ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
จำนวนเชิงอันดับที่ (อังกฤษ: ordinal numbers) ในทฤษฎีเซต เป็นรูปแบบจำนวนที่เพิ่มเติมจากระบบจำนวนธรรมชาติ ซึ่งใช้ในการอธิบายวิธีการจัดอันดับเซตของวัตถุ หากมีชุดของวัตถุที่มีขนาดจำกัด เราสามารถจัดอันดับได้โดยการนับธรรมดา นั่นคือการไล่จับคู่วัตถุในเซตกับจำนวนธรรมชาติ ในทำนองเดียวกันนี้ เราใช้จำนวนเชิงอันดับที่ในการจัดอันดับของวัตถุในเซตใด ๆ ซึ่งอาจมีขนาดเป็นอนันต์ก็ได้
จำนวนเชิงอันดับที่ แสดงถึงภาวะเชิงอันดับที่ของ (well-ordered set) หมายถึงเซตที่มีการนิยามความสัมพันธ์ > บนเซต ซึ่งมีสมบัติได้แก่
- สำหรับ x และ y ใด ๆ ในเซต ความสัมพันธ์ x > y หรือ x = y หรือ y > x จะเป็นจริงหนึ่งความสัมพันธ์เสมอ
- สำหรับ x y และ z ใด ๆ ในเซต ถ้า x > y และ y > z แล้ว x > z
- ทุกสับเซตมีสมาชิกต่ำสุด นั่นคือ ทุกสับเซตมี x หนึ่งตัว ที่ไม่มี y ในสับเซตที่ x > y
เซตอันดับดีสองเซตจะมีภาวะเชิงอันดับที่เดียวกัน ก็ต่อเมื่อมีฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึงจากเซตหนึ่งไปอีกเซตที่รักษาการจัดอันดับในเซต
จำนวนเชิงอันดับที่ต่างจาก (cardinal numbers) ซึ่งใช้แสดงขนาดของเซตโดยไม่คำนึงการจัดอันดับของสมาชิก ความแตกต่างนี้ไม่ชัดเจนสำหรับเซตจำกัด ซึ่งจำนวนเชิงอันดับที่หนึ่งตัวจะตรงกับจำนวนเชิงการนับหนึ่งตัวเสมอ แต่สำหรับเซตอนันต์ที่มีจำนวนเชิงการนับเดียวกัน อาจมีจำนวนเชิงอันดับที่ต่างกันได้
จำนวนเชิงอันดับที่สามารถนำมาบวก คูณ และยกกำลังได้เหมือนจำนวนแบบอื่น ๆ แตไม่มีสมบัติสลับที่
การนิยาม
จำนวนธรรมชาติ (ในที่นี้รวม 0) สามารถใช้ในการแสดงสมบัติสองอย่างที่ต่างกันคือ ขนาดของเซต หรือ อันดับที่ของสมาชิกในเซต ซึ่งสำหรับเซตจำกัดสมบัติทั้งสองตัวนี้จะเทียบเท่ากัน แต่สำหรับเซตอนันต์ เราจะขยายจำนวนธรรมชาติได้สองแบบ คือจำนวนเชิงการนับซึ่งแสดงขนาด และจำนวนเชิงอันดับที่ซึ่งแสดงอันดับของสมาชิก ซึ่งเซตอนันต์แต่ละเซตจะมีจำนวนเชิงการนับค่าเดียว แต่สามารถจัดเรียงอันดับสมาชิกให้เป็นเซตอันดับดีได้หลายแบบ
หากเรามีเซตจำกัดอันดับดี เราสามารถจับคู่ 0 กับสมาชิกตัวแรกในเซต จับคู่ 1 กับสมาชิกตัวต่อมา จับคู่ 2 กับสมาชิกถัดไปอีก เช่นนี้ไปจนครบสมาชิกทุกตัวในเซต ซึ่งจะสังเกตได้ว่า ขนาดของเซตจะตรงกับจำนวนธรรมชาติที่น้อยที่สุดที่ไม่ได้จับคู่กับสมาชิกในเซต จากข้อสังเกตนี้ เราจึงนำมาใช้ในการนิยามจำนวนเชิงอันดับที่จากเซตของจำนวนที่น้อยกว่า เช่น 42 แสดงถึงภาวะเชิงอันดับที่ของเซต {0,1,...,41} เราจึงนิยาม 42 เป็นเซตนั้นได้ จากนิยามนี้ จะได้ว่า หากจำนวนเชิงอันดับที่ α กับ β มีคุณสมบัติว่า β < α แล้ว β ∈ α
