ภาคตัดกรวย (conic section หรือ conic) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง เส้นโค้งที่ได้จากการตัดพื้นผิวกรวยกลม ด้วยระนาบแบน ภาคตัดกรวยนี้ถูกตั้งเป็นหัวข้อศึกษาตั้งแต่สมัย 200 ปีก่อนคริสต์ศักราชโดย ผู้ซึ่งศึกษาภาคตัดกรวยและค้นพบสมบัติหลายประการของภาคตัดกรวย ต่อมากรณีการศึกษาภาคตัดกรวยถูกนำไปใช้ประโยชน์หลายแบบ ได้แก่ ในปี พ.ศ. 2133 (ค.ศ. 1590) กาลิเลโอ กาลิเลอี พบว่าขีปนาวุธที่ยิงขึ้นไปในมุมที่กำหนดมีวิถีการเคลื่อนที่โค้งแบบพาราโบลา, ใน พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609) โยฮันเนิส เค็พเพลอร์ พบว่าวงโคจรของดาวเคราะห์รอบนอกเป็นรูปวงรี เป็นต้น
ชนิดของภาคตัดกรวย
วงกลม และ วงรี คือ เส้นโค้งซึ่งได้จากการตัดกรวย ด้วยระนาบ ให้ได้เส้นโค้งปิด (เป็นวง) วงกลมนั้นถือเป็นกรณีพิเศษของวงรี โดยแนวของระนาบในการตัดนั้น ตั้งฉากกับแกนกลางของกรวย หากระนาบตัดกรวยในแนวขนานกับเส้นขอบของกรวย หรือเรียก เส้นกำเนิดกรวย (generator line) จะได้เส้นโค้งเรียกว่า พาราโบลา หากระนาบไม่อยู่ในแนวขนานเส้นขอบ และตัดกรวยได้เส้นโค้งเปิดไม่เป็นวง จะเรียกเส้นโค้งนี้ว่า ไฮเพอร์โบลา จะเห็นได้ว่าในกรณีนี้ระนาบจะตัดกรวยทั้งครึ่งบน และครึ่งล่าง ได้เป็นเส้นโค้งที่ขาดจากกันสองเส้น
ในกรณีที่เรียกว่า "ภาคตัดกรวยลดรูป" (degenerate conic) ระนาบจะตัดผ่านจุดยอดของกรวย และได้ผลของการตัดเป็น จุด เส้นตรง หรือ เส้นตรงสองเส้นตัดกัน กรณีเหล่านี้ไม่ได้ถูกรวมไว้ในภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยจากทางเดินของจุด
แต่ละประเภทของภาคตัดกรวยนั้น สามารถนิยามโดยการใช้เส้นทางเดินของจุด โดยทุก ๆ จุด P บนเส้นทางเดิน จะต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะดังนี้
- วงกลม : ระยะ(P,C) = r โดยที่ Cคือจุดตายตัวเรียกว่า จุดศูนย์กลาง และ r คือค่าคงที่ เรียกว่า รัศมี
- พาราโบลา : ระยะ(P,F) = ระยะ(P,L) โดยที่ F คือจุดตายตัว เรียกว่า จุดโฟกัส และ L คือ เส้นตรง กำหนดตายตัว และไม่ผ่านจุดโฟกัส เรียกว่า ไดเรกทริกซ์
- วงรี : ระยะ(P,A) + ระยะ(P,B) = d โดยที่ A, B เป็นจุดตายตัวสองจุดที่แตกต่างกัน เรียกว่า จุดโฟกัส และ d เป็นค่าคงที่ ที่มีค่ามากกว่า ระยะ(A,B) เรียกว่า เส้นผ่านศูนย์กลางหลัก
- ไฮเพอร์โบลา : ระยะ(P,A) - ระยะ(P,B) = d โดยที่ A, B เป็นจุดตายตัวสองจุดที่แตกต่างกัน เรียกว่า จุดโฟกัส และ d เป็นค่าคงที่ ที่มีค่าน้อยกว่า ระยะ(A,B)
ความเยื้อง (Eccentricity)
ค่าความเยื้อง หรือ ค่าความเบี่ยงเบนจากศูนย์กลาง (eccentricity) ของภาคตัดกรวย เป็นค่าบ่งชี้ถึงความเบี้ยว หรือ เบี่ยงเบนไปจากความกลม โดยเมื่อความเยื้องมีค่าลดลง รูปร่างของภาคตัดกรวยที่ได้จะมีรูปร่างเข้าใกล้ทรงกลมมากขึ้น
ถ้าเส้นตรง คือไดเรกทริกซ์ และ คือ จุดโฟกัส ค่าความเยื้อง หาได้จาก
โดยที่
