บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
คณิตศาสตร์ (อังกฤษ: Mathematics) เป็นศาสตร์ที่ครอบคลุมการค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้าง และปริภูมิ คณิตศาสตร์ไม่มีคำนิยามที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" และเนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ในปัจจุบันเป็นคณิตศาสตร์ที่ยึดโยงกับโครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ และอาศัยการให้เหตุผลที่รัดกุมโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์
โครงสร้างต่าง ๆ ที่นักคณิตศาสตร์สนใจและพิจารณานั้น มักจะมีต้นกำเนิดจากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์ และเศรษฐศาสตร์ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน ยังเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และ อีกด้วย
เนื่องจากคณิตศาสตร์นั้นใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ ซึ่งทำให้กิจกรรมทุกอย่างกระทำผ่านทางขั้นตอนที่ชัดเจน เราจึงสามารถพิจารณาคณิตศาสตร์ว่า เป็นระบบภาษาที่เพิ่มความแม่นยำและชัดเจนให้กับภาษาธรรมชาติ ผ่านทางศัพท์และไวยากรณ์บางอย่าง สำหรับการอธิบายและศึกษาความสัมพันธ์ทั้งทางกายภาพและนามธรรม ความหมายของคณิตศาสตร์นั้นยังมีอีกหลายมุมมอง ซึ่งหลายอันถูกกล่าวถึงในบทความเกี่ยวกับปรัชญาของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ยังถูกจัดว่าเป็นศาสตร์ โดยไม่จำเป็นต้องมีการอ้างถึงใด ๆ จากโลกภายนอก นักคณิตศาสตร์กำหนดและพิจารณาโครงสร้างบางประเภท สำหรับใช้ในคณิตศาสตร์เองโดยเฉพาะ เนื่องจากโครงสร้างเหล่านี้ อาจทำให้สามารถอธิบายสาขาย่อย ๆ หลาย ๆ สาขาได้ในภาพรวม หรือเป็นประโยชน์ในการคำนวณพื้นฐาน
ที่มาของคำ
คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ ส่วนในภาษาอังกฤษ คำว่าคณิตศาสตร์ตรงกับคำว่า mathematics ซึ่งมาจากคำภาษากรีกโบราณ μάθημα (máthēma) ซึ่งดั้งเดิมหมายถึง "สิ่งที่ได้เรียน" "สิ่งที่จะได้ทราบ" จึงขยายความหมายออกไปรวมถึงความหมาย "วิทยาศาสตร์, ความรู้, และการเรียน"
ในอเมริกาเหนือนิยมย่อคำว่า mathematics ว่า math ส่วนประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษนิยมย่อว่า maths
จุดมุ่งหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์มีจุดเริ่มต้นจากปัญหาจำนวนมากที่หลากหลาย ในยุคแรกเริ่มคณิตศาสตร์มาจากความจำเป็นเพื่อการค้า การรังวัดที่ดิน สถาปัตยกรรมศาสตร์และดาราศาสตร์ ในขณะที่ปัจจุบัน วิทยาศาสตร์เป็นสาขาสำคัญที่เสนอปัญหาและนำไปสู่การค้นคว้าหัวข้อใหม่ ๆ สำหรับนักคณิตศาสตร์ ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงข้อปัญหาที่เกิดขึ้นจากการศึกษาคณิตศาสตร์ในตัวมันเองของนักคณิตศาสตร์ด้วย
ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ผ่านทางการวิจัยและการประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมืออันหนึ่งของวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การคิดค้นทางคณิตศาสตร์ไม่จำเป็นต้องมีเป้าหมายอยู่ที่การนำไปใช้ทางวิทยาศาสตร์ (ดู คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ และคณิตศาสตร์ประยุกต์)
นอกจากนี้ นักคณิตศาสตร์หลายคนก็ทำงานเพื่อเป้าหมายเชิงสุนทรียภาพเท่านั้น โดยมองว่าคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์เชิงศิลปะ มากกว่าที่จะเป็นศาสตร์เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ (ดังเช่น ที่ได้กล่าวไว้ในหนังสือ A Mathematician's Apology) ; แรงผลักดันในการทำงานเช่นนี้ มีลักษณะไม่ต่างไปจากที่กวีและนักปรัชญาได้ประสบ และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวว่า คณิตศาสตร์เป็นราชินีของวิทยาศาสตร์ ในหนังสือ Ideas and Opinions ของเขา
ประวัติ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ทฤษฎีของตรรกศาสตร์ปรากฏขึ้นในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก เช่นในอินเดีย จีน กรีกโบราณและโลกอิสลาม ตรรกศาสตร์ที่ปรากฏในวัฒนธรรมกรีก โดยเฉพาะตรรกศาสตร์แบบอริสโตเติลแบบที่ปรากฏในงาน ถูกใช้แพร่หลายในโลกตะวันตก
ในช่วงศตวรรษที่ 18 นักคณิตศาสตร์ที่สนในปรัชญา เช่นไลบ์นิซ และ มีความพยายามศึกษาตรรกศาสตร์ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ หรือในเชิงพีชคณิต แต่งานที่พวกเขาทำนั้นไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าใดนัก จนกระทั่งจอร์จ บูลและตามด้วย ในช่วงกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้นำเสนอตรรกศาสตร์แบบอริสโตเติลผ่านรูปแบบเชิงพีชคณิต จุดนี้ก่อให้เกิดการพัฒนาเครื่องมือ ที่สามารถใช้เพื่อศึกษามโนทัศน์พื้นฐานของคณิตศาสตร์ได้ คงจะไม่ถูกนักถ้าจะกล่าวว่าการโต้แย้งเชิงรากฐานที่มีขึ้นในช่วง ค.ศ. 1900 - 1925 ได้พบกับคำตอบที่น่าพอใจแล้ว แต่อย่างไรก็ตามตรรกศาสตร์ 'แนวใหม่' นี้ก็ได้ช่วยให้ความกระจ่างในด้านของเป็นอย่างยิ่ง
ในขณะที่พัฒนาการตามแนวทางดั่งเดิมของตรรกศาสตร์ (ดู) นั้น ให้ความสำคัญอย่างสูงกับ รูปแบบของการให้เหตุผล มุมมองของคณิตตรรกศาสตร์ในปัจจุบันกลับสามารถกล่าวได้ว่าเป็น การศึกษาเชิงการจัดกลุ่มของเนื้อหา (the combinatorial study of content) ซึ่งครอบคลุมถึงส่วนที่เป็น เชิงสังเคราะห์ (เช่น การส่งข้อความจากไปยังคอมไพเลอร์เพื่อเปลี่ยนเป็นภาษาเครื่อง) และส่วนที่เป็น เชิงความหมาย (การสร้างโมเดล หรือเซตของโมเดลทั้งหมดใน)
ผลงานตีพิมพ์สำคัญคือ ของ และ ของเบอร์ทรันด์ รัซเซล
พัฒนาการ
วิวัฒนาการของคณิตศาสตร์อาจถูกมองว่าเป็นชุดของการเพิ่มขึ้นของภาวะนามธรรมหรืออาจเป็นการขยายตัวของวิชาที่เกี่ยวกับสสาร ภาวะนามธรรมที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกนั้น, มีส่วนเกี่ยวข้องกับสัตว์หลาย ๆ ชนิด, เป็นความน่าจะเป็นที่เกี่ยวข้องกับจำนวน
สาขาของคณิตศาสตร์
ในเชิงภาพรวมอาจกล่าวได้ว่า คณิตศาสตร์สามารถแบ่งออกเป็นสาขาย่อย ๆ ตามสิ่งที่ศึกษาได้เป็น การศึกษาปริมาณ โครงสร้าง ปริภูมิและความเปลี่ยนแปลง ซึ่งตรงกับสาขาเลขคณิต พีชคณิต เรขาคณิต และคณิตวิเคราะห์ตามลำดับ นอกจากนี้เราอาจพิจารณาคณิตศาสตร์ผ่านความสมพันธ์กับสาขาอื่น ๆ เช่น คณิตตรรกศาสตร์กับตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์กับวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันเราพบว่าหลายสาขาของคณิตศาสตร์ที่ดูผิวเผินจะไม่เกี่ยวข้องกัน กลับสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง เช่น และทฤษฎีจำนวน ซึ่งดูแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิงนั้น เกี่ยวเนื่องกันผ่านมุมมองของ
รากฐานและปรัชญา
- หลังจากการพัฒนาทฤษฎีเซตในปลายศตวรรษที่ 19 ทำให้ทฤษฎีเซตกลายเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์ที่สำคัญมากที่สุดในรูปแบบหนึ่ง ความพยายามทำความเข้าใจรากฐานนี้ส่งผลให้เกิดการศึกษาคณิตตรรกศาสตร์ และ
คณิตตรรกศาสตร์ | ทฤษฎีเซต | ทฤษฎีการคำนวณ |
- - รากฐานของคณิตศาสตร์ - ทฤษฎีเซต - ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ - - - ตรรกศาสตร์
คณิตศาสตร์บริสุทธิ์
ปริมาณ ระบบจำนวนและทฤษฎีจำนวน
- การศึกษาเกี่ยวกับปริมาณเริ่มต้นจากจำนวน จำนวนแรก ๆ คือจำนวนนับหรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ก่อนจะขยายไปสู่จำนวนเต็ม และการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร ซึ่งเรียกรวมว่าเป็นการศึกษาเลขคณิต สมบัติที่ซับซ้อนมากขึ้นของจำนวนเต็มถูกศึกษาในวิชาทฤษฎีจำนวน ซึ่งมีทฤษฎีบทที่มีชื่อเสียงเช่น ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา นอกจากนี้ทฤษฎีจำนวนยังมีข้อความคาดการณ์จำนวนมากที่ยังแก้ไม่ได้ เช่น ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝด และข้อความคาดการณ์ของก็อลท์บัค
- ระบบจำนวนได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นเป็นระบบจำนวนตรรกยะหรือเศษส่วน และในภายหลังเป็นส่วนหนึ่งของระบบจำนวนจริง อีกที ซึ่งกำหนดให้เป็นลิมิตของลำดับของจำนวนตรรกยะและเป็นระบบจำนวนที่มีความต่อเนื่อง ระบบจำนวนจริงถูกขยายนัยทั่วไปเป็นระบบจำนวนเชิงซ้อน และจาก ทุกสมการพหุนามในตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเชิงซ้อน และไม่ใช่พหุนามคงตัวจะมีรากเสมอ
- ระบบจำนวนนับยังถูกขยายต่อโดยแบ่งตามสมบัติที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากจำนวนนับมีหน้าที่ได้สองแบบ คือ จำนวนนับใช้เพื่อบ่งบอกจำนวนของวัตถุในกลุ่ม ๆ หนึ่ง และจำนวนนับใช้เพื่อบ่งบอกอันดับของวัตถุในกลุ่ม ๆ หนึ่ง แนวคิดแรกนำไปสู่จำนวนเชิงการนับซึ่งสามารถใช้เปรียบเทียบขนาดของเซตอนันต์ได้ และแนวคิดหลักนำไปสู่แนวคิดเรื่องจำนวนเชิงอันดับที่
จำนวนธรรมชาติ | จำนวนเต็ม | จำนวนตรรกยะ | จำนวนจริง | จำนวนเชิงซ้อน |
- จำนวน - จำนวนธรรมชาติ - จำนวนเต็ม - จำนวนตรรกยะ - จำนวนจริง - จำนวนเชิงซ้อน - จำนวนเชิงพีชคณิต - ควอเทอร์เนียน - ออกโทเนียน - จำนวนเชิงอันดับที่ - - - ค่าคงที่ทางคณิตศาสตร์ - อนันต์
โครงสร้าง
- สาขาเหล่านี้ ศึกษาขนาดและความสมมาตรของจำนวนและวัตถุทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ
ทฤษฎีจำนวน | ทฤษฎีกรุป | ทฤษฎีกราฟ |
- พีชคณิตนามธรรม - ทฤษฎีจำนวน - ทฤษฎีกรุป - ทอพอโลยี - พีชคณิตเชิงเส้น - -
ปริภูมิ
- สาขาเหล่านี้ มักใช้วิธีการเชิงรูปภาพมากกว่าในสาขาอื่น ๆ
เรขาคณิต | ตรีโกณมิติ | ทอพอโลยี | เรขาคณิตสาทิสรูป | ทฤษฎีเมเชอร์ |
- ทอพอลอยี - เรขาคณิต - ตรีโกณมิติ - เรขาคณิตเชิงพีชคณิต - - - - พีชคณิตเชิงเส้น - เรขาคณิตสาทิสรูป
ความเปลี่ยนแปลง
- หัวข้อเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับการวัดความเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงระหว่างจำนวน
แคลคูลัส | แคลคูลัสเวกเตอร์ | การวิเคราะห์เชิงซ้อน | สมการเชิงอนุพันธ์ | ทฤษฎีความอลวน |
- แคลคูลัส - แคลคูลัสเวกเตอร์ - คณิตวิเคราะห์ - การวิเคราะห์เชิงจริง - การวิเคราะห์เชิงซ้อน - ทฤษฎีเมเชอร์ - - - สมการเชิงอนุพันธ์ - - ทฤษฎีความอลวน -
วิยุตคณิต
- วิยุตคณิต คือแขนงของคณิตศาสตร์ที่สนใจวัตถุที่มีค่าเฉพาะเจาะจงที่แตกต่างกัน
คณิตศาสตร์เชิงการจัด | ทฤษฎีการคำนวณ | วิทยาการเข้ารหัสลับ | ทฤษฎีกราฟ |
คณิตศาสตร์ประยุกต์
- สาขาในคณิตศาสตร์ประยุกต์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในโลกของความเป็นจริง
- คณิตศาสตร์ฟิสิกส์ - กลศาสตร์ - กลศาสตร์ของไหล - การวิเคราะห์เชิงตัวเลข - - ความน่าจะเป็น - สถิติศาสตร์ - คณิตศาสตร์การเงิน - ทฤษฎีเกม - คณิตศาสตร์ชีววิทยา - วิทยาการเข้ารหัสลับ - ทฤษฎีข้อมูล - ทฤษฎีระบบควบคุม
เครื่องมือทางคณิตศาสตร์
อ้างอิง
- ไม่มีภาพหรือคำบรรยายลักษณะรูปร่างของยุคลิดหลงเหลือมายังปัจจุบัน ดังนั้นภาพยุคลิดในงานศิลปะทั้งหมดมาจากจินตนาการของผู้เขียน (ดูเพิ่มที่ ยุคลิด)
- Mura, Roberta (1993). "Images of mathematics held by university teachers of mathematical sciences". Educational Studies in Mathematics (ภาษาอังกฤษ). 25 (4): 375–385. doi:10.1007/BF01273907. ISSN 0013-1954.
- "mathematic | Origin and meaning of mathematic by Online Etymology Dictionary". www.etymonline.com (ภาษาอังกฤษ).