เมื่อใช้นิยามนี้ต่อไป จะได้นิยามจำนวนเชิงอันดับที่อนันต์ตัวแรก คือ ω ซึ่งแสดงภาวะเชิงอันดับที่ของเซตของจำนวนธรรมชาติ(หรือเทียบเท่ากับจำนวนเชิงอันดับที่จำกัด)ทั้งหมด ตามด้วย ω+1 ω+2 ω+3 ไปเรื่อย ๆ ตามด้วย ω·2 (= ω+ω) ω·2+1 ω·2+2 ไปเรื่อย ๆ ตามด้วย ω·3 และหลังจากนั้นตามด้วย ω·4 ไปเรื่อย ๆ เซตของจำนวนเชิงอันดับที่ในรูป ω·m+n เมื่อ m กับ n เป็นจำนวนธรรมชาติ ก็จะมีจำนวนเชิงอันดับที่ของมันอีก คือ ω2 ในทำนองเดียวกันก็มี ω3 ω4 ไปเรื่อย ๆ จนถึง ωω จากนั้นก็มี ωωω ωωωωไปจนถึง ε0 และก็ยังสร้างจำนวนเชิงอันดับที่ผ่านนิยามเดิมต่อไปได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด (ทุกครั้งที่มีการกล่าวว่า "ไปเรื่อย ๆ" เราก็ยังสามารถนิยามจำนวนเชิงอันดับที่ที่มากกว่าทุกจำนวนที่อยู่ในคำว่า "ไปเรื่อย ๆ" โดยการสร้างเซตอันดับดีของจำนวนเหล่านั้น แล้วนิยามมันเป็นจำนวนเชิงอันดับที่ตัวถัดไป) ซึ่งทุกจำนวนที่กล่าวมาถึงจุดนี้ยังคงเป็นอนันต์แบบนับได้ เและเซตของจำนวนเชิงอันดับที่นับได้ทั้งหมดมีภาวะเชิงอันดับที่เป็นจำนวนเชิงอันดับที่นับไม่ได้ตัวแรกคือ ω1 โดยเลขอะเลฟที่ใช้ ω1 เป็นเลขจำนวนเริ่มต้นคือ א1
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud canwnechingxndbthi xngkvs ordinal numbers inthvsdiest epnrupaebbcanwnthiephimetimcakrabbcanwnthrrmchati sungichinkarxthibaywithikarcdxndbestkhxngwtthu hakmichudkhxngwtthuthimikhnadcakd erasamarthcdxndbidodykarnbthrrmda nnkhuxkarilcbkhuwtthuinestkbcanwnthrrmchati inthanxngediywknni eraichcanwnechingxndbthiinkarcdxndbkhxngwtthuinestid sungxacmikhnadepnxnntkidcanwnechingxndbthitngaet 0 thung ww karwnrxbwngknhxy 1 rxb aesdngthungelkhchikalngkhxng w ephimkhun 1 canwnechingxndbthi aesdngthungphawaechingxndbthikhxng well ordered set hmaythungestthimikarniyamkhwamsmphnth gt bnest sungmismbtiidaek sahrb x aela y id inest khwamsmphnth x gt y hrux x y hrux y gt x caepncringhnungkhwamsmphnthesmx sahrb x y aela z id inest tha x gt y aela y gt z aelw x gt z thuksbestmismachiktasud nnkhux thuksbestmi x hnungtw thiimmi y insbestthi x gt y estxndbdisxngestcamiphawaechingxndbthiediywkn ktxemuxmifngkchnhnungtxhnungthwthungcakesthnungipxikestthirksakarcdxndbinest canwnechingxndbthitangcak cardinal numbers sungichaesdngkhnadkhxngestodyimkhanungkarcdxndbkhxngsmachik khwamaetktangniimchdecnsahrbestcakd sungcanwnechingxndbthihnungtwcatrngkbcanwnechingkarnbhnungtwesmx