- คือ ระยะทางจากจุด ใดๆ บนภาคตัดกรวย ไปยังจุดโฟกัส
- คือ ระยะทางจากจุด ใดๆ บนภาคตัดกรวย ไปตั้งฉากกับไดเรกทริกซ์
รูปร่างของภาคตัดกรวยที่ได้ ขึ้นกับค่า โดย
- เป็นรูปวงรี
- เป็นรูปพาราโบลา
- เป็นรูปไฮเพอร์โบลา
ภาคตัดกรวยกับเรขาคณิตวิเคราะห์
บนระบบพิกัดคาร์ทีเซียน กราฟของสมการสองตัวแปรกำลังสอง (quadratic equation) จะเป็นรูปภาคตัดกรวยเสมอ หากเราพิจารณาสมการที่อยู่ในรูป
แล้ว:
- ถ้า h2 = ab แล้ว จะได้สมการของรูป พาราโบลา
- ถ้า h2 < ab และ a b และ/หรือ h0 แล้ว จะได้สมการของรูป วงรี
- ถ้า h2 > ab แล้ว จะได้สมการของรูป ไฮเพอร์โบลา
- ถ้า h2 < ab and a = b and h = 0 แล้ว จะได้สมการของรูป วงกลม
- ถ้า a + b = 0 แล้ว จะได้สมการของรูป ไฮเพอร์โบลามุมฉาก
เซมิเลตัสเรกตัม และ ระบบพิกัดเชิงขั้ว
เซมิเลตัสเรกตัม ของภาคตัดกรวย ปกติเขียนแทนด้วย l คือ ระยะทางจากจุดโฟกัสหนึ่ง ไปยังภาคตัดกรวย โดยวัดตั้งฉากกับแกนหลัก (major axis) มีความสัมพันธ์กับ a และ b โดย หรือ
ในระบบพิกัดเชิงขั้วนั้น ภาคตัดกรวยที่มีจุดโฟกัสหนึ่งอยู่ที่จุดออริจิน และอีกจุดหนึ่ง(หากมี) บนแกน x ด้านบวก จะกำหนดโดยสมการต่อไปนี้
- .
คุณสมบัติทั่วไป
ภาคตัดกรวยนั้นมีรูปร่างที่มนสม่ำเสมอ ไม่มี (inflection point) ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่มีความสำคัญต่อการใช้งานหลายประเภท เช่น การใช้งานเกี่ยวกับ ซึ่งพื้นผิวนั้นจำเป็นต้องออกแบบเพื่อให้ของไหล ไหลผ่านอย่างสม่ำเสมอ (laminar flow) เพื่อป้องกันการเกิด (turbulence)
การประยุกต์ใช้งาน
ภาคตัดกรวยนั้นได้มีความสำคัญต่อดาราศาสตร์ โดย วงโคจรของวัตถุสองชิ้นซึ่งมีแรงดึงดูดกระทำต่อกัน ตามกฎของนิวตัน นั้นจะมีรูปร่างเป็นภาคตัดกรวย หากจุดศูนย์กลางมวล (center of mass) ร่วมของทั้งสองวัตถุนั้นอยู่นิ่ง หากทั้งสองนั้นถูกดึงดูดอยู่ด้วยกัน ทางเดินของทั้งสองนั้นจะเป็นรูปวงรี หากวัตถุทั้งสองวิ่งออกจากกัน ทางเดินจะเป็นรูปพาราโบลา หรือ ไฮเปอร์โบลา ดู ปัญหาหลายวัตถุ
ใน (projective geometry) นั้น ภาพฉายบนระนาบ ของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้นจะเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการฉาย หรือที่เรียกว่า (projective transformation)
สำหรับการประยุกต์ใช้งานเฉพาะของภาคตัดกรวยแต่ละชนิดนั้น ดูที่บทความ วงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเพอร์โบลา
อ้างอิง
- Akopyan, A.V. and Zaslavsky, A.A. (2007). Geometry of Conics. American Mathematical Society. p. 134. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
แหล่งข้อมูลอื่น
- Derivations of Conic Sections 2006-02-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at Convergence 2006-02-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Conic sections at Special plane curves.
