนวนจริง แต่ในอดีต ความยาว พื้นที่ และปริมาตร ซึ่งนับว่าเป็นจำนวนจริงในปัจจุบัน ไม่ได้ถูกวัดด้วยหน่วยเดียวกันและไม่ได้มีหน่วยธรรมชาติเป็นของตนเอง อาจกล่าวได้ว่าแนวคิดเกี่ยวกับจำนวนจริงไม่เป็นที่รู้จักในขณะนั้น) ขั้นตอนวิธีถัดมานั้นเกี่ยวกับเรขาคณิต ห. ร. ม. ของความยาว a และ b สอดคล้องกับความยาวที่มากที่สุด g ซึ่งวัด a และ b กล่าวคือ ความยาว a และ b ทั้งคู่ต่างก็เป็นพหุคูณของความยาว g
(300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) โดยเฉพาะในหนังสือเล่มที่ 7 (ประพจน์ที่ 1-2) และในหนังสือเล่มที่ 10 (ประพจน์ที่ 2-3) ในหนังสือเล่มที่ 7 ขั้นตอนวิธีถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้กับจำนวนเต็ม แต่ในหนังสือเล่มที่ 10 ได้นำไปใช้กับความยาวส่วนของเส้นตรง (ในการใช้สมัยใหม่นี้ อาจพูดได้ว่ามันถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้กับขั้นตอนวิธีนี้อาจไม่ได้ถูกคิดค้นโดยยุคลิด ผู้ซึ่งรวบรวมผลลัพธ์จากนักคณิตศาสตร์ในหนังสือ เอเลเมนส์ ของเขา นักคณิตศาสตร์และประวัติศาสตร์ ได้เสนอแนะว่า เนื้อหาในหนังสือเล่มที่ 7 ได้รับมาจากตำราเรียนเกี่ยวกับทฤษฎีจำนวน ซึ่งเขียนโดยนักคณิตศาสตร์ในโรงเรียนของพีทาโกรัส ขั้นตอนวิธีอาจเป็นที่รู้จักจาก (ราว 375 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ขั้นตอนวิธีนี้อาจเกิดขึ้นก่อน Eudoxus พิจารณาจากการใช้ศัพท์เฉพาะ ἀνθυφαίρεσις (anthyphairesis หรือการลบส่วนกลับ) ในงานของยุคลิดและแอริสตอเติล
หลายศตวรรษต่อมา ขั้นตอนวิธีของยุคลิดถูกค้นพบทั้งในประเทศอินเดียและจีน โดยแรกเริ่มเพื่อแก้ปัญหาอารยภัฏ ได้อธิบายขั้นตอนวิธีว่าเป็น "เครื่องบด" ซึ่งอาจมาจากประสิทธิภาพของมันในการแก้ปัญหาสมการไดโอแฟนไทน์ ถึงแม้ว่ากรณีพิเศษของ จะถูกอธิบายในหนังสือจีนชื่อ โดยผลเฉลยทั่วไปถูกเผยแพร่โดย ในหนังสือของเขาชื่อ Shushu Jiuzhang (數書九章 ) ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดถูกอธิบายในเชิงตัวเลขครั้งแรกและเป็นที่รู้จักอย่างมากในยุโรปในหนังสือ Problèmes plaisants et délectables ฉบับที่ 2 ของ (Pleasant and enjoyable problems, 1624) ในยุโรป ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดถูกใช้เพื่อแก้ปัญหาสมการไดโอแฟนไทน์และใช้เพื่อพัฒนาเศษส่วนต่อเนื่อง ถูกตีพิมพ์โดยนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ ซึ่งเชื่อว่ามันเกิดมาจาก เพื่อเป็นวิธีสำหรับคำนวณเศษส่วนต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
ซึ่งเกิดขึ้นในดาราศาสตร์และทำให้สามารถสร้างปฏิทินที่แม่นยำ ในช่วงท้ายศตวรรษที่ 5 นักคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ชาวอินเดียในศตวรรษที่ 19 ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดนำไปสู่การพัฒนาระบบจำนวนแบบใหม่ เช่น คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ได้ใช้ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดในการสาธิตการแยกตัวประกอบได้อย่างเดียวใน ถึงแม้ผลงานของเขาจะได้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1832 ก็ตาม เกาส์ได้พูดถึงขั้นตอนวิธีในหนังสือ ของเขา (ถูกตีพิมพ์ในปี 1801) แต่ใช้เป็นเพียงวิธีสำหรับเศษส่วนต่อเนื่อง เป็นคนแรกที่อธิบายขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดเพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับทฤษฏีจำนวนอื่น ๆ Lejeune Dirichlet ได้ระบุว่าผลลัพธ์ของทฤษฎีจำนวนหลายอัน เช่น การแยกตัวประกอบได้อย่างเดียว (Unique factorization) จะเป็นจริงสำหรับระบบจำนวนใด ๆ ที่สามารถใช้ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดได้ การบรรยายของ Lejeune Dirichlet ในหัวข้อทฤษฎีจำนวนถูกแก้ไขและต่อเติมโดย ผู้ใช้ขั้นตอนวิธีของยุคลิดในการศึกษาจำนวนเชิงพีชคณิต ซึ่งเป็นรูปแบบจำนวนแบบใหม่ ตัวอย่างเช่น Dedekind เป็นคนแรกที่พิสูจน์ โดยใช้การแยกตัวประกอบได้อย่างเดียวของจำนวนเต็มเกาส์เซียน Dedekind ยังนิยามแนวคิดของ หรือระบบจำนวนซึ่งสามารถนิยามขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดฉบับทั่วไป (ดังที่อธิบายด้านล่าง) ในทศวรรษปลายของศตวรรษที่ 19 ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดค่อย ๆ ถูกลดความสำคัญลงโดยทฤษฎี ของ dedekind ซึ่งมีความทั่วไปมากขึ้น
และ ในปี 1815 "ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด นับเป็นคุณปู่ของขั้นตอนวิธีทั้งหมด เพราะ มันเป็นขั้นตอนวิธีไม่ชัดแจ้งที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน" |