- S. Dehaene; G. Dehaene-Lambertz; L. Cohen (Aug 1998). "Abstract representations of numbers in the animal and human brain". Trends in Neuroscience. 21 (8): 355–361. doi:10.1016/S0166-2236(98)01263-6. PMID 9720604.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
ภาษาไทย
- คณิตศาสตร์เบื้องต้น 2014-11-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากสารานุกรมสำหรับเยาวชน
- แหล่งรวมความรู้ด้านคณิตศาสตร์ 2008-12-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
ภาษาอื่น
- สารานุกรมคณิตศาสตร์ (อังกฤษ)
- The Mathematical Atlas 2004-04-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - แนะนำสาขาต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์สมัยใหม่
- Planet Math 2005-06-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - สารานุกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศาสตร์สมัยใหม่
- MathWorld - สารานุกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศาสตร์ดั้งเดิม
- Metamath - อธิบาย และพิสูจน์หลักการทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน
- Interactive Mathematics Miscellany and Puzzles - บทความ และเกมคณิตศาสตร์ เล่นออนไลน์ได้
ชุมชนไทย
- ศูนย์กลางคณิตศาสตร์ไทย - เว็บไซต์สำหรับผู้มีใจรักคณิตศาสตร์
- เครื่องคิดเลข - เว็บไซต์สำหรับคำนวณเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnitxngkarcdrupaebbkhxkhwam karcdhna karaebnghwkhx karcdlingkphayin aelaxun bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khnitsastr xngkvs Mathematics epnsastrthikhrxbkhlumkarkhnkhwaekiywkb okhrngsrang aelapriphumi khnitsastrimmikhaniyamthiepnthiyxmrbknthwip klawkhraw idwakhnitsastrnnsnic ruprangaelacanwn aelaenuxngcakkhnitsastrmiidsrangkhwamruphankrabwnkarthdlxng bangkhncungimcdwakhnitsastrepnsakhakhxngwithyasastryukhlid kalngthuxkhaliepxr nkkhnitsastrchawkrik insmy 300 pikxnkhristkal phaphwadkhxngrafaexlinchux orngeriynaehngexethns khnitsastrinpccubnepnkhnitsastrthiyudoyngkbokhrngsrangnamthrrmthithukkahndkhunphanthangklumkhxngscphcn aelaxasykarihehtuphlthirdkumodyichtrrksastrsylksn aelasykrnkhnitsastr okhrngsrangtang thinkkhnitsastrsnicaelaphicarnann mkcamitnkaenidcakwithyasastrthrrmchati aelasngkhmsastr odyechphaafisiks aelaesrsthsastr pyhathangkhnitsastrinpccubn yngekiywkhxngkbkarprayuktichinsakhawithyakarkhxmphiwetxr aela xikdwy enuxngcakkhnitsastrnnichtrrksastrsylksnaelasykrnkhnitsastr sungthaihkickrrmthukxyangkrathaphanthangkhntxnthichdecn eracungsamarthphicarnakhnitsastrwa epnrabbphasathiephimkhwamaemnyaaelachdecnihkbphasathrrmchati phanthangsphthaelaiwyakrnbangxyang sahrbkarxthibayaelasuksakhwamsmphnththngthangkayphaphaelanamthrrm khwamhmaykhxngkhnitsastrnnyngmixikhlaymummxng sunghlayxnthukklawthunginbthkhwamekiywkbprchyakhxngkhnitsastr khnitsastryngthukcdwaepnsastr odyimcaepntxngmikarxangthungid cakolkphaynxk nkkhnitsastrkahndaelaphicarnaokhrngsrangbangpraephth sahrbichinkhnitsastrexngodyechphaa enuxngcakokhrngsrangehlani xacthaihsamarthxthibaysakhayxy hlay sakhaidinphaphrwm hruxepnpraoychninkarkhanwnphunthanthimakhxngkhakhawa khnitsastr khaxan kha nid ta sad macakkhawa khnit karnb hrux khanwn aela