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Conic Section" จากแมทเวิลด์.
- Determinants and Conic Section Curves
- Occurrence of the conics. Conics in nature and elsewhere.
- Conics 2007-10-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. An essay on conics and how they are generated.
- See Conic Sections at cut-the-knot for a sharp proof that any finite conic section is an ellipse and Xah Lee for a similar treatment of other conics.
- Cone-plane intersection MATLAB code
- Eight Point Conic 2009-10-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at Dynamic Geometry Sketches 2009-03-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- An interactive Java conics grapher; uses a general second-order implicit equation. 2009-10-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phakhtdkrwy conic section hrux conic inthangkhnitsastr hmaythung esnokhngthiidcakkartdphunphiwkrwyklm dwyranabaebn phakhtdkrwynithuktngepnhwkhxsuksatngaetsmy 200 pikxnkhristskrachody phusungsuksaphakhtdkrwyaelakhnphbsmbtihlayprakarkhxngphakhtdkrwy txmakrnikarsuksaphakhtdkrwythuknaipichpraoychnhlayaebb idaek inpi ph s 2133 kh s 1590 kalielox kalielxi phbwakhipnawuththiyingkhunipinmumthikahndmiwithikarekhluxnthiokhngaebbpharaobla in ph s 2152 kh s 1609 oyhnenis ekhphephlxr phbwawngokhcrkhxngdawekhraahrxbnxkepnrupwngri epntnchnidkhxngphakhtdkrwychnidkhxngphakhtdkrwywngklm aela wngri khux esnokhngsungidcakkartdkrwy dwyranab ihidesnokhngpid epnwng wngklmnnthuxepnkrniphiesskhxngwngri odyaenwkhxngranabinkartdnn tngchakkbaeknklangkhxngkrwy hakranabtdkrwyinaenwkhnankbesnkhxbkhxngkrwy hruxeriyk esnkaenidkrwy generator line caidesnokhngeriykwa pharaobla hakranabimxyuinaenwkhnanesnkhxb aelatdkrwyidesnokhngepidimepnwng caeriykesnokhngniwa ihephxrobla caehnidwainkrniniranabcatdkrwythngkhrungbn aelakhrunglang idepnesnokhngthikhadcakknsxngesn inkrnithieriykwa phakhtdkrwyldrup degenerate conic ranabcatdphancudyxdkhxngkrwy aelaidphlkhxngkartdepn cud esntrng hrux esntrngsxngesntdkn krniehlaniimidthukrwmiwinphakhtdkrwy phakhtdkrwycakthangedinkhxngcud aetlapraephthkhxngphakhtdkrwynn samarthniyamodykarichesnthangedinkhxngcud odythuk cud P bnesnthangedin catxngepniptamkhunsmbtiechphaadngni wngklm raya P C r odythi Ckhuxcudtaytweriykwa cudsunyklang aela r khuxkhakhngthi eriykwa rsmi pharaobla raya P F raya P L odythi F khuxcudtaytw eriykwa cudofks aela L khux esntrng kahndtaytw aelaimphancudofks eriykwa iderkthriks wngri raya P A raya P B d odythi A B epncudtaytwsxngcudthiaetktangkn eriykwa cudofks aela d epnkhakhngthi thimikhamakkwa raya A B eriykwa esnphansunyklanghlk ihephxrobla raya P A raya P B d odythi A B epncudtaytwsxngcudthiaetktangkn eriykwa cudofks aela d epnkhakhngthi thimikhanxykwa raya A B khwameyuxng Eccentricity khakhwameyuxng hrux khakhwamebiyngebncaksunyklang eccentricity khxngphakhtdkrwy epnkhabngchithungkhwamebiyw hrux ebiyngebnipcakkhwamklm odyemuxkhwameyuxngmikhaldlng ruprangkhxngphakhtdkrwythiidcamiruprangekhaiklthrngklmmakkhun thaesntrng L displaystyle L khuxiderkthriks aela F displaystyle F khux cudofks khakhwameyuxng e displaystyle e haidcak dist P F dist P L ee R displaystyle frac dist P F dist P L e qquad e in mathbb R odythi dist P F displaystyle dist P F khux rayathangcakcud P displaystyle P