โดนัลด์ คนูธ, The Art of Computer Programming, เล่มที่ 2: Seminumerical Algorithms, พิมพ์ครั้งที่ 2 (1981), 318. |
การประยุกต์ใช้อื่น ๆ ของขั้นตอนวิธีของยุคลิดถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 ในปี 1829
ได้แสดงว่าขั้นตอนวิธีนั้นเป็นประโยชน์ในวิธี ซึ่งใช้สำหรับการนับรากที่แท้จริงของพหุนามในช่วงที่สนใจขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดเป็น
ซึ่งคือวิธีที่ใช้ในการหาความสัมพันธ์ของจำนวนเต็มในจำนวนจริงเทียบเท่า ใหม่หลายอันได้ถูกพัฒนาขึ้น เช่น ขั้นตอนวิธีของ และ R.W. Forcade (1979) และในปี 1969 Cole และ Davie ได้พัฒนาเกมผู้เล่นสองคนโดยมีพื้นฐานจากขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด ชื่อว่า The Game of Euclid ซึ่งมีกลยุทธ์ที่ดีที่สุด ผู้เล่นจะเริ่มต้นจากกองหินซึ่งมี a และ b ก้อน เมื่อถึงตาของผู้เล่นแล้วจะทำการนำหินออกจากกองที่มีจำนวนมากกว่าเป็นจำนวนเท่ากับพหุคูณ m ของจำนวนหินในกองที่น้อยกว่า ดังนั้น ถ้าทั้งสองกองมีหิน x และ y ก้อนตามลำดับ เมื่อ x มากกว่า y ผู้เล่นคนต่อไปสามารถนำหินออกจากกองที่มีจำนวนหินมากกว่า ทำให้จำนวนหินลดจาก x ก้อนเหลือ x - my ก้อน ตราบเท่าที่ยังคงเป็นจำนวนเต็มที่ไม่ติดลบ ผู้ชนะคือผู้เล่นคนแรกที่ทำให้กองใดกองหนึ่งของตนเองเหลือหินเท่ากับ 0
การประยุกต์ใช้ทางคณิตศาสตร์
เอกลักษณ์ของเบซู
เอกลักษณ์ของเบซูระบุว่าตัวหารร่วมมาก g ของจำนวนนับสองจำนวน a และ b สามารถเขียนเป็นผลรวมเชิงเส้นของจำนวนนับ a และ b ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ สามารถหาจำนวนนับ s และ t ที่ทำให้ g = sa + tb ได้เสมอ
จำนวนนับ s และ t สามารถคำนวณได้จากผลหาร q0, q1, ... โดยการย้อนกลับลำดับของสมการในอัลกอริธึมของยุคลิด โดยเริ่มต้นจากสมการรองสุดท้าย ซึ่งสามารถเขียน g ในรูปของผลหาร qN−1 และเศษที่เหลือสองตัวก่อนหน้า rN−2 และ rN−3 ได้ดังนี้
- g = rN−1 = rN−3 − qN−1rN−2 .
เศษที่เหลือทั้งสองนั้นสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของผลหารและเศษที่เหลือก่อนหน้าได้เช่นกัน
- rN−2 = rN−4 − qN−2rN−3 และ
- rN−3 = rN−5 − qN−3rN−4 .
เมื่อแทนค่า rN−2 และ rN−3 ลงในสมการแรก จะได้ g เป็นผลรวมเชิงเส้นของเศษเหลือ rN−4 และ rN−5 การแทนที่สมการที่เหลือด้วยเศษที่เหลือก่อนหน้าสามารถทำต่อไปได้เรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงจำนวนนับเดิม a และ b
- r2 = r0 − q2r1
- r1 = b − q1r0
- r0 = a − q0b.
หลังจากแทนที่ส่วนที่เหลือทั้งหมด r0, r1, ... สมการสุดท้ายจะแสดงให้เห็นว่า g เป็นผลรวมเชิงเส้นของ a และ b คือ g = sa + tb จากเอกลักษณ์ของเบซู อัลกอริธึมข้างต้นจึงสามารถเขียนในรูปทั่วไปของ
ได้หมายเหตุ
- ก. ^ ตำราบางเล่มที่ใช้โดยทั่วไป เช่น Topics in Algebra ของ และ Algebra ของ ใช้คำว่า "Euclidean algorithm" หมายถึงวิธีหารแบบยุคลิด
อ้างอิง
- , The Thirteen Books of Euclid's Elements, 2nd ed. [Facsimile. Original publication: Cambridge University Press, 1925], 1956,
- http://cgm.cs.mcgill.ca/~godfried/publications/banff.pdf
- Stark 1978, p. 16
- Stark 1978, p. 21
- LeVeque 1996, p. 32
- (1983). "A Visual Euclidean Algorithm". Mathematics Teacher. 76: 108–109.
- Stillwell 1997, p. 14
- Knuth 1997, p. 318
- (1983). Number Theory. Boston: Birkhäuser. pp. 4–6. ISBN .
- Jones, A. (1994). "Greek mathematics to AD 300". Companion encyclopedia of the history and philosophy of the mathematical sciences. New York: Routledge. pp. 46–48. ISBN .
- (1954). Science Awakening. translated by Arnold Dresden. Groningen: P. Noordhoff Ltd. pp. 114–115.
- von Fritz, K. (1945). "The Discovery of Incommensurability by Hippasus of Metapontum". Annals of Mathematics. 46 (2): 242–264. doi:10.2307/1969021. JSTOR 1969021.
- (1949). Mathematics in Aristotle. Oxford Press. pp. 80–83.
- (1987). The Mathematics of Plato's Academy: A New Reconstruction. Oxford: Oxford University Press. pp. 31–66. ISBN .
- Becker, O. (1933). "Eudoxus-Studien I. Eine voreuklidische Proportionslehre und ihre Spuren bei Aristoteles und Euklid". Quellen und Studien zur Geschichte der Mathematik B. 2: 311–333.
- Stillwell 1997, p. 31
- Tattersall 2005, p. 70
- Rosen 2000, pp. 86–87
- Tattersall 2005, pp. 72, 184–185
- Saunderson, Nicholas (1740). The Elements of Algebra in Ten Books. University of Cambridge Press. สืบค้นเมื่อ 1 November 2016.
- Tattersall 2005, pp. 72–76
- (1832). "Theoria residuorum biquadraticorum". Comm. Soc. Reg. Sci. Gött. Rec. 4. Reprinted in Gauss, C. F. (2011). "Theoria residuorum biquadraticorum commentatio prima". Werke. Vol. 2. Cambridge Univ. Press. pp. 65–92. doi:10.1017/CBO9781139058230.004. ISBN . and Gauss, C. F. (2011). "Theoria residuorum biquadraticorum commentatio secunda". Werke. Vol. 2. Cambridge Univ. Press. pp. 93–148. doi:10.1017/CBO9781139058230.005. ISBN .
- Stillwell 1997, pp. 31–32
- Lejeune Dirichlet 1894, pp. 29–31
- in Lejeune Dirichlet 1894, Supplement XI
- Stillwell 2003, pp. 41–42
- (1829). "Mémoire sur la résolution des équations numériques". Bull. Des sciences de Férussac (ภาษาฝรั่งเศส). 11: 419–422.
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Integer Relation" จากแมทเวิลด์.
- Peterson, I. (12 August 2002). "Jazzing Up Euclid's Algorithm". ScienceNews.
- (16 พฤษภาคม 2000). (PDF). SIAM News. . 33 (4). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 22 กันยายน 2016. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2016.
- Cole, A. J.; Davie, A. J. T. (1969). "A game based on the Euclidean algorithm and a winning strategy for it". Math. Gaz. 53 (386): 354–357. doi:10.2307/3612461. JSTOR 3612461. S2CID 125164797.
- Spitznagel, E. L. (1973). "Properties of a game based on Euclid's algorithm". Math. Mag. 46 (2): 87–92. doi:10.2307/2689037. JSTOR 2689037.
- Rosen 2000, p. 95
- Roberts, J. (1977). Elementary Number Theory: A Problem Oriented Approach. Cambridge, MA: . pp. 1–8. ISBN .
- Jones, G. A.; Jones, J. M. (1998). "Bezout's Identity". Elementary Number Theory. New York: Springer-Verlag. pp. 7–11.
- Rosen 2000, p. 81
- Cohn 1962, p. 104
- Rosen 2000, p. 91
- Ore 1948, pp. 247–248
บรรณานุกรม
- (1993). A Course in Computational Algebraic Number Theory. New York: Springer-Verlag. ISBN .
- Cohn, H. (1962). Advanced Number Theory. New York: Dover. ISBN .
- ; Little, J.; (1997). Ideals, Varieties, and Algorithms: An Introduction to Computational Algebraic Geometry and Commutative Algebra (2nd ed.). Springer-Verlag. ISBN .
- ; (2001). Prime Numbers: A Computational Perspective (1st ed.). New York: Springer-Verlag. ISBN .
- (1894). (บ.ก.). Vorlesungen über Zahlentheorie (Lectures on Number Theory) (ภาษาเยอรมัน). Braunschweig: Vieweg. LCCN 03005859. OCLC 490186017.. See also
- Knuth, D. E. (1997). , Volume 2: Seminumerical Algorithms (3rd ed.). Addison–Wesley. ISBN .
- (1996) [1977]. Fundamentals of Number Theory. New York: Dover. ISBN .
- Mollin, R. A. (2008). Fundamental Number Theory with Applications (2nd ed.). Boca Raton: Chapman & Hall/CRC. ISBN .
- (1948). Number Theory and Its History. New York: McGraw–Hill.
- Rosen, K. H. (2000). Elementary Number Theory and its Applications (4th ed.). Reading, MA: Addison–Wesley. ISBN .
- (2005). Number Theory in Science and Communication (4th ed.). Springer-Verlag. ISBN .
- (1978). An Introduction to Number Theory. MIT Press. ISBN .
- (1997). Numbers and Geometry. New York: Springer-Verlag. ISBN .
- Stillwell, J. (2003). Elements of Number Theory. New York: Springer-Verlag. ISBN .