sastr khwamru hrux karsuksa sungrwmknmikhwamhmayodythwipwa karsuksaekiywkbkarkhanwn hrux wichathiekiywkbkarkhanwn swninphasaxngkvs khawakhnitsastrtrngkbkhawa mathematics sungmacakkhaphasakrikobran ma8hma mathema sungdngedimhmaythung singthiideriyn singthicaidthrab cungkhyaykhwamhmayxxkiprwmthungkhwamhmay withyasastr khwamru aelakareriyn inxemrikaehnuxniymyxkhawa mathematics wa math swnpraethsxun thiichphasaxngkvsniymyxwa mathscudmunghmaykhxngkhnitsastrkhnitsastrmicuderimtncakpyhacanwnmakthihlakhlay inyukhaerkerimkhnitsastrmacakkhwamcaepnephuxkarkha karrngwdthidin sthaptykrrmsastraeladarasastr inkhnathipccubn withyasastrepnsakhasakhythiesnxpyhaaelanaipsukarkhnkhwahwkhxihm sahrbnkkhnitsastr thngniyngimrwmthungkhxpyhathiekidkhuncakkarsuksakhnitsastrintwmnexngkhxngnkkhnitsastrdwy khwamruthangdankhnitsastrephimkhunxyangsmaesmx phanthangkarwicyaelakarprayuktich khnitsastrepnekhruxngmuxxnhnungkhxngwithyasastr xyangirktam karkhidkhnthangkhnitsastrimcaepntxngmiepahmayxyuthikarnaipichthangwithyasastr du khnitsastrbrisuththi aelakhnitsastrprayukt nxkcakni nkkhnitsastrhlaykhnkthanganephuxepahmayechingsunthriyphaphethann odymxngwakhnitsastrepnsastrechingsilpa makkwathicaepnsastrephuxkarnaipprayuktich dngechn thiidklawiwinhnngsux A Mathematician s Apology aerngphlkdninkarthanganechnni milksnaimtangipcakthikwiaelankprchyaidprasb aelaepnsingthiimsamarthxthibayid xlebirt ixnsitn klawwa khnitsastrepnrachinikhxngwithyasastr inhnngsux Ideas and Opinions khxngekhaprawtiswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid thvsdikhxngtrrksastrpraktkhuninhlaywthnthrrmthwolk echninxinediy cin krikobranaelaolkxislam trrksastrthipraktinwthnthrrmkrik odyechphaatrrksastraebbxrisotetilaebbthipraktinngan thukichaephrhlayinolktawntk inchwngstwrrsthi 18 nkkhnitsastrthisninprchya echnilbnis aela mikhwamphyayamsuksatrrksastrihxyuinrupsylksn hruxinechingphichkhnit aetnganthiphwkekhathannimepnthiaephrhlayethaidnk cnkrathngcxrc bulaelatamdwy inchwngklangkhxngkhriststwrrsthi 19 idnaesnxtrrksastraebbxrisotetilphanrupaebbechingphichkhnit cudnikxihekidkarphthnaekhruxngmux thisamarthichephuxsuksamonthsnphunthankhxngkhnitsastrid khngcaimthuknkthacaklawwakarotaeyngechingrakthanthimikhuninchwng kh s 1900 1925 idphbkbkhatxbthinaphxicaelw aetxyangirktamtrrksastr aenwihm nikidchwyihkhwamkracangindankhxngepnxyangying inkhnathiphthnakartamaenwthangdngedimkhxngtrrksastr du nn ihkhwamsakhyxyangsungkb rupaebbkhxngkarihehtuphl mummxngkhxngkhnittrrksastrinpccubnklbsamarthklawidwaepn karsuksaechingkarcdklumkhxngenuxha the combinatorial study of content sungkhrxbkhlumthungswnthiepn echingsngekhraah echn karsngkhxkhwamcakipyngkhxmiphelxrephuxepliynepnphasaekhruxng aelaswnthiepn echingkhwamhmay karsrangomedl hruxestkhxngomedlthnghmdin phlngantiphimphsakhykhux khxng aela khxngebxrthrnd rsesl phthnakar nkkhnitsastrkrikphithaokrs kh s 570 kh s 495 kxnkhristskrach idrbkarykyxngineruxngthiekiywkhxngkbkarkhnphbthvsdibthphithaokrs Pythagorean theorem wiwthnakarkhxngkhnitsastrxacthukmxngwaepnchudkhxngkarephimkhunkhxngphawanamthrrmhruxxacepnkarkhyaytwkhxngwichathiekiywkbssar phawanamthrrmthiekidkhunepnkhrngaerknn miswnekiywkhxngkbstwhlay chnid epnkhwamnacaepnthiekiywkhxngkbcanwnsakhakhxngkhnitsastrinechingphaphrwmxacklawidwa khnitsastrsamarthaebngxxkepnsakhayxy tamsingthisuksaidepn karsuksapriman okhrngsrang priphumiaelakhwamepliynaeplng sungtrngkbsakhaelkhkhnit phichkhnit erkhakhnit aelakhnitwiekhraahtamladb nxkcaknieraxacphicarnakhnitsastrphankhwamsmphnthkbsakhaxun echn khnittrrksastrkbtrrksastr khnitsastrprayuktkbwithyasastr pccubneraphbwahlaysakhakhxngkhnitsastrthiduphiwephincaimekiywkhxngkn klbsmphnthknxyangluksung echn aelathvsdicanwn sungduaeykxxkcakknodysinechingnn ekiywenuxngknphanmummxngkhxng rakthanaelaprchya hlngcakkarphthnathvsdiestinplaystwrrsthi 19 thaihthvsdiestklayepnrakthankhxngkhnitsastrthisakhymakthisudinrupaebbhnung khwamphyayamthakhwamekhaicrakthannisngphlihekidkarsuksakhnittrrksastr aela p q displaystyle p Rightarrow q khnittrrksastr thvsdiest thvsdikarkhanwn rakthankhxngkhnitsastr thvsdiest trrksastrsylksn trrksastrkhnitsastrbrisuththi priman rabbcanwnaelathvsdicanwn karsuksaekiywkbprimanerimtncakcanwn canwnaerk khuxcanwnnbhruxcanwnthrrmchati N displaystyle mathbb N sungepnthiruckkndi kxncakhyayipsucanwnetm Z displaystyle mathbb Z aelakardaeninkarthiekiywkhxng echn karbwk karlb karkhun karhar sungeriykrwmwaepnkarsuksaelkhkhnit smbtithisbsxnmakkhunkhxngcanwnetmthuksuksainwichathvsdicanwn sungmithvsdibththimichuxesiyngechn thvsdibthsudthaykhxngaefrma nxkcaknithvsdicanwnyngmikhxkhwamkhadkarncanwnmakthiyngaekimid echn khxkhwamkhadkarncanwnechphaakhuaefd aelakhxkhwamkhadkarnkhxngkxlthbkh rabbcanwnidrbkarphthnaephimkhunepnrabbcanwntrrkyahruxessswn Q displaystyle mathbb Q aelainphayhlngepnswnhnungkhxngrabbcanwncring R displaystyle mathbb R xikthi sungkahndihepnlimitkhxngladbkhxngcanwntrrkyaaelaepnrabbcanwnthimikhwamtxenuxng rabbcanwncringthukkhyaynythwipepnrabbcanwnechingsxn C displaystyle mathbb C aelacak thuksmkarphhunamintwaeprediywthimismprasiththiepncanwnechingsxn aelaimichphhunamkhngtwcamirakesmx rabbcanwnnbyngthukkhyaytxodyaebngtamsmbtithiekiywkhxng enuxngcakcanwnnbmihnathiidsxngaebb khux canwnnbichephuxbngbxkcanwnkhxngwtthuinklum hnung aelacanwnnbichephuxbngbxkxndbkhxngwtthuinklum hnung aenwkhidaerknaipsucanwnechingkarnbsungsamarthichepriybethiybkhnadkhxngestxnntid aelaaenwkhidhlknaipsuaenwkhideruxngcanwnechingxndbthi1 2 3 displaystyle 1 2 3 2 1 0 1 2 displaystyle 2 1 0 1 2 2 23 1 21 displaystyle 2 frac 2 3 1 21 e 2 3 p displaystyle e sqrt 2 3 pi 2 i 2 3i 2ei4p3 displaystyle 2 i 2 3i 2e i frac 4 pi 3 ℵ0 ℵ1 ℵw displaystyle aleph 0 aleph 1 dotsc aleph omega canwnthrrmchati canwnetm canwntrrkya canwncring canwnechingsxncanwn canwnthrrmchati canwnetm canwntrrkya canwncring canwnechingsxn canwnechingphichkhnit khwxethxreniyn xxkotheniyn canwnechingxndbthi khakhngthithangkhnitsastr xnntokhrngsrang sakhaehlani suksakhnadaelakhwamsmmatrkhxngcanwnaelawtthuthangkhnitsastrtang thvsdicanwn thvsdikrup thvsdikrafphichkhnitnamthrrm thvsdicanwn thvsdikrup thxphxolyi