id bnphakhtdkrwy ipyngcudofks F displaystyle F dist P L displaystyle dist P L khux rayathangcakcud P displaystyle P id bnphakhtdkrwy iptngchakkbiderkthriks L displaystyle L ruprangkhxngphakhtdkrwythiid khunkbkha e displaystyle e ody 0 lt e lt 1 displaystyle 0 lt e lt 1 epnrupwngri e 1 displaystyle e 1 epnruppharaobla e gt 1 displaystyle e gt 1 epnrupihephxroblaphakhtdkrwykberkhakhnitwiekhraahrupaesdngkartdkrwydwyranadinaenwtang bnrabbphikdkharthiesiyn krafkhxngsmkarsxngtwaeprkalngsxng quadratic equation caepnrupphakhtdkrwyesmx hakeraphicarnasmkarthixyuinrup ax2 2hxy by2 2gx 2fy c 0 displaystyle ax 2 2hxy by 2 2gx 2fy c 0 aelw tha h2 ab aelw caidsmkarkhxngrup pharaobla tha h2 lt ab aela a displaystyle neq b aela hrux h displaystyle neq 0 aelw caidsmkarkhxngrup wngri tha h2 gt ab aelw caidsmkarkhxngrup ihephxrobla tha h2 lt ab and a b and h 0 aelw caidsmkarkhxngrup wngklm tha a b 0 aelw caidsmkarkhxngrup ihephxroblamumchakesmieltserktm aela rabbphikdechingkhwesimlatserktmkhxngwngri esmieltserktm khxngphakhtdkrwy pktiekhiynaethndwy l khux rayathangcakcudofkshnung ipyngphakhtdkrwy odywdtngchakkbaeknhlk major axis mikhwamsmphnthkb a aela b ody al b2 displaystyle al b 2 hrux l a 1 e2 displaystyle l a 1 e 2 inrabbphikdechingkhwnn phakhtdkrwythimicudofkshnungxyuthicudxxricin aelaxikcudhnung hakmi bnaekn x danbwk cakahndodysmkartxipni r 1 ecos 8 l displaystyle r 1 e cos theta l khunsmbtithwipphakhtdkrwynnmiruprangthimnsmaesmx immi inflection point sungepnkhunsmbtithimikhwamsakhytxkarichnganhlaypraephth echn karichnganekiywkb sungphunphiwnncaepntxngxxkaebbephuxihkhxngihl ihlphanxyangsmaesmx laminar flow ephuxpxngknkarekid turbulence karprayuktichnganphakhtdkrwynnidmikhwamsakhytxdarasastr ody wngokhcrkhxngwtthusxngchinsungmiaerngdungdudkrathatxkn tamkdkhxngniwtn nncamiruprangepnphakhtdkrwy hakcudsunyklangmwl center of mass rwmkhxngthngsxngwtthunnxyuning hakthngsxngnnthukdungdudxyudwykn thangedinkhxngthngsxngnncaepnrupwngri hakwtthuthngsxngwingxxkcakkn thangedincaepnruppharaobla hrux ihepxrobla du pyhahlaywtthu in projective geometry nn phaphchaybnranab khxngphakhtdkrwyaetlachnidnncaehmuxnkn khunxyukblksnakarchay hruxthieriykwa projective transformation sahrbkarprayuktichnganechphaakhxngphakhtdkrwyaetlachnidnn duthibthkhwam wngklm wngri pharaobla ihephxroblaxangxingAkopyan A V and Zaslavsky A A 2007 Geometry of Conics American Mathematical Society p 134 ISBN 0821843230 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phakhtdkrwy Derivations of Conic Sections 2006 02 12 thi ewyaebkaemchchin at Convergence 2006 02 12 thi ewyaebkaemchchin Conic sections at Special plane curves exrik dbebilyu iwssitn Conic Section cakaemthewild Determinants and Conic Section Curves Occurrence of the conics Conics in nature and elsewhere Conics 2007 10 06 thi ewyaebkaemchchin An essay on conics and how they are generated See Conic Sections at cut the knot for a sharp proof that any finite conic section is an ellipse and Xah Lee for a similar treatment of other conics Cone plane intersection MATLAB code Eight Point Conic 2009 10 25 thi ewyaebkaemchchin at Dynamic Geometry Sketches 2009 03 21 thi ewyaebkaemchchin An interactive Java conics grapher uses a general second order implicit equation 2009 10 25 thi ewyaebkaemchchin