- Tattersall, J. J. (2005). Elementary Number Theory in Nine Chapters. Cambridge: . ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha inwichakhnitsastr khntxnwithiaebbyukhlid xngkvs Euclidean Algorithm a hruxkhntxnwithikhxngyukhlid epnwithikhanwntwharrwmmak hrm khxngcanwnetmsxngcanwn tngchuxtamyukhlid nkkhnitsastrchawkrikphuxthibaythvsdiniinelm VII aela Xwithikhxngyukhlidsahrbhatwharrwmmak hrm khxngkhwamyawerimtn BA aela DC sungtangniyamihepnphhukhunkhxngkhwamyaw hnwy ediywkn ephraawa DC snkwacungich wd BA aetephiyngkhrngediywephraaess EA nxykwa CD ich EA wdkhwamyaw DC thisnkwasxngkhrng caehluxess FC snkwa EA aelwich FC wdkhwamyaw EA samkhrng ephraawakhntxnniimmiess cungcbodymi FC epn hrm dankhwaepntwxyangkhxngodycanwn 49 aela 21 ihphllphthkhatwharrwmmakepn 7 prayuktcak Heath 1908 300 twharrwmmakkhxngcanwnetmsxngcanwnkhuxcanwnetmmakthisudthiharthngsxngcanwnnnidodyimehlux khntxnwithiaebbyukhliderimtndwycanwnetmbwkkhuhnung aelwsrangcanwnkhuihmprakxbdwycanwnthinxykwaaelaphltangrahwangcanwnthngsxng caknnthasacncanwnthngsxngethakn canwninkhntxnsudthayepntwharrwmmakkhxngcanwnetmbwkerimtn hlkkarsakhykhux hrm imepliynkhathanacanwnthinxykwalbcanwnthimakkwa echn hrm khxng 252 aela 105 ethakb hrm khxng 147 252 105 aela 105 canwnthimakkwathukldldkhalngesmx thaihkarthawithinisaidcanwnthielklng karsanicungcbxyangaennxnemuxthngsxngcanwnmikhaethakn thathaxikhnungkhrng canwnidcanwnhnungcaepn 0 hlkthanekiywkbkhntxnwithiaebbyukhlidphbinhnngsux Elements khxngyukhlid inchwngstwrrsthi 3 kxnkhristkal thaihepnkhntxnwithiekaaekthisudekiywkbcanwnthiyngichodythwip khntxnwithichbbdngedimichsahrbcanwnthrrmchatiaelakhwamyawechingerkhakhnit canwncring aetnkkhnitsastridkhyaykarichnganipyngcanwnchnidxun echn aelaphhunamhnungtwaepr xnnaipsuaenwkhidechingphichkhnitnamthrrmsmyihm echn sungepnringthisamarththakhntxnwithikhxngyukhlidid khntxnwithikhxngyukhlidmikarprayuktichinthangthvsdiaelaptibti xacichkxkaenidcnghwadntrithisakhyhlayrupaebbthiphbinwthnthrrmtang thwolk khntxnwithiniepnswnprakxbsakhykhxngkarekharhsxarexsex karekharhslbaebbkuyaecxsmmatrthiichthwipinkarphanichyxielkthrxniks khntxnwithiaebbyukhlidichaekaebbrupaebb echnkarhacanwnthisxdkhlxngkbsmphakhhlaychud hruxtwphkphnkarkhuninfildcakd ichsrangessswntxenuxng ichhacanwnrakcringkhxngphhunamodywithi aelainkhntxnwithismyihm aelathisakhy khntxnwithikhxngyukhlidepnekhruxngmuxsahrbphisucnthvsdibthinthvsdicanwn echn thvsdibthphlrwmkalngsxngkhxnglakrxngcaelathvsdibthmulthankhxngelkhkhnit thaprbprungkhntxnwithiihichessharcakwithiharaebbyukhlidaethnthicaepnkarlb khntxnwithikhxngyukhlidkhanwnkhatwharrwmmakkhxngcanwnkhnadihyxyangmiprasiththiphaph odyichkhntxnwithikarharepncanwnkhrngimekinhaethakhxngcanwnhlkkhxngcanwnkhnadelkkwa inthansib khntxnwithiaebbprbprungniphisucnidody en emuxpi kh s 1844 nbepncudrierimkarsuksathvsdikhwamsbsxninkarkhanwn aelainkhriststwrrsthi 20 mikarphthnawithiephimprasiththiphaphinrupaebbxunephimkhunma emux twharrwmmaksamarthekhiyninrupphlrwmechingesnkhxngsxngcanwnthinamadaeninkar odythiaetlacanwnkhunkbcanwnetm echn twharrwmmakkhxng 252 aela 105 khux 21 aela 21 5 105 2 252 smbtinieriykwaexklksnkhxngebsuphunthan twharrwmmakkhntxnwithiaebbyukhlidkhanwnkhatwharrwmmak hrm khxngcanwnthrrmchatisxngcanwn a aela b khatwharrwmmak g epncanwnthrrmchatikhamaksudthiharthng a aela b lngtw khathimikhwamhmayehmuxnkb hrm idaek twprakxbrwmkhamaksud xngkvs greatest common factor GCF twprakxbrwmkhamaksud xngkvs highest common factor HCF aela greatest common measure GCM twharrwmmakmkekhiynaethndwy gcd a b hrux a b aemwasylksnaebbhlngichsahrbkhwamkhidrwbyxdthangkhnitsastrxikhlayxyang echn sxngmiti tha gcd a b 1 aelw a kb b epncanwnechphaasmphthth khwamepncanwnechphaasmphththimidbngbxkwa a hrux b epncanwnechphaaexngaetxyangid echn 6 aela 35 tangimichcanwnechphaa ephraatangmitwprakxbechphaacanwnlasxngtw 6 2 3 and 35 5 7 xyangirktam 6 aela 35 epncanwnechphaasmphthth immicanwnthrrmchatinxkehnuxcak 1 harthng 6 aela 35 lngtw ephraaimmitwprakxbechphaarwmkn siehliymphunphakwang 24 yaw 60 prakxbdwysiehliymkhnaddanla 12 canwnsibrup sung 12 khuxtwharrwmmakkhxng 24 aela 60 inkrnithwip siehliymphunphakwang a yaw b caaebngepnsiehliymctursyxydanla c idechphaainkrnithi c epntwharrwmkhxng a aela b ih g gcd a b cakkarthi a aela b epnphhukhunkhxng g samarthekhiyninrup a mg aela b ng aelaimmicanwnetm G thimakkwa g thithaihkhxkhwamdngklawepncring m aela n txngepncanwnechphaasmphthth ephraahakmitwprakxbrwmkhxng m aela n cathaih g mikhamakkhun dngnncanwnetm c id thihar a aela b lngtw catxnghar g lngtwdwy twharrwmmak g khxng a aela b khuxtwharrwmbwkephiynghnungtwkhxng a aela b thihardwytwharrwmxun c lngtw twharrwmmaksamarthxthibayiddwykarsmmtisiehliymphunphakwang a yaw b aelatwharrwm c thihar a aela b lngtw dankhxngsiehliymsamarthaebngepnswnyxyyaw c sungaebngsiehliymphunphaepntarangsiehliymctursyxyyawdanla c odytwharrwmmak g khuxkhathimakthisudthiepnipidkhxng c twxyangdngphaphkhuxsiehliymphunphakwang 24 yaw 60 samarthaebngidepntarangkhxngsiehliymcturs 1 displaystyle times 1 siehliymcturs 2 displaystyle times 2 siehliymcturs 3 displaystyle times 3 siehliymcturs 4 displaystyle times 4 siehliymcturs 6 displaystyle times 6 hruxsiehliymcturs 12 displaystyle times 12 dngnn 12 khuxtwharrwmmakkhxng 24 aela 60 odysiehliymphunphakwang 24 yaw 60 samarthaebngepntarangkhxngsiehliymctursyawdanla 12 thimisiehliymcturs 2 ruptiddankwang 24 12 2 aelasiehliymcturs 5 ruptiddanyaw 60 12 5 twharrwmmakkhxngsxngcanwn a aela b khuxphlkhunkhxngtwprakxbechphaathisxngcanwnnimirwmkn odytwprakxbechphaahnungkhasamarthnamakhunidhlayrxb trabthiphlkhunkhxngtwprakxbehlanihar a aela b lngtw twxyangechn 1386 aeyktwprakxbidepn 2 displaystyle times 3 displaystyle times 3 displaystyle times 7 displaystyle times 11 aela 3213 aeyktwprakxbidepn 3 displaystyle times 3 displaystyle times 3 displaystyle times 7 displaystyle times 17 twharrwmmakkhxng 1386 aela 3213 cungethakb 63 3 displaystyle times 3 displaystyle times 7 sungkkhuxphlkhunkhxngtwprakxbechphaarwm thasxngcanwnimmitwprakxbechphaarwmkn twharrwmmakkhux 1 ethakbkhaphlkhunwang hruxkkhuxthngsxngcanwnnnepncanwnechphaasmphthth khxidepriybkhxngkhntxnwithiaebbyukhlidkhuxsamarthhakhatwharrwmmakodyimtxnghatwprakxbechphaarwm hrm khxngsamcanwnkhunipmikhaethakbphlkhunkhxngtwprakxbechphaakhxngcanwnehlann aetksamarthhaidcakkarha hrm khxngaetlakhucanwn gcd a b c gcd a gcd b c gcd gcd a b c gcd gcd a c b dngnnkhntxnwithiaebbyukhlidthihahrm khxngsxngcanwncasamarthhahrm khxnghlaycanwniddwyechnknkhaxthibaykrabwnkar khntxnwithiaebbyukhliddaeninepnkhntxn odyphllphthinaetlakhntxncathukichinkhntxntxip ih k epncanwnetmthinbcanwnkhntxninwithikaryukhlid erimcaksuny dngnninkhntxnthihnungmikha k 0 khntxnthisxngmikha k 1 epnaebbniiperuxy aetlakhntxnerimdwyesssxngcanwnthimikhaimepnlb rk 1 aela rk 2 enuxngcakwithikarnicathaihessmikhaldlnginthukkhntxnesmx rk 1 mikhanxykwaesstwkxn rk 2 epahmaykhxngkhntxnthi k khuxhaphlhar qk aelaess rk thisxdkhlxngkbsmkar rk 2 qkrk 1 rk displaystyle r k 2 q k r k 1 r k caidwa 0 rk lt rk 1 klawidwa canwnthimakkwa rk 2 thuklbdwyphhukhunkhxngcanwnthinxykwa rk 1 cnkwaess rk camikhanxykwa rk 1 inkhnaerk k 0 ess r 2 aela r 1 mikhaethakb a aela b tamladb inkhntxma k 1 essmikhaethakb b aelaess r0 khxngkhnaerk thaaebbnitxiperuxy khntxnwithidngklawekhiynxxkmainrupaebbladbkhxngsmkaridwa a q0b r0b q1r0 r1r0 q2r1 r2r1 q3r2 r3 displaystyle begin aligned a amp q 0 b r 0 b amp q 1 r 0 r 1 r 0 amp q 2 r 1 r 2 r 1 amp q 3 r 2 r 3 amp vdots end aligned tha a mikhanxykwa b ihslbtwelkhinkhnaerk twxyangkhux tha a lt b phlharinkhnaerk q0 camikhaethakbsuny aelaess r0 mikhaethakb a dngnn rk camikhanxykwa rk 1 sahrbthuk k 0 ephraaessmikhaldlnginthukkhntxn aetimsamarthepnmikhaepnlb ess rN cungcatxngethakbsunyinskkhntxn karphisucnkhwamthuktxng khwamthuktxngkhxngkhntxnwithiaebbyukhlidsamarthphisucnidodysxngkhntxn inkhntxnaerk ehnidwaesstwsudthaythiimethakbsuny rN 1 caharthng a aela b lngtw ephraamnepntwharrwm cungmikhanxykwahruxethakbtwharrwmmak g aelainkhntxnthisxng ehnidwatwharrwmid khxng a aela b rwmthungtwharrwmmak g dwy txnghar rN 1 lngtw dngnn g txngmikhanxykwahruxethakb rN 1 khxsrupsxngxnniimaennxn ewnaet rN 1 g ephuxaesdngihehnwa rN 1 harthng a aela b lngtw khnaerk aela rN 1 har rN 2 lngtw rN 2 qNrN 1 ephraaesstwsudthay rN khuxsuny thaih rN 1 har rN 3 lngtwdwy rN 3 qN 1rN 2 rN 1g gcd a b gcd b r0 gcd r0 r1 gcd rN 2 rN 1 rN 1 twxyangkarichngan aexniemchnaesdngkhntxnwithiaebbyukhlidodyichwithikarlb aerkerim siehliymphunphamikhnad a 1071 aela b 462 txma siehliymcturskhnad 462 462 thukwanglngip thaihehluxsiehliymphunphakhnad 462 147 odysiehliymphunphanicathukwangthbodysiehliymcturskhnad 147 147 cnkrathngehluxsiehliymphunphakhnad 21 147 thiehluxknasiehliymcturskhnad 21 21 mawangihkhrb thaihimehluxphunthithiyngimidpid cungsrupidwa khnadkhxngsiehliymctursthielkthisud 21 khux h r m khxng 1071 aela 462 ephuxihehnphaph khntxnwithiaebbyukhlidsamarthnamaichhatwharrwmmakkhxng a 1071 aela b 462 id erimtndwy na 1071 epntwtng lbkbtwkhunkhxng 462 cnkwaesscanxykwa 462 sungemuxphicarnaaelw karkhundwy 2 nnsamarthnamaichinkarlbxxkid q0 2 odymiesskhux 147 1071 2 462 147 txma twkhunkhxng 147 cathuklbxxkcak 462 cnkwaesscamikhanxykwa 147 emuxphicarnaaelw karkhundwy 3 nnsamarthnamaichinkarlbxxkid 462 3 147 21 txma twkhunkhxng 21 cathuklbxxkcak 147 cnkwaesscamikhanxykwa 21 sungkarkhundwy 7 nnsamarthnamaichinkarlbxxkid q2 7 imehluxessaelw 147 7 21 0 khnthi k smkar phlhar q aelaessehlux r 0 1071 q0 462 r0 q0 2 aela r0 1471 462 q1 147 r1 q1 3 aela r1 212 147 q2 21 r2 q2 7 aela r2 0 xlkxrithumcblngkarxthibayepnphaph erasamarththakhntxnwithiaebbyukhlidihehnphaphid odyichwithikhlaykbkarpukraebuxnginkarhatwharrwmmak smmutiwaeratxngkarpuphunthisiehliymphunphakhnad a b displaystyle a times b odyichkraebuxngsiehliymcturs odythi a epnkhathimikhamakkwaxikcanwn erimaerk eracapuodyichkraebuxngsiehliymcturskhnad b b displaystyle b times b aetwa klbehluxphunthithipuimid mikhnadepn r0 b displaystyle r 0 times b odythi r0 lt b displaystyle r 0 lt b erakelyepliynipichkraebuxngsiehliymcturskhnad r0 r0 displaystyle r 0 times r 0 aethn aetkyngpuphunthiidimkhrbxik ehluxphunthiepn r1 r0 displaystyle r 1 times r 0 erakelyepliynipichkraebuxngkhnad r1 r1 displaystyle r 1 times r 1 aethn thaaebbnisaiperuxy cnkrathngimehluxphunthithiyngimidpu nnkhux emuxkraebuxngsiehliymcturssamarthpuphunthithiyngimidpuinkhnthiaelwidthnghmd odykhwamyawkhxngdankhxngsiehliymctursthielkthisudkkhuxtw h r m khxngkhnadkhxngsiehliymruptnaebbnnexng echn kraebuxngsiehliymcturskhnadelkthisudinrupkhux 21 21 displaystyle 21 times 21 inrupaesdngodyichsiaedng aela 21 epntwharrwmmakkhxng 1071 aela 462 sungepnrupsiehliymtnchbb aesdngodyichsiekhiyw karharaebbyukhlid inthukkhntxn k khntxnwithiaebbyukhlidkhanwnphlhar qk aelaess rk caktwelkhsxngtw rk 1 aela rk 2 rk 2 qkrk 1 rk odythi rk epncanwnetmthiimepnlb aelamikhanxykwakhasmburnkhxng rk 1 odymithvstithirbrxngwakhntxnwithiaebbyukhlidcamiphlharaelaessesmx inkhntxnwithiaebbyukhlidaebbdngedim phlharaelaesshaidcakkarlbsa nnkhux rk rk 2 mod rk 1 karnaipichngan karnaipichngankhxngkhntxnwithiaebbyukhlidcathukekhiyninrupaebbokhdethiym function gcd a b while b 0 t b b a mod b a t return a function gcd a b while a b if a gt b a a b else b b a return a inrupaebberiyksa cakhunxyukbkhwamethaknkhxngtwharrwmmakkhxngessehluxtxenuxng odymienguxnikhkarhyudkhux gcd rN 1 0 rN 1 function gcd a b if b 0 return a else return gcd b a mod b hakkhathirbmaepnlb hruxfngkchn mod xacihkhathitidlb txngepliyn return a epn return max a a phthnakarthangprawtisastrkhntxnwithiaebbyukhlidxacthukkhidkhnkhunkxnyukhlid sunginphaphnithithukwadkhuninpi 1474 yukhlididthuxekhmthisiwinmux khntxnwithiaebbyukhlidepnhnunginkhntxnwithithiekaaekthisudthiichknxyangaephrhlay sungpraktin en 300 pikxnkhristskrach odyechphaainhnngsuxelmthi 7 praphcnthi 1 2 aelainhnngsuxelmthi 10 praphcnthi 2 3 inhnngsuxelmthi 7 khntxnwithithuksrangkhunephuxichkbcanwnetm aetinhnngsuxelmthi 10 idnaipichkbkhwamyawswnkhxngesntrng inkarichsmyihmni xacphudidwamnthuksrangkhunephuxichkbcanwncring aetinxdit khwamyaw phunthi aelaprimatr sungnbwaepncanwncringinpccubn imidthukwddwyhnwyediywknaelaimidmihnwythrrmchatiepnkhxngtnexng xacklawidwaaenwkhidekiywkbcanwncringimepnthiruckinkhnann khntxnwithithdmannekiywkberkhakhnit h r m khxngkhwamyaw a aela b sxdkhlxngkbkhwamyawthimakthisud g sungwd a aela b klawkhux khwamyaw a aela b thngkhutangkepnphhukhunkhxngkhwamyaw g khntxnwithinixacimidthukkhidkhnodyyukhlid phusungrwbrwmphllphthcaknkkhnitsastrinhnngsux exelemns khxngekha nkkhnitsastraelaprawtisastr en idesnxaenawa enuxhainhnngsuxelmthi 7 idrbmacaktaraeriynekiywkbthvsdicanwn sungekhiynodynkkhnitsastrinorngeriynkhxngphithaokrs khntxnwithixacepnthiruckcak en raw 375 pikxnkhristskrach khntxnwithinixacekidkhunkxn Eudoxus phicarnacakkarichsphthechphaa ἀn8yfairesis anthyphairesis hruxkarlbswnklb inngankhxngyukhlidaelaaexristxetil hlaystwrrstxma khntxnwithikhxngyukhlidthukkhnphbthnginpraethsxinediyaelacin odyaerkerimephuxaekpyha en sungekidkhunindarasastraelathaihsamarthsrangptithinthiaemnya inchwngthaystwrrsthi 5 nkkhnitsastraeladarasastrchawxinediy xarypht idxthibaykhntxnwithiwaepn ekhruxngbd sungxacmacakprasiththiphaphkhxngmninkaraekpyhasmkaridoxaefnithn thungaemwakrniphiesskhxng en cathukxthibayinhnngsuxcinchux en odyphlechlythwipthukephyaephrody en inhnngsuxkhxngekhachux Shushu Jiuzhang 數書九章 en khntxnwithiaebbyukhlidthukxthibayinechingtwelkhkhrngaerkaelaepnthiruckxyangmakinyuorpinhnngsux Problemes plaisants et delectables chbbthi 2 khxng en Pleasant and enjoyable problems 1624 inyuorp khntxnwithiaebbyukhlidthukichephuxaekpyhasmkaridoxaefnithnaelaichephuxphthnaessswntxenuxng en thuktiphimphodynkkhnitsastrchawxngkvschux en sungechuxwamnekidmacak en ephuxepnwithisahrbkhanwnessswntxenuxngxyangmiprasiththiphaph instwrrsthi 19 khntxnwithiaebbyukhlidnaipsukarphthnarabbcanwnaebbihm echn en aela en inpi 1815 kharl fridrich ekasidichkhntxnwithiaebbyukhlidinkarsathitkaraeyktwprakxbidxyangediywin en thungaemphlngankhxngekhacaidtiphimphkhrngaerkinpi 1832 ktam ekasidphudthungkhntxnwithiinhnngsux en khxngekha thuktiphimphinpi 1801 aetichepnephiyngwithisahrbessswntxenuxng en epnkhnaerkthixthibaykhntxnwithiaebbyukhlidephuxepnphunthansahrbthvsticanwnxun Lejeune Dirichlet idrabuwaphllphthkhxngthvsdicanwnhlayxn echn karaeyktwprakxbidxyangediyw Unique factorization caepncringsahrbrabbcanwnid thisamarthichkhntxnwithiaebbyukhlidid karbrryaykhxng Lejeune Dirichlet inhwkhxthvsdicanwnthukaekikhaelatxetimody en phuichkhntxnwithikhxngyukhlidinkarsuksacanwnechingphichkhnit sungepnrupaebbcanwnaebbihm twxyangechn Dedekind epnkhnaerkthiphisucn en odyichkaraeyktwprakxbidxyangediywkhxngcanwnetmekasesiyn Dedekind yngniyamaenwkhidkhxng en hruxrabbcanwnsungsamarthniyamkhntxnwithiaebbyukhlidchbbthwip dngthixthibaydanlang inthswrrsplaykhxngstwrrsthi 19 khntxnwithiaebbyukhlidkhxy thukldkhwamsakhylngodythvsdi en khxng dedekind sungmikhwamthwipmakkhun khntxnwithiaebbyukhlid nbepnkhunpukhxngkhntxnwithithnghmd ephraa mnepnkhntxnwithiimchdaecngthiekaaekthisudthiyngmikarichxyuinpccubn odnld khnuth The Art of Computer Programming elmthi 2 Seminumerical Algorithms phimphkhrngthi 2 1981 318 karprayuktichxun khxngkhntxnwithikhxngyukhlidthukphthnakhuninstwrrsthi 19 inpi 1829 en idaesdngwakhntxnwithinnepnpraoychninwithi en sungichsahrbkarnbrakthiaethcringkhxngphhunaminchwngthisnic khntxnwithiaebbyukhlidepn en sungkhuxwithithiichinkarhakhwamsmphnthkhxngcanwnetmincanwncringethiybetha en ihmhlayxnidthukphthnakhun echn khntxnwithikhxng en aela R W Forcade 1979 aela en inpi 1969 Cole aela Davie idphthnaekmphuelnsxngkhnodymiphunthancakkhntxnwithiaebbyukhlid chuxwa The Game of Euclid sungmiklyuthththidithisud phuelncaerimtncakkxnghinsungmi a aela b kxn emuxthungtakhxngphuelnaelwcathakarnahinxxkcakkxngthimicanwnmakkwaepncanwnethakbphhukhun m khxngcanwnhininkxngthinxykwa dngnn thathngsxngkxngmihin x aela y kxntamladb emux x makkwa y phuelnkhntxipsamarthnahinxxkcakkxngthimicanwnhinmakkwa thaihcanwnhinldcak x kxnehlux x my kxn trabethathiyngkhngepncanwnetmthiimtidlb phuchnakhuxphuelnkhnaerkthithaihkxngidkxnghnungkhxngtnexngehluxhinethakb 0karprayuktichthangkhnitsastrexklksnkhxngebsu exklksnkhxngebsurabuwatwharrwmmak g khxngcanwnnbsxngcanwn a aela b samarthekhiynepnphlrwmechingesnkhxngcanwnnb a aela b id klawxiknyhnung khux samarthhacanwnnb s aela t thithaih g sa tb idesmx canwnnb s aela t samarthkhanwnidcakphlhar q0 q1 odykaryxnklbladbkhxngsmkarinxlkxrithumkhxngyukhlid odyerimtncaksmkarrxngsudthay sungsamarthekhiyn g inrupkhxngphlhar qN 1 aelaessthiehluxsxngtwkxnhna rN 2 aela rN 3 iddngni g rN 1 rN 3 qN 1rN 2 essthiehluxthngsxngnnsamarthekhiynihxyuinrupkhxngphlharaelaessthiehluxkxnhnaidechnkn rN 2 rN 4 qN 2rN 3 aela rN 3 rN 5 qN 3rN 4 emuxaethnkha rN 2 aela rN 3 lnginsmkaraerk caid g epnphlrwmechingesnkhxngessehlux rN 4 aela rN 5 karaethnthismkarthiehluxdwyessthiehluxkxnhnasamarththatxipideruxy cnkwacathungcanwnnbedim a aela b r2 r0 q2r1 r1 b q1r0 r0 a q0b hlngcakaethnthiswnthiehluxthnghmd r0 r1 smkarsudthaycaaesdngihehnwa g epnphlrwmechingesnkhxng a aela b khux g sa tb cakexklksnkhxngebsu xlkxrithumkhangtncungsamarthekhiyninrupthwipkhxng en idhmayehtuk tarabangelmthiichodythwip echn Topics in Algebra khxng aela Algebra khxng ichkhawa Euclidean algorithm hmaythungwithiharaebbyukhlidxangxing The Thirteen Books of Euclid s Elements 2nd ed Facsimile Original publication Cambridge University Press 1925 1956 http cgm cs mcgill ca godfried publications banff pdf Stark 1978 p 16 Stark 1978 p 21 LeVeque 1996 p 32 1983 A Visual Euclidean Algorithm Mathematics Teacher 76 108 109 Stillwell 1997 p 14 Knuth 1997 p 318 1983 Number Theory Boston Birkhauser pp 4 6 ISBN 0 8176 3141 0 Jones A 1994 Greek mathematics to AD 300 Companion encyclopedia of the history and philosophy of the mathematical sciences New York Routledge pp 46 48 ISBN 0 415 09238 8 1954 Science Awakening translated by Arnold Dresden Groningen P Noordhoff Ltd pp 114 115 von Fritz K 1945 The Discovery of Incommensurability by Hippasus of Metapontum Annals of Mathematics 46 2 242 264 doi 10 2307 1969021 JSTOR 1969021 1949 Mathematics in Aristotle Oxford Press pp 80 83 1987 The Mathematics of Plato s Academy A New Reconstruction Oxford Oxford University Press pp 31 66 ISBN 0 19 853912 6 Becker O 1933 Eudoxus Studien I Eine voreuklidische Proportionslehre und ihre Spuren bei Aristoteles und Euklid Quellen und Studien zur Geschichte der Mathematik B 2 311 333 Stillwell 1997 p 31 Tattersall 2005 p 70 Rosen 2000 pp 86 87 Tattersall 2005 pp 72 184 185 Saunderson Nicholas 1740 The Elements of Algebra in Ten Books University of Cambridge Press subkhnemux 1 November 2016 Tattersall 2005 pp 72 76 1832 Theoria residuorum biquadraticorum Comm Soc Reg Sci Gott Rec 4 Reprinted in Gauss C F 2011 Theoria residuorum biquadraticorum commentatio prima Werke Vol 2 Cambridge Univ Press pp 65 92 doi 10 1017 CBO9781139058230 004 ISBN 9781139058230 and Gauss C F 2011 Theoria residuorum biquadraticorum commentatio secunda Werke Vol 2 Cambridge Univ Press pp 93 148 doi 10 1017 CBO9781139058230 005 ISBN 9781139058230 Stillwell 1997 pp 31 32 Lejeune Dirichlet 1894 pp 29 31 in Lejeune Dirichlet 1894 Supplement XI Stillwell 2003 pp 41 42 1829 Memoire sur la resolution des equations numeriques Bull Des sciences de Ferussac phasafrngess 11 419 422 exrik dbebilyu iwssitn Integer Relation cakaemthewild Peterson I 12 August 2002 Jazzing Up Euclid s Algorithm ScienceNews 16 phvsphakhm 2000 PDF SIAM News 33 4 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 22 knyayn 2016 subkhnemux 19 krkdakhm 2016 Cole A J Davie A J T 1969 A game based on the Euclidean algorithm and a winning strategy for it Math Gaz 53 386 354 357 doi 10 2307 3612461 JSTOR 3612461 S2CID 125164797 Spitznagel E L 1973 Properties of a game based on Euclid s algorithm Math Mag 46 2 87 92 doi 10 2307 2689037 JSTOR 2689037 Rosen 2000 p 95 Roberts J 1977 Elementary Number Theory A Problem Oriented Approach Cambridge MA pp 1 8 ISBN 0 262 68028 9 Jones G A Jones J M 1998 Bezout s Identity Elementary Number Theory New York Springer Verlag pp 7 11 Rosen 2000 p 81 Cohn 1962 p 104 Rosen 2000 p 91 Ore 1948 pp 247 248brrnanukrm 1993 A Course in Computational Algebraic Number Theory New York Springer Verlag ISBN 0 387 55640 0 Cohn H 1962 Advanced Number Theory New York Dover ISBN 0 486 64023 X Little J 1997 Ideals Varieties and Algorithms An Introduction to Computational Algebraic Geometry and Commutative Algebra 2nd ed Springer Verlag ISBN 0 387 94680 2 2001 Prime Numbers A Computational Perspective 1st ed New York Springer Verlag ISBN 0 387 94777 9 1894 b k Vorlesungen uber Zahlentheorie Lectures on Number Theory phasaeyxrmn Braunschweig Vieweg LCCN 03005859 OCLC 490186017 See also Knuth D E 1997 Volume 2 Seminumerical Algorithms 3rd ed Addison Wesley ISBN 0 201 89684 2 1996 1977 Fundamentals of Number Theory New York Dover ISBN 0 486 68906 9 Mollin R A 2008 Fundamental Number Theory with Applications 2nd ed Boca Raton Chapman amp Hall CRC ISBN 978 1 4200 6659 3 1948 Number Theory and Its History New York McGraw Hill Rosen K H 2000 Elementary Number Theory and its Applications 4th ed Reading MA Addison Wesley ISBN 0 201 87073 8 2005 Number Theory in Science and Communication 4th ed Springer Verlag ISBN 0 387 15800 6 1978 An Introduction to Number Theory MIT Press ISBN 0 262 69060 8 1997 Numbers and Geometry New York Springer Verlag ISBN 0 387 98289 2 Stillwell J 2003 Elements of Number Theory New York Springer Verlag ISBN 0 387 95587 9 Tattersall J J 2005 Elementary Number Theory in Nine Chapters Cambridge ISBN 978 0 521 85014 8 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb khntxnwithiaebbyukhlid