phichkhnitechingesn priphumi sakhaehlani mkichwithikarechingrupphaphmakkwainsakhaxun erkhakhnit trioknmiti thxphxolyi erkhakhnitsathisrup thvsdiemechxrthxphxlxyi erkhakhnit trioknmiti erkhakhnitechingphichkhnit phichkhnitechingesn erkhakhnitsathisrupkhwamepliynaeplng hwkhxehlani ekiywkhxngkbkarwdkhwamepliynaeplngkhxngfngkchnthangkhnitsastr aelakhwamepliynaeplngrahwangcanwnaekhlkhuls aekhlkhulsewketxr karwiekhraahechingsxn smkarechingxnuphnth thvsdikhwamxlwnaekhlkhuls aekhlkhulsewketxr khnitwiekhraah karwiekhraahechingcring karwiekhraahechingsxn thvsdiemechxr smkarechingxnuphnth thvsdikhwamxlwn wiyutkhnit wiyutkhnit khuxaekhnngkhxngkhnitsastrthisnicwtthuthimikhaechphaaecaacngthiaetktangkn 1 2 3 1 3 2 2 1 3 2 3 1 3 1 2 3 2 1 displaystyle begin matrix 1 2 3 amp 1 3 2 2 1 3 amp 2 3 1 3 1 2 amp 3 2 1 end matrix khnitsastrechingkarcd thvsdikarkhanwn withyakarekharhslb thvsdikrafkhnitsastrechingkarcd thvsdikarkhanwn withyakarekharhslb thvsdikrafkhnitsastrprayukt sakhainkhnitsastrprayukt ichkhwamruthangkhnitsastrephuxaekpyhainolkkhxngkhwamepncringfisiksechingkhnitsastr klsastrkhxngihl karwiekhraahechingtwelkh karhakhaehmaathisud khwamnacaepn sthitisastr khnitsastrkarengin thvsdiekm thvsdirabbkhwbkhum khnitsastrfisiks klsastr klsastrkhxngihl karwiekhraahechingtwelkh khwamnacaepn sthitisastr khnitsastrkarengin thvsdiekm khnitsastrchiwwithya withyakarekharhslb thvsdikhxmul thvsdirabbkhwbkhumekhruxngmuxthangkhnitsastrlukkhid kraduknaepiyr imbrrthd aela ekhruxngkhidelkh aela khxmphiwetxr phasaopraekrmxangxingimmiphaphhruxkhabrryaylksnaruprangkhxngyukhlidhlngehluxmayngpccubn dngnnphaphyukhlidinngansilpathnghmdmacakcintnakarkhxngphuekhiyn duephimthi yukhlid Mura Roberta 1993 Images of mathematics held by university teachers of mathematical sciences Educational Studies in Mathematics phasaxngkvs 25 4 375 385 doi 10 1007 BF01273907 ISSN 0013 1954 mathematic Origin and meaning of mathematic by Online Etymology Dictionary www etymonline com phasaxngkvs S Dehaene G Dehaene Lambertz L Cohen Aug 1998 Abstract representations of numbers in the animal and human brain Trends in Neuroscience 21 8 355 361 doi 10 1016 S0166 2236 98 01263 6 PMID 9720604 duephimsthaniyxykhnitsastresnewlakhxngkhnitsastraehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb khnitsastr phasaithy khnitsastrebuxngtn 2014 11 13 thi ewyaebkaemchchin caksaranukrmsahrbeyawchn aehlngrwmkhwamrudankhnitsastr 2008 12 08 thi ewyaebkaemchchin cakekhruxkhaykhxmphiwetxrephuxorngeriynithyphasaxun saranukrmkhnitsastr xngkvs The Mathematical Atlas 2004 04 03 thi ewyaebkaemchchin aenanasakhatang khxngkhnitsastrsmyihm Planet Math 2005 06 07 thi ewyaebkaemchchin saranukrmkhnitsastr ennkhnitsastrsmyihm MathWorld saranukrmkhnitsastr ennkhnitsastrdngedim Metamath xthibay aelaphisucnhlkkarthangkhnitsastrtang xyangepnkhnepntxn Interactive Mathematics Miscellany and Puzzles bthkhwam aelaekmkhnitsastr elnxxnilnidchumchnithy sunyklangkhnitsastrithy ewbistsahrbphumiicrkkhnitsastr ekhruxngkhidelkh ewbistsahrbkhanwnekiywkbkhnitsastr