aetsahrbestxnntthimicanwnechingkarnbediywkn xacmicanwnechingxndbthitangknid canwnechingxndbthisamarthnamabwk khun aelaykkalngidehmuxncanwnaebbxun aetimmismbtislbthikarniyamcanwnthrrmchati inthinirwm 0 samarthichinkaraesdngsmbtisxngxyangthitangknkhux khnadkhxngest hrux xndbthikhxngsmachikinest sungsahrbestcakdsmbtithngsxngtwnicaethiybethakn aetsahrbestxnnt eracakhyaycanwnthrrmchatiidsxngaebb khuxcanwnechingkarnbsungaesdngkhnad aelacanwnechingxndbthisungaesdngxndbkhxngsmachik sungestxnntaetlaestcamicanwnechingkarnbkhaediyw aetsamarthcderiyngxndbsmachikihepnestxndbdiidhlayaebb hakeramiestcakdxndbdi erasamarthcbkhu 0 kbsmachiktwaerkinest cbkhu 1 kbsmachiktwtxma cbkhu 2 kbsmachikthdipxik echnniipcnkhrbsmachikthuktwinest sungcasngektidwa khnadkhxngestcatrngkbcanwnthrrmchatithinxythisudthiimidcbkhukbsmachikinest cakkhxsngektni eracungnamaichinkarniyamcanwnechingxndbthicakestkhxngcanwnthinxykwa echn 42 aesdngthungphawaechingxndbthikhxngest 0 1 41 eracungniyam 42 epnestnnid cakniyamni caidwa hakcanwnechingxndbthi a kb b mikhunsmbtiwa b lt a aelw b a aephnphaphaesdngcanwnechingxndbthi w2 aethngaetlaaethngepncanwnechingxndbthithiekhiynepn w m n id tngaet 0 xyusaysud phiramid aetlarupepn w hnungtw emuxichniyamnitxip caidniyamcanwnechingxndbthixnnttwaerk khux w sungaesdngphawaechingxndbthikhxngestkhxngcanwnthrrmchati hruxethiybethakbcanwnechingxndbthicakd thnghmd tamdwy w 1 w 2 w 3 iperuxy tamdwy w 2 w w w 2 1 w 2 2 iperuxy tamdwy w 3 aelahlngcaknntamdwy w 4 iperuxy estkhxngcanwnechingxndbthiinrup w m n emux m kb n epncanwnthrrmchati kcamicanwnechingxndbthikhxngmnxik khux w2 inthanxngediywknkmi w3 w4 iperuxy cnthung ww caknnkmi www wwwwipcnthung e0 aelakyngsrangcanwnechingxndbthiphanniyamedimtxipidxyangimmithisinsud thukkhrngthimikarklawwa iperuxy erakyngsamarthniyamcanwnechingxndbthithimakkwathukcanwnthixyuinkhawa iperuxy odykarsrangestxndbdikhxngcanwnehlann aelwniyammnepncanwnechingxndbthitwthdip sungthukcanwnthiklawmathungcudniyngkhngepnxnntaebbnbid eaelaestkhxngcanwnechingxndbthinbidthnghmdmiphawaechingxndbthiepncanwnechingxndbthinbimidtwaerkkhux w1 odyelkhxaelfthiich w1 epnelkhcanwnerimtnkhux א1 bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk