ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
รายการต่อไปนี้เป็นตารางซึ่งแสดงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ โดยสัญลักษณ์ดังกล่าวตัวแทนของความหมายต่างๆ โดยเมื่อเวลาผ่านไป สัญลักษณ์และความหมายของสัญลักษณ์จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อาทิ "≡"อาจจะแทนความหมายว่า "สอดคล้อง" หรือ "เป็นนิยามของ" ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ในคณิตศาสตร์ในเชิงตัวเลข บางกรณี ความเท่าเทียม อาจแทนที่ด้วย"≡"แทน"=" หรือเป็นตัวแทนถึงความเท่าเทียมของ well-formed formulas (WFF's) เพื่อแทนความหมายนั้นๆ
ชี้แจง
รายการนี้ได้รับการจัดระเบียบตาม "ความสัมพันธ์"
วิกิตำรามีเอกสารสำหรับการใช้สัญลักษณ์ในแบบ LaTex และยังครอบคลุมถึงการอธิบายเรื่องสัญลักษณ์ LaTex สัญลักษณ์อาจจะถูกเพิ่มเข้าผ่านทางทางเลือกอื่น อย่างเช่นการตั้งค่าเอกสารขึ้นมาเพื่อสนับสนุนยูนิโค้ด
อนึ่ง การคัดลอกและการวางใช้แป้นพิมพ์คำสั่ง \unicode{<insertcodepoint>}
)
- สัญลักษณ์พื้นฐาน: สัญลักษณ์ที่ใช้อย่างกว้างขวางในวงการคณิตศาสตร์ ประมาณแคลคูลัสพื้นฐาน ความหมายนอกเหนือจากปกติก็มี
- สัญลักษณ์แทนความเท่าเทียม"=": สัญลักษณ์บางตัวที่แสดงถึง "ความเท่าเทียม" ในเรื่อง กลุ่มของความเท่าเทียมก็ใช้
- สัญลักษณ์ที่ชี้ไปทางซ้าย/ขวา : เช่น < และ > ที่ชี้ไปทางซ้าย/ขวา
- "ช่องว่าง": สัญลักษณ์ที่วางไว้สองข้างของตัวแปรหรือเงื่อนไข เช่น |x||x|
- อื่น ๆ (ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์จากอักษร): สัญลักษณ์ที่ไม่สามารถจัดหมวดหมู่ได้
- อื่น ๆ (ที่เป็นสัญลักษณ์จากอักษร): สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์บางตัว ก็มาจากตัวอักษรภาษาอังกฤษ (รวมถึงตัวคว่ำบนล่างทะแยงตะแคงซ้ายขวา) บางตัวแทนได้หลายความหมาย
- ตัวอักษรจากตัวภาษาอังกฤษ: ส่วนใหญ่มักใช้ตัวอักษรจากตัวแรกของคำ
- ตัวอักษรที่มากจากอักษรละติน รวมถึงพวกสัญลักษณ์ X
- ตัวอักษรที่มาจากอักษรฮีบรูและอักษรกรีก เช่น ב,א,δ,Δ,π,Π,σ,Σ,Φ หมายเหตุ : สัญลักษณ์ "Λ" รวมกลุ่ม กับ "V" ของอักษรละติน
สัญลักษณ์พื้นฐาน
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
บวก | 4+6 หมายความว่า 4 บวก/และ 6 | 2+7=9 | |
บวก | |||
เลขคณิต | |||
Disjoint Union (ยูเนี่ยนที่ไม่มีอินเตอร์เซคชัน) | ผลรวมของ และ และ |
| |
ผลรวมของ...และ... | |||
เซต | |||
ลบ | หมายความว่า เอา ออกจาก | 36 − 11 = 25 | |
หักออก, ลบ, เอาออก | |||
เลขคณิต | |||
เครื่องหมายลบ | -3 หมายความว่า ของ 3 | -(-5)=5 | |
ลบ..., ตรงกันข้ามกับ | |||
เลขคณิต | |||
คอมพลี | A-B หมายความว่า นับเฉพาะส่วนของ A ที่ไม่อินเตอร์- เซคชั่นกับ B (หรือใช้ \ แทนคอมพลีเมนต์) | A={1,2,4}, B={1,3,4} A-B={2} | |
ลบ, โดยที่ไม่มี | |||
เซต | |||
บวกลบ | หมายความว่า 6+3 และ 6-3 | ผลลัพธ์ของ มีอยู่สองคำตอบ คือ และ | |
บวกหรือลบ | |||
เลขคณิต | |||
บวกลบ | 10 ± 2 หรือเท่ากับ 10 ± 20% หมายความว่า อยู่ในช่วงจำนวนตั้งแต่ 10 − 2 ถึง 10 + 2 | ถ้า a = 100 ± 1 mm แล้ว a ≥ 99 mm และ a ≤ 101 mm | |
บวกหรือลบ | |||
การวัด | |||
ลบบวก | 6 ± (3 ∓ 5) หมายความว่า 6 + (3 − 5) และ 6 − (3 + 5) | cos(x ± y) = cos(x) cos(y) ∓ sin(x) sin(y) | |
ลบหรือบวก | |||
เลขคณิต | |||
| คูณ | 3 × 4 หรือ 3 ⋅ 4 หมายความว่า นับ 3 ทั้งหมด 4 ครั้ง | 7 ⋅ 8 = 56 |
...ครั้ง, คูณ | |||
เลขคณิต | |||
ผลคูณเชิงสเกลาร์ | u ⋅ v หมายความว่า ผลของเวกเตอร์ u และ v | (1, 2, 5) ⋅ (3, 4, −1) = 6 | |
จุด | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
ผลคูณไขว้ | u × v หมายความว่า ผลคูณไขว้ของ u และ v | (1, 2, 5) × (3, 4, −1) = = (−22, 16, −2) | |
คูณไขว้กับ | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
ตัวเชื่อม | A · หมายถึงตัวยึดสำหรับอาร์กิวเมนต์ของฟังก์ชัน บ่งชี้ลักษณะการทำงานของนิพจน์โดยไม่กำหนดสัญลักษณ์เฉพาะสำหรับอาร์กิวเมนต์ | | · | | |
- | |||
Functional Analysis | |||
| หาร | 6 ÷ 3 หรือ 6 ⁄ 3 หมายความว่า แบ่ง 6 เป็น 3 ครั้ง ครั้งละเท่าๆกัน | 2 ÷ 4 = 0.5 12 ⁄ 4 = 3 |
หารด้วย, แบ่งด้วย, ส่วนด้วย | |||
เลขคณิต | |||
โควเชี่ยนกรุป | G / H หมายถึงผลหารของ G ได้ซับกรุป H | {0, a, 2a, b, b + a, b + 2a} / {0, b} = {{0, b}, {a, b + a}, {2a, b + 2a}} | |
โมดูลา | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
โควเชี่ยนเซต | A/~ หมายความว่า ชุดทั้งหมด (Equivalence class) ของ ~ A | ถ้ากำหนดให้ ~ โดยที่ x ~ y ⇔ x − y ∈ ℤ, แล้ว ℝ/~ = {x + n : n ∈ ℤ, x ∈ [0,1)} | |
โมดูลา | |||
เซต | |||
สแควร์รูท, กรณฑ์ | หมายความว่า จำนวนบวกที่ถูกถอดรากคือ x | ||
รากที่...ของ... | |||
จำนวนจริง | |||
สแควร์รูท (จำนวนเชิงซ้อน) | ถ้า z = r exp (iφ) แทนในพิกัดด้วย −π < φ ≤ π แล้ว √z = √r exp (iφ/2). | ||
รากที่...ของจำนวนเชิงซ้อน | |||
จำนวนเชิงซ้อน | |||
ผลรวม | หมายความว่า
| ||
รวมทั้งหมด จาก...ถึง... | |||
แคลคูลัส | |||
ปฏิยานุพันธ์ | หมายถึง ฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์เป็น | ||
ปฏิยานุพันธ์ของ... | |||
แคลคูลัส | |||
ปริพันธ์ | หมายถึงพื้นที่เฉพาะระหว่างแกน x และกราฟของฟังก์ชัน f ระหว่าง x = a และ x = b | ||
ปริพันธ์ของ...จาก... | |||
แคลคูลัส | |||
หมายถึงอิน-ทริกัลของ f ตามเส้นโค้ง C, ∫b ที่ๆ r คือ a พารามีทริเซชั่นของ C (ถ้าเป็นโค้งปิด อาจใช้ ∮ แทน) | |||
อินทริกัลของ...ตาม..ส่วนของ, | |||
แคลคูลัส | |||
การอินทริเกรตเชิงซ้อน | คล้ายอินทริกัลธรรมดา แต่ใช้กับรูปโค้งปิดหรือห่วง บางทีก็ใช้กับกฎของเกาส์ หรือจะแทนเรื่องอินทริกัลตามผิวและการตัดกันบนพื้นผิว ถ้าจะใช้ทั้งสองอย่าง จะมีสัญลักษณ์ ∯ โผล่มา และการอินทริกัลสามชั้นจะใช้ ∰ ใช้เพื่อแสดงว่าเป็นเส้นโค้งปิดรอบจุด C หรืออยู่บนจุด C | ถ้า C คือ เป็น 0 แล้ว | |
เป็นอินทริเกรตเชิงซ้อนของ | |||
แคลคูลัส | |||
| จุดไข่ปลา | ใช้ละประโยค/สมการที่ยาวมากๆ, ต้องแสดงในพื้นที่จำกัด | |
และ... | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ดังนั้น | ใช้ในการแสดงถึงผลของประโยคก่อนหน้า | จำนวนคู่ลบคี่แล้วได้จำนวนคี่ 0-1 = 1 0 เป็นจำนวนคู่ | |
ดังนั้น, ถ้า...แล้ว... | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
เพราะ | ใช้ในการให้เหตุผลของประโยคก่อนหน้า | 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ มีเพียง "1" เป็นตัวประกอบเดียวที่หารตัวมันเองลงตัว จำนวนเฉพาะมีตัวประกอบ 2 ตัว | |
เพราะ, เนื่องจาก | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
แฟคทอเรียล | เมื่อแยก จะได้ | ||
แฟคทอเรียล | |||
คณิตศาสตร์เชิงการจัด | |||
นิเสธ | !A แสดงว่า A เป็นเท็จ (ที่ใช้ตัว ! บางทีเอาไว้แทนตัว ¬) | !(!A) ⇔ A x ≠ y ⇔ !(x = y) | |
ไม่, ไม่จริงที่ว่า | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
| นิเสธ | แสดงว่า A เป็นเท็จ (นิยมใช้สัญลักษณ์ ~ และใช้ รองลงมา ส่วน ! นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ นิยมใช้เพื่อหลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์) | ¬(¬A) ⇔ A x ≠ y ⇔ ¬(x = y) |
ไม่, ไม่จริงที่ว่า | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
คงที่ต่อ | y ∝ x แสดงว่า y = kx เมื่อ k มีค่าคงที่ | ถ้า y = 2x แล้ว y สมมูลกับ x | |
สมมูลกับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
อินฟินิตี้, อนันต์ | ∞ รวมจำนวนที่อยู่และต่อจากเส้นจำนวน, ลิมิตของลำดับ | ||
เป็นอนันต์ | |||
จำนวน | |||
▮ | สิ้นสุดการพิสูจน์ | ใช้ในตอนท้ายของประโยคเพื่อแสดงว่าสิ้นสุดการพิสูจน์ หรือใช้ ซ.ต.พ. ก็ได้ | |
จบการพิสูจน์, Q.E.D. | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ |
สัญลักษณ์แทนความเท่าเทียม "="
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
เท่ากับ | x = y ดังนั้น x มีค่า/เหมือนกับ y | 2 = 2 1 + 1 = 2 (Tau/2) - pi = | |
เท่ากับ, เทียบเท่ากับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ไม่เท่ากับ | แสดงว่า x ไม่มีค่า/ไม่เหมือนกับ y (ส่วน !=, /= หรือ <> ส่วนใหญ่ใช้ในเชิงโปรแกรม เป็นรหัสแอสกี) |
| |
ไม่เท่ากับ, ไม่เทียบเท่ากับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ประมาณ | แสดงว่า x มีค่าใกล้เคียงกับ y อาจจะพบได้ในรูปของ ≃, ≅, ~, ♎ หรือ ≒ | π ≈ 3.14159 | |
ประมาณ, เกือบเท่ากับ, ใกล้เคียง | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
คล้ายกับ | G ≈ H แสดงว่ากรุป G มีความคล้ายคลึงกับ H (หรือจะใช้ ≅ แทน) | ||
...คล้ายกับ... | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
การแจกแจงความน่าจะเป็น | X ~ D หมายความว่า X เป็นตัวแปรสุ่มของ D | X ~ N (0,1) การแจกแจงปรกติ | |
แจกแจงให้แก่ | |||
สถิติ | |||
สมการสมมูล | A ~ B คือ สามารถสร้าง B ได้ โดยใช้การดำเนินการตามแถว | ||
สมมูลกับ | |||
เมทริกซ์ | |||
อันดับของขนาด | m ~ n แสดงว่า m และ n มีปริมาตร/ลำดับของขนาด แตกต่างกัน (อย่าลืมว่า ≈ แตกต่างจาก ~ นะครับ) | 2 ~ 5 8 × 9 ~ 100 "แต่" π2 ≈ 10 | |
แตกต่างจาก | |||
การประมาณค่า | |||
ความคล้าย | △ABC ~ หมายความว่า △ABC มีความคล้ายกับ △DEF | ||
คล้ายกับ | |||
เราขาคณิต | |||
การกระจายเชิงเส้นกำกับ | f ~ g คือ | x ~ x+1 | |
กระจายให้แก่... | |||
การวิเคราห์ความซับซ้อนของอัลกอรึทึม | |||
ความสัมพันธ์ | a ~ b คือ | 1 ~ 5 โมดูลัสกับ 4 | |
ใกล้เคียงกับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
| การนิยาม | x := y, y =: x หรือ x ≡ y หมายความว่า x คือ y และ y คือ x (p ⇔ q คือ p ก็ต่อเมื่อ q) |
|
นิยามได้ว่า, คือ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
เท่ากันทุกประการ | △ABC ≅ △DEF หมายความว่า △ABC เท่ากันทุกประการกับ △DEF (มีอัตราส่วนในแต่ละด้านเท่ากัน) | ||
เท่ากันทุกประการกับ | |||
เรขาคณิต | |||
คล้ายกัน | G ≅ H หมายความว่า กรุป G คล้ายกับ(โครงสร้างคล้ายกับ) กรุป H (รึจะใช้ ≈ ก็ได้นะเออ) | V ≅ C2 × C2 | |
คล้ายกับ | |||
พีชคณิตนามธรรม | |||
การสมภาคกันของจำนวน | a ≡ b (มอดุลาร์ n) หมายความว่า a - b หาร n ลงตัว | 5 ≡ 2 (มอดุลาร์ 3) | |
...สมภาคกับ...มอดุลาร์... | |||
เลขคณิตมอดุลาร์ | |||
| ก็ต่อเมื่อ | A ⇔ B หมายความว่า หากค่าความจริงของ A เป็น T ค่าความจริงของ B ก็จะเป็น T แต่หาก A ค่าความจริงเป็น F ค่าความจริงของ B ก็จะเป็น F ด้วย | x + 5 = y + 2 ⇔ x + 3 = y |
ก็ต่อเมื่อ | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
| ค่าของ | A := b หมายความว่า A มีค่าเป็น B | ให้ a := 3 แล้ว f(x) := x + 3 |
นิยามของ...คือ... | |||
ใช้ในทุกหมวด |
สัญลักษณ์ที่ชี้ไปทางซ้าย/ขวา
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
| น้อยกว่า/มากกว่า | x < y หมายความว่า x น้อยกว่า y x > y หมายความว่า x มากกว่า y | 3 < 4 5 > 4 |
น้อยกว่า/มากกว่า | |||
การจัดลำดับ, อสมการ | |||
ความสอดคล้องของซับกรุป | H < G หมายความว่า H มีความสอดคล้องเป็นซับกรุป G | 5Z < Z
| |
สอดคล้องกับ | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
| น้อยกว่า/มากกว่า (มากๆ) | x << y หมายความว่า x น้อยกว่า y มาก x >> y หมายความว่า x มากกว่า y มาก | 0.003 ≪ 1,000,000 |
น้อยกว่า...มาก/มากกว่า...มาก | |||
การจัดลำดับ | |||
การเปรียบเทียบของ การกระจายเชิงเส้นกำกับ | f << g หมายความว่า f ชันขึ้นกว่า g | ||
มีชุดน้อยกว่า.../มีชุดมากกว่า... | |||
การวิเคราห์ตัวเลข | |||
ต่อเนื่อง | หมายความว่า เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องและคงที่กับ (ป.ล. ถ้า จะได้ | ถ้านับ c แบบ counting measure กับ [0, 1] แล้วนับ แบบ Lebesgue measure แล้ว | |
ต่อเนื่องอย่างคงที่กับ... | |||
การวัด | |||
| น้อย/มากกว่าหรือเท่ากับ | x ≤ y หมายความว่า x น้อยกว่าหรือเท่ากับ y x ≥ y หมายความว่า x มากกว่าหรือเท่ากับ y (บางทีอาจใช้ <= หรือ => ในแบบภาษาคอมพิวเตอร์ และรหัสแอสกี) (บางคนอาจใช้ ≦ และ≧ แต่จะนิยมใช้ ≤, ≥ ซะมากกว่า) | 3 ≤ 4 และ 5 ≤ 5 5 ≥ 4 และ 5 ≥ 5 |
น้อยกว่าหรือเท่ากับ.../ มากกว่าหรือเท่ากับ... | |||
การจัดลำดับ, อสมการ | |||
ซับกรุป | H ≤ G หมายความว่า H เป็นซับกรุปของ G | Z ≤ Z | |
เป็นซับกรุปของ | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
การลดรูป | A ≤ B หมายความว่า ปัญหา A ลดรูปได้ B (สามารถเขียนกำกับได้ว่าเป็นการลดรูปแบบไหน) | ถ้า แล้ว | |
ลดรูปได้ | |||
ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ | |||
| ความสัมพันธ์เชิงกรูเอนซ์ | 10a ≡ 5 (มอดุลัส 5) ได้แก่ 1 ≦ a ≦ 10 | |
...น้อยกว่า.../ ...มากกว่า... | |||
เลขคณิตมอดุลาร์ | |||
ความเท่ากันเชิงเวกเตอร์ | x ≦ y หมายความว่าแต่ละตัวประกอบของ x น้อยกว่าหรือเท่ากับตามอัตราส่วนของตัวประกอบ y x ≧ y หมายความว่าแต่ละตัวประกอบของ x มากกว่าหรือเท่ากับตามอัตราส่วนของตัวประกอบ y (อย่างไรก็ดี x ≦ y ยังคงเป็นจริง ถ้าทุกๆตัวเท่ากัน และถ้าต่อให้การดำเนินการเปลี่ยนไป x ≤ y ดังนั้น x ≠ y ยังคงเป็นจริง | ||
...น้อยกว่าหรือเท่ากับ.../ ...มากกว่าหรือเท่ากับ... | |||
การจัดลำดับ | |||
| การลดรูปคาร์ป | L1 ≺ L2 หมายความว่า L1 ลดรูปแบบคาร์ปได้ L2 | ถ้า L1 ≺ L2 และ L2 ∈ P, แล้ว L1 ∈ P |
ลดรูปแบบคาร์ปได้... | |||
ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ | |||
เรียงลำดับไม่ต่อเนื่องกัน | P ≺ Q หมายความว่า ตัวประกอบใน P ไม่สัมพัทธ์กับ Q | ถ้า P1 ≺ Q2 แล้ว | |
เรียงลำดับไม่ต่อเนื่องกับ | |||
การเพิ่มประสิทธิภาพแบบหลากหลาย | |||
|
| N ◅ G หมายความว่า N เป็นซับกรุปปกติของ G | Z(G) ◅ G |
เป็นซับกรุปปกติของ | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
อุดมคติ | I ◅ R หมายความว่า I เป็นอุมคติของริง R | (2) ◅ Z | |
เป็นอุดมคติของ | |||
ไม่ต่อเนื่อง | R ▻ S หมายความว่า R เป็นจุดไม่ต่อเนื่องของ S , หลายสิ่งอันดับของ S ไม่สัมพันธ์กับหลายสิ่งอันดับของ R | ||
ไม่ต่อเนื่องกับ | |||
| เงื่อนไขเชิงตรรกศาสตร์ | A ⇒ B หมายความว่าถ้า A จริง แล้ว B ก็เป็นจริงด้วย ถ้า A เป็นเท็จ แสดงว่าไม่มีการกล่าวถึง B (→ อาจใช้แทน ⇒ ได้ หรือจะใช้ในเชิงฟังก์ชัน) (⊃ อาจใช้แทน ⇒ ได้ หรืออาจจะมีความหมายว่าซับเซต) | x = 6 ⇒ x2 − 5 = 36 − 5 = 31 เป็นจริง แต่ x2 − 5 = 36 −5 = 31 ⇒ x = 6 เป็นเท็จ (เพราะ x อาจจะเป็น -6 ได้) |
ดั้งนั้น, ถ้า...แล้ว... | |||
ตรรกศาสตร์,
| |||
| ซับเซต | A ⊆ B หมายความว่า สมาชิกของเซต A ก็เป็นสมาชิกของเซต B ด้วย (เป็นซับเซตแท้) A ⊂ B หมายความว่า A ⊆ B แต่ A ≠ B (บางคนใช้ ⊂ แทน ⊆) | (A ∩ B) ⊆ A |
เป็นซับเซตของ | |||
เซต | |||
| ซูเปอร์เซต | A ⊇ B หมายความว่า สมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A ด้วย A ⊃ B = A ⊇ B แต่ A ≠ B | (A ∪ B) ⊇ B |
เป็นซูเปอร์เซตของ | |||
เซต | |||
ฝังอยู่อย่างติดตรึง | A ⋐ B หมายความว่าตัวที่ใกล้เคียงกับ B เป็นซับเซตของ A ด้วย | ℚ | |
ติดอยู่กับ | |||
เซต | |||
ลูกศรฟังก์ชัน | f: X → Y หมายความว่า แผนภาพฟังก์ชันของ f จาก X ไป Y | ให้ f: ℤ → ℕ ∪ {0} ถูกกำหนดโดย f(x) := x2. | |
จาก...ไป... | |||
เซต, | |||
ลูกศรฟังก์ชัน | f: a ↦ b หมายความว่า ฟังก์ชัน f แมพไปยังสมาชิกของ a ไปยังสมาชิกของ b | ให้ f: x ↦ x + 1 | |
แมพไปยัง | |||
เซต | |||
โดยนัย | a ← b หมายความว่า ประพจน์ a และ b ถ้า b หมายความว่า a แล้ว a จะเป็นนัยของ b.a ต่อสมาชิกของ b. หรือจะอ่านว่า a ถ้า b หรือไม่ใช่ b เมื่อไม่มี a (เอ้อ แล้วก็อย่าไปสับสนกับเรื่องการกำหนดค่าด้วย) | ||
...ถ้า... | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
|
| T1 <: T2 หมายความว่า T1 เป็นซับไทป์ของ T2 | ถ้า S <: T และ T <: U แล้ว S <: U |
เป็นซับไทป์ของ | |||
ครอบคลุม | x <• y หมายความว่า x ถูกครอบคลุมโดย y | {1, 8} <• {1, 3, 8} และอยู่ในเซต {1, 2, ..., 10} จัดเรียงตามสมาชิก | |
ครอบคลุมโดย | |||
การจัดลำดับ | |||
ส่งต่อ | A ⊧ B หมายความว่า ประโยค A ส่งผลแก่ B ในทุกๆโมเดล ถ้า A เป็นจริง B ก็จะเป็นจริงด้วย | A ⊧ A ∨ ¬A | |
ส่งต่อให้แก่ | |||
อนุมาน | x ⊢ y หมายความว่า y มาจาก x | A → B ⊢ ¬B → ¬A | |
อนุมานได้ว่า | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
การแบ่งส่วน | p ⊢ n หมายความว่าเมื่อแบ่ง p แล้วจะได้ n | ||
แบ่งส่วนได้ | |||
ทฤษฎีจำนวน | |||
เวกเตอร์บรา | ⟨φ| หมายความว่าเป็นคู่ของเวกเตอร์ |φ⟩ ฟังก์ชันเชิงเส้น ที่เป็นเค็ทกับ |ψ⟩ ซึ่งจะได้ ⟨φ|ψ⟩ | ||
บรา..., คู่ของ... | |||
สัญกรณ์บรา-เค็ท | |||
เวกเตอร์เค็ท | |φ⟩ คือ เวกเตอร์ที่ถูกกำกับด้วย φ ซึ่งอยู่ในปริภูมิของฮิลเบิร์ต | สถานะคิวบิต ซึ่งออกมาเป็น α|0⟩+ β|1⟩ ที่ซึ่ง α และ β เป็นจำนวนเชิงซ้อน (|α|2 + |β|2 = 1) | |
เค็ท..., เวกเตอร์... | |||
สัญกรณ์บรา-เค็ท |
"ช่องว่าง"
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
การจัด, ค่าสัมประสิทธิ์สองค่า | หมายความว่า (ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก) เป็นการจัดของสมาชิกใน k อิงจากเซต a ซึ่งมีสมาชิกเป็น n (หรือจะเขียนในรูป C(n, k), C(n; k), nCk, nCk หรือ ) | ||
n เลือก k | |||
คณิตศาสตร์เชิงการจัด | |||
ค่าสัมประสิทธิ์หลายค่า | (เมื่อ u เป็นจำนวนเต็มบวก) หมายความว่า การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่าสัมประสิทธิ์สองค่า | ||
u เลือกหลายค่า k | |||
คณิตศาสตร์เชิงการจัด | |||
ค่าสัมบูรณ์, มอดุลัส | |x| หมายความว่าระยะบนเส้นจำนวน (หรือตัดกับสังยุค) ระหว่าง x และ 0 | |3| = 3 |–5| = |5| = 5 | i | = 1 | 3 + 4i | = 5 | |
สัมบูรณ์กับ | |||
จำนวน | |||
ค่าประจำแบบยุคลิด | |x| หมายถึงความยาว(แบบยุคลิด) ของเวกเตอร์ x | ถ้า x = (3,-4) แล้ว
| |
ค่าประจำแบบยุคลิดของ... | |||
เราขาคณิต | |||
ดีเทอร์มิแนนต์ | |A| หมายถึงดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ A | ||
ดีเทอร์มิแนนต์ของ | |||
เมทริกซ์ | |||
ภาวะเชิงการนับ | |x| หมายถึงภาวะเชิงการนับของ x (หรืออาจใช้ # แทน) | |{3, 5, 7, 9}| = 4 | |
ภาวะเชิงการนับของ, ขนาดของ, ชุดของ | |||
เซต | |||
ค่าประจำ | ‖ x ‖ หมายถึงค่าประจำของสมาชิกใน x ของ | ‖ x + y ‖ ≤ ‖ x ‖ + ‖ y ‖ | |
ค่าประจำของ, ความยาวของ | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
ฟังก์ชันจำนวนเต็มใกล้สุด | ‖ x ‖ หมายถึงจำนวนเต็มใกล้สุดกับ x (หรือเขียนในรูป [x], ⌊x⌉, nint(x) หรือ Round(x) | ‖1‖ = 1, ‖1.6‖ = 2, ‖−2.4‖ = −2, ‖3.49‖ = 3 | |
ใกล้เคียงกับจำนวนเต็ม... | |||
ำนวนตัวเลข | |||
โครงเซต | {a, b, c} หมายความว่า สมาชิกของเซตประกอบด้วย a, b และ c | ℕ = { 1, 2, 3, ... } | |
เป็นเซตของ... | |||
เซต | |||
| เงื่อนไขของสมาชิกในเซต | {x : P(x)} สมาชิกของ x คือ P(x) หรือใช้ {x | P(x)} | {n ∈ ℕ : n2 < 20} = { 1, 2, 3, 4 } |
เป็นสมาชิกของ...โดยที่... | |||
เซต | |||
พื้น | ⌊x⌋ หมายความว่าพื้นของ x หรืออีกอย่าง เป็นจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ x (หรือเขียนในรูป [x], floor(x) หรือ int(x)) | ⌊4⌋ = 4, ⌊2.1⌋ = 2, ⌊2.9⌋ = 2, ⌊−2.6⌋ = −3 | |
พื้น, จำนวนเต็มที่มากที่สุด | |||
จำนวน | |||
เพดาน | ⌈x⌉ คือเพดานของ x หรืออีกอย่าง เป็นจำนวนเต็มที่น้อยที่สุดที่มากกว่าหรือเท่ากับ x (หรือเขียนในรูปของ ceil(x) หรือ ceiling(x)) | ⌈4⌉ = 4, ⌈2.1⌉ = 3, ⌈2.9⌉ = 3, ⌈−2.6⌉ = −2 | |
เพดาน | |||
จำนวน | |||
รัศมีของฟีลดิ์ | [K : F] หมายถึงรัศมีของฟีลดิ์ของ K : F | [ℚ(√2) : ℚ] = 2 | |
เป็นรัศมีของฟีลดิ์ของ | |||
ฟีลดิ์ | |||
| ชั้นความเท่ากัน | [a] ([a]R) หมายถึงชั้นความเท่ากันของ a เมื่อ {x : x ~ a} ที่ซึ่ง ~ เป็นความสัมพันธ์เชิงสัมพัทธ์ | ให้ a ~ b เป็นจริง ก็ต่อเมื่อ a ≡ b (มอดุลัส 5) แล้ว [2] = {..., −8, −3, 2, 7, ...} |
เป็นชั้นความเท่ากันของ | |||
พีชคณิตเชิงนามธรรม | |||
พื้น | [x] หมายความว่าพื้นของ x หรืออีกอย่าง เป็นจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ x (หรือเขียนในรูป ⌊x⌋, floor(x) หรือ int(x) ดังกล่าวไว้ข้างต้น) | [3] = 3, [3.5] = 3, [3.99] = 3, [−3.7] = −4 | |
พื้น, จำนวนเต็มที่มากที่สุด | |||
จำนวน | |||
ฟังก์ชันจำนวนเต็มใกล้สุด | [x] หมายถึงจำนวนเต็มใกล้สุดกับ x (หรือเขียนในรูป ||x||, ⌊x⌉, nint(x) หรือ Round(x) เอ้อ แล้วอย่าสับสนกับ "พื้น" ซะล่ะ อธิบายไปแล้วนะ) | [2] = 2, [2.6] = 3, [−3.4] = −3, [4.49] = 4 | |
ใกล้เคียงกับจำนวนเต็ม... | |||
จำนวน | |||
ถ้าประพจน์ [S] S ความจริงเป็น 1 ดังนั้น S เท็จจะเป็น 0 | [0=5]=0, [7>0]=1, [2 ∈ {2,3,4}]=1, [5 ∈ {2,3,4}]=0 | ||
1 เป็นจริง 0 เป็น 1' | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
อิมเมจ(ซับเซตของฟังก์ชันโคโดเมน) | f[X] หมายถึง { f(x) : x ∈ X } อิมเมจของฟังก์ชัน f ในเซต X ⊆ โดมิแนนท์(f) | ||
เป็นอิมเมจของ...ใต้... | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ช่วงปิด | 0 และ 1/2 ต่างก็อยู่ในช่วง [0,1] | ||
ช่วงปิด | |||
การจัดลำดับ | |||
ตัวสับเปลี่ยน | [g, h] = g−1h−1gh (หรือ ghg−1h−1), if g, h ∈ G (กรุป) [a, b] = ab − ba, if a, b ∈ R (ริง, พีชคณิตเชิงสับเปลี่ยน) | xy = x[x, y] (ทฤษฎีกรุป) [AB, C] = A[B, C] + [A, C]B (ทฤษฎีริง) | |
ตัวสับเปลี่ยนของ | |||
ทฤษฎีกรุป,
| |||
ผลคูณเชิงสเกลาร์สามชั้น | [a, b, c] = a × b · c ผลคูณของ a × b กับ c | [a, b, c] = [b, c, a] = [c, a, b] | |
ผลคูณเชิงสเกลาร์สามชั้นของ | |||
แคลคูลัสเวกเตอร์ | |||
| ฟังก์ชันประยุกต์ | f(x) หมายถึง ค่าของฟังก์ชัน f ณ สมาชิกของ x | ถ้า f(x) := x2 − 5 แล้ว f(6) = 62 − 5 = 36 − 5=31 |
ของ | |||
เซต | |||
อิมเมจ(ซับเซตของฟังก์ชันโคโดเมน) | f(X) หมายถึง { f(x) : x ∈ X } อิมเมจของฟังก์ชัน f ในเซต X ⊆ โดมิแนนท์(f) (ถ้ากลัวจะสับสนกับเรื่องฟังก์ชันประยุกต์ก็เขียน f[x] ไปเหอะ) | ||
เป็นอิมเมจของ...ใต้... | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ลำดับการดำเนินการ | ดำเนินการจากสมการในวงเล็บก่อน | (8/4)/2 = 2/2 = 1 แต่ 8/(4/2) = 8/2 = 4. | |
วงเล็บ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
หลายสิ่งอันดับ | มูลค่าตามการจัดเรียง (หรือตามลำดับ, เวกเตอร์แนวราบ, เวกเตอร์แนวตั้ง) (แต่จงจำไว้ว่าการใช้ (a, b) นั้นคลุมเครือมาก เพราะอาจกลายเป็นระยะเปิด หรือคู่อันดับไปได้ ดังนั้น นักทฤษฎีหรือนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ มักจะใช้วงเล็บเส้นหัก (⟨ ⟩) แทน) | (a, b) เป็นคู่อันดับ (หรือ 2-สิ่งอันดับ) (a, b, c) เป็นไตรอันดับ (หรือ 3-สิ่งอันดับ) ( ) เป็นอันดับว่าง (หรือ 0-สิ่งอันดับ) | |
หลายสิ่งอันดับ, n สิ่งอันดับ, คู่/ไตร, ฯลฯ, เวกเตอร์แนวตั้ง, ลำดับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) | (a, b) คือตัวหารร่วมมากของ a และ b (ใครขี้เกียจเขียนก็ ห.ร.ม.(a, b) เถอะนะ) | (3, 7) = 1 (จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์) (15, 25) = 5 | |
ตัวหารร่วมมาก/ห.ร.ม. ของ...คือ... | |||
ทฤษฎีจำนวน | |||
| ช่วงเปิด | (ก็...จะบอกเหมือนเดิมน่ะนะ คือไอ้ (a, b) เนี่ย มันคลุมเครือ เพราะอาจกลายเป็นระยะเปิด หรือคู่อันดับไปได้ ก็ใช้ ] , [ เพื่อความชัดเจนซะนะ) | 4 ไม่อยู่ในช่วง (4, 18) (0, +∞) เท่ากับเซตที่เป็นจำนวนจริงบวก |
ช่วงเปิด | |||
การจัดลำดับ | |||
| ช่วงเปิดซ้าย | (−1, 7] และ (−∞, −1] | |
เปิดครึ่งช่วง, เปิดช่วงซ้าย | |||
การจัดลำดับ | |||
| ช่วงเปิดขวา | [4, 18) และ [1, +∞) | |
เปิดครึ่งช่วง, เปิดช่วงขวา | |||
การจัดลำดับ | |||
| สมาชิกภายใน | ⟨u,v⟩ หมายถึงสมาชิกภายในของ u และ v ที่ซึ่ง v และ u ต่างก็เป็นสมาชิกของพื้นที่สมาชิกภายใน (จงจำไว้ว่า ⟨u,v⟩ ก็คลุมเครือนะ ก็มันหมายความได้สองอย่าง คือ สมาชิกภายในกับเส้นสแปน) (มีเอกสารหลายชิ้นที่ยังใช้ ⟨u | v⟩ และ (u | v) ตามที่อธิบายไว้ สำหรับเวกเตอร์ช่องว่าง ก็อาจจะใช้จุด · แล้ว ⟨ กับ ⟩ บางทีมันพิมพ์ยาก เพื่อให้ง่ายต่อการพิมพ์บนคีย์บอร์ด เขาก็จะใช้ < กับ > กัน ก็เป็นการหลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทางหนึ่ง) | ผลคูณจุดมาตรฐานที่อยู่ระหว่าง x = (2, 3) และ y = (-1, 5) คือ ⟨x, y⟩ = 2 × −1 + 3 × 5 = 13 |
สมาชิกภายในของ | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
ค่าเฉลี่ย | ให้ S เป็นซับเซตของ N แล้ว ⟨S⟩ แสดงถึงค่าเฉลี่ยของสมาชิกทุกตัวใน S | เมื่อชุดของเวลาเป็น g(t) (t = 1, 2,...) จะสามารถกำหนดโครงสร้างฟังก์ชันได้ :
| |
เฉลี่ยได้ | |||
สถิติ | |||
ค่าความคาดหวัง | ค่าความไม่ต่อเนื่องของ x ของฟังก์ชัน f(x) ค่าความคาดหวังของ f(x) จะเป็น และค่าความคาดหวังต่อเนื่องของ f(x) คือ ที่ซึ่ง P(x) คือ PDF (Probability Density Function) ของ x | ||
ค่าความคาดหวังของ | |||
ความน่าจะเป็น | |||
เส้นสแปน | ⟨S⟩ คือสแปนของ S ⊆ V. ที่อินเตอร์เซคชันกับพื้นที่ของ V ทั้งหมดที่ประกอบด้วย S ⟨u1, u2, ...⟩ เป็นรูปย่อของ ⟨{u1, u2, ...}⟩ | ||
(เส้น)สแปนของ | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
การสร้างเซตของกรุป | ⟨S⟩ หมายถึงซับกรุปที่เล็กที่สุดของ G (ที่ซึ่ง S ⊆ G เป็นกรุป) โดยสมาชิกทุกตัวเป็นของ S เช่นกัน ⟨g1, g2, ...⟩ เป็นรูปย่อของ ⟨{g1, g2, ...}⟩ | ใน S3 มี ⟨(1 2)⟩ = {id, (1 2)} และ ⟨(1 2 3)⟩ = {id, (1 2 3), (1 3 2)} | |
ซับกรุปที่สร้างขึ้นโดย | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
หลายสิ่งอันดับ | มูลค่าตามการจัดเรียง (หรือตามลำดับ, เวกเตอร์แนวราบ, เวกเตอร์แนวตั้ง) | ⟨a, b⟩ เป็นคู่อันดับ (หรือ 2-สิ่งอันดับ) ⟨a, b, c⟩ เป็นไตรอันดับ (หรือ 3-สิ่งอันดับ) ⟨ ⟩ เป็นอันดับว่าง (หรือ 0-สิ่งอันดับ) | |
หลายสิ่งอันดับ, n สิ่งอันดับ, คู่/ไตร, ฯลฯ, เวกเตอร์แนวตั้ง, ลำดับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
| สมาชิกภายใน | ⟨u | v⟩ หมายถึงสมาชิกภายในของ u และ v ที่ซึ่ง v และ u ต่างก็เป็นสมาชิกของพื้นที่สมาชิกภายใน (จงจำไว้ว่า ⟨u,v⟩ ก็คลุมเครือนะ ก็มันหมายความได้สองอย่าง คือ สมาชิกภายในกับเส้นสแปน) (บางที่มันก็ใช้ ⟨u , v⟩ และ (u , v) ตามที่อธิบายไว้ สำหรับเวกเตอร์ช่องว่าง ก็อาจจะใช้จุด · แล้ว ⟨ กับ ⟩ บางทีมันพิมพ์ยาก เพื่อให้ง่ายต่อการพิมพ์บนคีย์บอร์ด เขาก็จะใช้ < กับ > กัน ก็เป็นการหลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทางหนึ่ง) | |
สมาชิกภายในของ | |||
พีชคณิตเชิงเส้น |
อื่นๆ(ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์จากอักษร)
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
คอนโวลูชั่น | f*g หมายความว่า เป็นคอนโวลูชั่นของ f และ g | ||
คอนโวลูชั่นกับ | |||
สังยุค | z* หมายความว่า จำนวนเชิงซ้อน z เป็นสังยุค (หรือจะใช้ ก็ได้) | (3 + 4i)* = 3 - 4i | |
สังยุคกับ | |||
จำนวนเชิงซ้อน | |||
R* ประกอบด้วยเซตของยูนิตของริง R ตามการดำเนินการและการคูณ (หรือจะใช้ R× หรือ (U)R) |
| ||
เป็นยูนิตกรุปของ | |||
Hyperreal numbers | *R หมายความว่า เซตของจำนวนไฮเปอร์เรียล เซตอื่นๆก็ใช้แทน R ได้ | *N เป็นจำนวนเต็มไฮเปอร์ | |
เป็น(เซตของ)ไฮเปอร์เรียล | |||
โฮจฺ ดูอัล | *v หมายถึงโฮจฺ ดูอัล ของเวกเตอร์ v ถ้า v เป็นเวกเตอร์ k (มัลติเวกเตอร์) ที่อยู่ในพื้นที่การปรับเวกเตอร์มิติของ n แล้ว *v คือ (n-k)-เวกเตอร์ | ||
โฮจฺ ดูอัล | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
คลีนี สตาร์ (การดำเนินการแบบคลีนี) | ตาม * ในการใช้กับนิพจน์ปกติแล้ว ถ้า ∑ เป็นเซตบนเส้นใดๆ แล้ว ∑* เป็นเซตทุกเซตที่อยู่บนเส้นใดๆ ที่สามารถสร้างโดยใช้สมาชิกของ ∑ เส้นใดๆบนเส้นเดียวกันก็แยกเป็นหลายเส้นได้ และเส้นว่างก็นับเป็นสมาชิกของ ∑* | ถ้า ∑ = ('a', 'b', 'c') แล้ว ∑* รวม '' , 'a', 'ab', 'aba', 'abac', ฯลฯ (เซตเต็มๆเขียนให้หมดในนี่ไม่ไหวหรอกคุณ) เพราะเป็นเซตนับได้ แต่เส้นแยกแต่ละเส้นจะมีความยาวจำกัด | |
คลีนี สตาร์ | |||
วิทยาการคอมพิวเตอร์, | |||
สัมพัทธ์กับ, สมมูลกับ | y ∝ x หมายความว่า y = kx เมื่อ k เป็นค่าคงที่ | ถ้า y = 2x แล้ว y ∝ x. | |
สัมพัทธ์กับ, สมมูลกับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
การลดรูปแบบคาร์ป | A ∝ B หมายความว่า A ลดรูปแบบพหุนามได้ปัญหา B | ถ้า L1 ∝ L2 และ L2 ∈ P แล้ว L1 ∈ P | |
ลดรูปแบบคาร์ปได้ | |||
ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ | |||
คอมพลีเมนต์ของเซต | A ∖ B หมายความว่า สมาชิกของเซต A ที่ไม่มีสมาชิกที่อยู่ใน B (ย้อนไปดู - ก็ได้ อธิบายไว้แล้ว) | {1,2,3,4} ∖ {3,4,5,6} = {1,2} | |
หักออก, ไม่มี, เป็นคอมพลีเมนต์ของ | |||
เซต | |||
ความน่าจะเป็นมีเงื่อนไข | ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับอีกเหตุการณ์หนึ่ง โดย P(A|B) หมายถึงความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ A เมื่อรู้ว่าเกิดเหตุการณ์ B | ถ้า X คือ a เป็นวันในปี P(X คือ พ.ค. ที่ 25 | X อยู่ในเดือน พ.ค.) = 1/31 | |
เป็นส่วนของ | |||
ความน่าจะเป็น | |||
เซตจำกัด | f|A หมายความว่า ฟังก์ชัน f จำกัดได้ A และโดเมนของฟังก์ชัน A ∩ dom(f) ตาม f | ฟังก์ชัน f : R → R กำหนดโดย f(x) = x2 ไม่ใช่การกระจาย แต่ f|R+ เป็นการกระจาย | |
จำกัดของ... | |||
เซต | |||
เมื่อ | | หมายความว่า เมื่อ... (ใช้ : ตามที่อธิบายไปก็ได้) | S = {(x,y) | 0 < y < f(x)} หมายความว่าเซตของ (x,y) มากกว่า 0 แต่น้อยกว่า f(x) | |
เมื่อ, โดยที่ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
| ตัวหาร, การหาร | a | b หมายความว่า a หาร b ลงตัว a ∤ b หมายความว่า a หาร b ไม่ลงตัว (สัญลักษณ์พวกนี้มันพิมพ์ยาก คนส่วนใหญ่ก็จะใช้ / กัน) | เพราะ 15 = 3 × 5 เป็นจริง แล้ว 3 ∣ 15 และ 5 ∣ 15 |
หาร | |||
ทฤษฎีจำนวน | |||
หารโดยละเอียด | pa ∣∣ n หมายความว่า pa หารโดยละเอียดกับ n (ป.ล. pa หาร n แต่ pa+1 ไม่ได้หาร) | 23 ∣∣ 360 | |
หารโดยละเอียด | |||
ทฤษฎีจำนวน | |||
⋕ | ขนาน | x ∥ y หมายความว่า x ขนานกับ y x ∦ y หมายความว่า x ไม่ขนานกับ y x ⋕ y หมายความว่า x เท่ากับและขนานกับ y | ถ้า l ∥ m และ m ⊥ n แล้ว l ⊥ n. |
ขนานกับ..., ไม่ขนานกับ... | |||
เรขาคณิต | |||
เทียบไม่ได้ | x ∥ y หมายความว่า x เทียบไม่ได้กับ y | {1,2} ∥ {2,3} ในเซตเดียวกัน | |
เทียบไม่ได้ | |||
การจัดลำดับ | |||
ภาวะเชิงการนับ | #X หมายความว่า ภาวะเชิงการนับของ X (ใช้ |...| ก็ได้) | #{4, 6, 8} = 3 | |
ภาวะเชิงการนับของ..., ขนาดของ, ชุดของ | |||
เซต | |||
จุดเชื่อมต่อรวม | A#B หมายถึง เป็นของ A และ B ถ้า A และ B เป็นห่วง จุดนี้ก็จะกลายเป็นปมรวม ที่ซึ่งภาวะต่างๆจะแกร่งกว่าเล็กน้อย | A#Sm เป็นโฮเมียร์ฟิซึมของ A แก่จุดหลายๆจุดใน A และสเปียร์ Sm | |
เป็นจุดเชื่อมต่อรวมของ..., เป็นปมรวมของ... | |||
ทอพอโลยี, | |||
ไพรมอเรียล | n# เป็นผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของจำนวนเฉพาะที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ n | 12# = 2 × 3 × 5 × 7 × 11 = 2310 | |
ไพรมอเรียล | |||
ทฤษฎีจำนวน | |||
เมื่อ | : ใช้เพื่อบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซต | ∃n ∈ ℕ : n เป็นจำนวนคู่ | |
เมื่อ, ขณะที่ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ส่วนขยายของฟีลด์ | K : F หมายความว่า K ขยายแก่ฟีลดิ์ F เขียนว่า K ≥ F ก็ได้ | ℝ : ℚ | |
ขยายแก่ | |||
ฟีลด์ | |||
สมาชิกภายในของเมทริกซ์ | A : B หมายความว่าเมื่อใช้ขั้นตอนวิธีโฟรเบนีอุสจะได้สมาชิกภายในของ A และ B ส่วนใหญ่มักใช้ ⟨u, v⟩ ⟨u | v⟩ หรือ (u | v) เสียมากกว่า ส่วนที่เป็นเวกเตอร์ มักใช้ x·y | ||
เป็นสมาชิกภายในของ | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
ตัวบ่งซับกรุป | ตัวบ่งซับกรุป H ในกรุป G คือ "ปริมาณสัมพัทธ์" ของ H ต่อ G หรือ ความเท่ากันของตัวเลขที่ "ลอกเลียน" (โคเซต) ของ H ที่นำมาอยู่ใน G | ||
ตัวบ่งซับกรุป | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
หาร | A : B หมายถึง A แบ่งเป็นส่วนๆ (หาร) กับ B | 10 : 2 = 5 | |
หารกับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
จุดไข่ปลากลับด้าน | เพื่อแสดงว่าค่าคงตัวในสมการนั้นๆบางตัวถูกย่อหายไป แสดงไว้เฉพาะตัวที่สำคัญๆ | ||
จุดไข่ปลากลับด้าน | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ผลิตภัณฑ์ชุด | A ≀ H หมายความว่า เป็นผลิตภัณฑ์ชุด A จากกรุป H หรือจะเขียนว่า Awr H | Sn ≀ Z2 มีความคล้ายกันทางออโตมอฟิซึม ของกราฟสองส่วนบริบูรณ์ บนจุด (n, n) | |
เป็นผลิตภัณฑ์ชุด...ของ... | |||
ทฤษฎีกรุป | |||
↯ ⨳ ⇒⇐ | ลูกศรซิกแซกกลับหัว | เพื่อแสดงว่าสองกรณีดังกล่าวข้างต้นนั้นขัดแย้งกัน | x + 4 = x − 3 ※ กำหนดให้ : ทุกๆเซตจำกัด เซตไม่ว่าง มีสมาชิกจำนวนมาก กำหนดให้ X เป็นเซตจำกัด เซตไม่ว่าง ที่มีสมาชิกจำนวนน้อย ดังนั้น และ กับ X1 < X2 แต่ถ้า และ X2 < X3 ต่อไปเรื่อยๆ ดังนั้น X1, X2, X3 , ... เป็นสมาชิกที่ต่างกันใน X ↯X เป็นเซตจำกัด |
ขัดแย้งกับ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
| เฉพาะ หรือ | A ⊕ B จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ A หรือ B แต่ไม่ใช่ทั้งคู่ที่เป็นจริง ใช้ A ⊻ B ก็ได้ | (¬A) ⊕ A A ⊕ B เป็นเท็จทุกกรณี |
เฉพาะ/หรือ | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
การรวมโดยตรง | การรวมโดยตรงเป็นการรวมหลายๆวัตถุเข้าด้วยกันให้กลายเป็นวัตถุธรรมดา (General Object) (มักใช้ ⊕ หรือใช้ตัวโคโพรดักส์ ∐ ส่วน ⊻ ใช้เฉพาะกับตรรกศาสตร์) | โดยทั่วไป ปริภูมิเวกเตอร์ U, V และ W จะได้ผลคือ : U = V ⊕ W ⇔ (U = V + W) ∧ (V ∩ W = {0}) | |
การรวมโดยตรง | |||
พีชคณิตนามธรรม | |||
ผลิตภัณฑ์คูลคานี-โนมิซุ | เป็นผลเทนเซอร์จากคู่อันดับสมมาตร (0, 2) เป็นความสมมาตรทางพีชคณิตของ ประกอบด้วย | ||
ผลิตภัณฑ์คูลคานี-โนมิซุ | |||
พีชคณิตเทนเซอร์ (Tensor Algebra) | |||
เป็นตัวดำเนินการที่ตรงข้ามกับการดำเนินการลาปาซ เป็นกรุปที่อยู่ภายใต้ปริภูมิ และลดการดำเนินการลาปาซ ซึ่งมีความจำกัดภายใต้ ซึ่งมีค่าคงที่ | |||
ไม่ใช่ตัวดำเนินการลาปาซ | |||
แคลคูลัสเวกเตอร์ |
อื่นๆ(ที่เป็นสัญลักษณ์จากอักษร)
ตัวอักษรจากคำภาษาอังกฤษ
หรืออาจะเรียกว่า "เครื่องหมายเสริมสัทอักษร"
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
มัชฌิมเลขคณิต, ค่าเฉลี่ยเลขคณิต | (มักอ่านว่า x บาร์) คือค่าเฉลี่ยของ x (ค่ามาตรฐานของ xi) | ||
เฉลี่ยได้... | |||
สถิติ | |||
ลำดับจำกัด, หลายสิ่งอันดับ | หมายถึง ลำดับจำกัด, หลายสิ่งอันดับ a (a1, a2, ..., an) | ||
ลำดับจำกัด, หลายสิ่งอันดับ | |||
หมายถึง การชิดกันเชิงพีชคณิตของฟีลด์ F | ฟีลด์จำนวนเชิงพีชคณิต มักใช้ เพราะชิดกันเชิงพีชคณิตกับจำนวนตรรกยะ | ||
เป็นการชิดกันเชิงพีชคณิตของ | |||
ทฤษฎีฟีลด์ | |||
สังยุค (จำนวนเชิงซ้อน) | หมายถึง สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน z (ใช้ z* ก็ได้) | ||
สังยุค | |||
จำนวนเชิงซ้อน | |||
หมายถึง การชิดกันเชิงทอพอโลยีของเซต S หรือจะเขียนว่า cl(S) หรือ Cl(S) | ในปริภูมิจำนวนจริงนั้น จะเขียนได้ว่า (จำนวนตรรกยะใช้ปริภูมิมากสุดในจำนวนจริง) | ||
ชิดกัน(เชิงทอพอโลยี)กับ | |||
ทอพอโลยี | |||
เวกเตอร์ | |||
ตรงไปยัง | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย | (อ่านว่า "หมวก" ก็ได้) เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยของ a มีความยาวเป็น 1 | ||
หมวก | |||
เรขาคณิต | |||
การกำหนดค่า | เป็นตัวกำหนดค่าพารามิเตอร์ของ | การกำหนดค่า กำหนดค่าอย่างง่าย (Sample Estimate) ได้ ต่อ | |
กำหนดค่า | |||
สถิติ | |||
อนุพันธ์ | f'(x) หมายถึง อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ณ จุด x หรือ ความชันของแทนเจนต์ถึง f ณ x (อาจใช้อัญประกาศเดี่ยวแทน มักพบในรหัสแอสกี) | ถ้า f(x) := x2 แล้ว f ′(x) = 2x | |
พาล์ม, อนุพันธ์ของ... | |||
แคลคูลัส | |||
อนุพันธ์ | หมายถึงอนุพันธ์ของ x ตามเวลา ซึ่ง | ถ้า x(t) := t2 แล้ว | |
จุด..., เป็นอนุพันธ์เวลาของ | |||
แคลคูลัส |
ตัวอักษรที่มาจากอักษรละติน
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
(ทั้งหมด) | ∀x, P(x) P(x) จะเป็นจริง เมื่อ x ทุกตัวเป็นจริง | ∀x[x ∈ ℕ ; x2 ≥ x] | |
สำหรับ...ทั้งหมด, ฟอร์ออล, สำหรับ...ใดๆ, สำหรับ...แต่ละตัว | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
| โดเมนแบบบูล | 𝔹 หมายความได้ทั้ง {0, 1}, {เท็จ, จริง}, {F, T} หรือ | (¬F) ∈ 𝔹 |
บี (B), (เซตของ)ค่าความจริง | |||
เซต, พีชคณิตแบบบูล | |||
| จำนวนเชิงซ้อน | ℂ คือ {a + b i : a,b ∈ ℝ} | i = √−1 ∈ ℂ |
(เซตของ)จำนวนเชิงซ้อน | |||
จำนวน | |||
ภาวะเชิงการนับมีความต่อเนื่อง | ภาวะเชิงการนับของ ℝ คือ |ℝ| หรือใช้ 𝔠 | ||
ซี, ภาวะเชิงการนับของจำนวนจริง | |||
เซต | |||
∂ | ∂f/∂xi หมายถึง อนุพันธ์ย่อยของ f ต่อ xi เมื่อ f เป็นฟังก์ชันของ (x1, ..., xn) | ถ้า f(x,y) := x2y แล้ว ∂f/∂x = 2xy | |
อนุพันธ์, ดี | |||
แคลคูลัส | |||
∂M หมายถึง ขอบเขตของ M | ∂{x : ||x|| ≤ 2} = {x : ||x|| = 2} | ||
ขอบเขตของ | |||
ทอพอโลยี | |||
ดีกรีของพหุนาม | ∂f เป็นดีกรีของพหุนาม f หรือจะเขียนว่า deg f ก็ได้ | ∂(x2 − 1) = 2 | |
ดีกรีของ | |||
พีชคณิต | |||
| ค่าคาดหมาย | ค่าคาดหมายของ ตัวแปรสุ่ม คือ ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (weighted average) ของทุกๆค่าที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่ม โดยในการคำนวณการถ่วงน้ำหนักจะใช้ค่าฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น (probability density function) สำหรับตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง หรือใช้ค่าฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น (probability mass function) สำหรับตัวแปรวิยุต | |
ค่าคาดหมาย | |||
ความน่าจะเป็น | |||
(บางตัว) | ∃x ; P(x) หมายความว่า หากมี x ตัวใดตัวหนึ่งเป็นจริง ประโยคเปิดนี้จะมีค่าความจริงเป็นจริง | ∃x[x ∈ ℕ ; x ∈ จำนวนคู่] | |
มี...บางตัว, ฟอร์ซัม, มี...อย่างน้อยหนึ่งตัว | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
(หนึ่งตัว) | ∃!x ; P(x) หมายความว่า มี P(x) อยู่หนึ่งตัวที่เป็นจริง | ∃!x[x ∈ ℕ ; x + 5 = 2x] | |
มี...หนึ่งตัว | |||
ตรรกศาสตร์ | |||
| สมาชิกของเซต | a ∈ S หมายความว่า a เป็นสมาชิกของเซต S a ∉ S หมายความว่า a ไม่เป็นสมาชิกของเซต S | (1/2)−1 ∈ ℕ 2−1 ∉ ℕ |
เป็นสมาชิกของเซต, ไม่เป็นสมาชิกของเซต | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ (โดยเฉพาะเซต) | |||
| สมาชิกของเซต | S ∋ e = e ∈ S S ∌ e = e ∉ S | |
เป็นสมาชิกของเซต, ไม่เป็นสมาชิกของเซต | |||
เซต | |||
เมื่อ | มักใช้อักษรย่อ s.t. (Such That) ใช้ | ก็ได้ ตัวอักษรนี้ ถูกเพิ่มเข้ามาในคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ใช้สัญลักษณ์ ∋ (เอปไซลอนกลับด้าน) บางที ใช้เพื่อไม่ให้สับสนกับตัวบอกสมาชิกของเซต | กำหนดให้ x ∋ 2|x และ 3|x ( | ในที่นี้แทนการหาร) | |
เมื่อ | |||
คณิตตรรกศาสตร์ | |||
| ควอเทอร์เนียน, แฮมิลทัน ควอเทอร์เนียน | ℍ หมายถึง {a + b i + c j + d k : a,b,c,d ∈ ℝ} | |
เอช, ควอร์เทอเนียน | |||
จำนวน | |||
| จำนวนเต็ม | หมายถึงจำนวนเต็มใดๆ {..., −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, ...} และ หมายถึง จำนวนเต็มบวก {1, 2, 3, ...} หมายถึง จำนวนเต็มลบ {..., -3, -2, -1} | |
(เซตของ)จำนวนเต็ม | |||
จำนวน | |||
| จำนวนนับ, จำนวนธรรมชาติ | ℕ หมายความได้ทั้ง { 0, 1, 2, 3, ...} หรือ { 1, 2, 3, ...} ทั้งสองเซตนั้น จะใช้อันไหน ขึ้นอยู่กับว่าอยู่เรื่องอะไร ที่นับตั้งแต่ 1 คือด้าน คณิตวิเคราห์, ทฤษฎีจำนวน, ทฤษฎีเซต และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่วนที่นับตั้งแต่ 0 มักใช้กับจำนวนนับ/เลขลำดับที่น้อยที่สุด (ω) ที่นับตั้งแต่ 0 | ℕ = {|a| : a ∈ ℤ} หรือ ℕ = {|a| > 0: a ∈ ℤ} |
(เซตของ)จำนวนนับ/จำนวนธรรมชาติ | |||
จำนวน | |||
สำหรับเมทริกซ์สองตัว (หรือเวกเตอร์) ที่อยู่ในปริภูมิเดียวกัน ผลคูณอาดามาร์เป็นเมทริกซ์ที่อยู่ในปริภูมิเดียวกันคือ เมื่อแจกแจงสมาชิกจะได้ | |||
ผลคูณอาดามาร์ | |||
พีชคณิตเชิงเส้น | |||
f ∘ g คือ (f ∘ g)(x) = f(g(x)) | ถ้า f(x) := 2x และ g(x) := x + 3 แล้ว (f ∘ g)(x) = 2(x + 3) | ||
ประกอบด้วย | |||
เซต | |||
สัญกรณ์โอใหญ่ | เป็นสัญกรณ์คณิตศาสตร์ที่ใช้บรรยายของฟังก์ชัน โดยระบุเป็นขนาด (magnitude) ของฟังก์ชันในพจน์ของฟังก์ชันอื่นที่โดยทั่วไปซับซ้อนน้อยกว่า | ถ้า และ แล้ว |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud raykartxipniepntarangsungaesdngsylksnthangkhnitsastr odysylksndngklawtwaethnkhxngkhwamhmaytang odyemuxewlaphanip sylksnaelakhwamhmaykhxngsylksncaephimkhuneruxy xathi xaccaaethnkhwamhmaywa sxdkhlxng hrux epnniyamkhxng kid xyangirktam inkhnitsastrinechingtwelkh bangkrni khwamethaethiym xacaethnthidwy aethn hruxepntwaethnthungkhwamethaethiymkhxng well formed formulas WFF s ephuxaethnkhwamhmaynnchiaecngraykarniidrbkarcdraebiybtam khwamsmphnth wikitaramiexksarsahrbkarichsylksninaebb LaTex aelayngkhrxbkhlumthungkarxthibayeruxngsylksn LaTex sylksnxaccathukephimekhaphanthangthangeluxkxun xyangechnkartngkhaexksarkhunmaephuxsnbsnunyuniokhd xnung karkhdlxkaelakarwangichaepnphimphkhasng unicode lt insertcodepoint gt sylksnphunthan sylksnthiichxyangkwangkhwanginwngkarkhnitsastr pramanaekhlkhulsphunthan khwamhmaynxkehnuxcakpktikmi sylksnaethnkhwamethaethiym sylksnbangtwthiaesdngthung khwamethaethiym ineruxng klumkhxngkhwamethaethiymkich sylksnthichiipthangsay khwa echn lt aela gt thichiipthangsay khwa chxngwang sylksnthiwangiwsxngkhangkhxngtwaeprhruxenguxnikh echn x x xun thiimichsylksncakxksr sylksnthiimsamarthcdhmwdhmuid xun thiepnsylksncakxksr sylksnthangkhnitsastrbangtw kmacaktwxksrphasaxngkvs rwmthungtwkhwabnlangthaaeyngtaaekhngsaykhwa bangtwaethnidhlaykhwamhmay twxksrcaktwphasaxngkvs swnihymkichtwxksrcaktwaerkkhxngkha twxksrthimakcakxksrlatin rwmthungphwksylksn X twxksrthimacakxksrhibruaelaxksrkrik echn ב א d D p P s S F hmayehtu sylksn L rwmklum kb V khxngxksrlatinsylksnphunthansylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmu displaystyle bwk 4 6 hmaykhwamwa 4 bwk aela 6 2 7 9bwkelkhkhnitDisjoint Union yueniynthiimmixinetxreskhchn A1 A2 A3 displaystyle A 1 A 2 A 3 phlrwmkhxng A1 displaystyle A 1 aela A2 displaystyle A 2 aelaA3 displaystyle A 3 A1 3 4 5 6 displaystyle A 1 3 4 5 6 displaystyle land A2 7 8 9 0 displaystyle A 2 7 8 9 0 A1 A2 3 1 4 1 5 1 6 1 7 2 8 2 9 2 10 2 displaystyle A 1 A 2 3 1 4 1 5 1 6 1 7 2 8 2 9 2 10 2 phlrwmkhxng aela est displaystyle lb 36 11 displaystyle 36 11 hmaykhwamwa exa 11 displaystyle 11 xxkcak 36 displaystyle 36 36 11 25hkxxk lb exaxxkelkhkhnitekhruxnghmaylb 3 hmaykhwamwa twphkphnkarbwk khxng 3 5 5lb trngknkhamkbelkhkhnitkhxmphli emntkhxngest A B hmaykhwamwa nbechphaaswnkhxng A thiimxinetxr eskhchnkb B hruxich aethnkhxmphliemnt A 1 2 4 B 1 3 4 A B 2 lb odythiimmiest displaystyle pm bwklb 6 3 displaystyle 6 pm 3 hmaykhwamwa 6 3 aela 6 3 phllphthkhxng x 5 4 displaystyle x 5 pm sqrt 4 mixyusxngkhatxb khux x 7 displaystyle x 7 aela x 3 displaystyle x 3 bwkhruxlbelkhkhnitbwklb 10 2 hruxethakb 10 20 hmaykhwamwa xyuinchwngcanwntngaet 10 2 thung 10 2 tha a 100 1 mm aelw a 99 mm aela a 101 mmbwkhruxlbkarwd displaystyle mp lbbwk 6 3 5 hmaykhwamwa 6 3 5 aela 6 3 5 cos x y cos x cos y sin x sin y lbhruxbwkelkhkhnit displaystyle times displaystyle bullet displaystyle cdot khun 3 4 hrux 3 4 hmaykhwamwa nb 3 thnghmd 4 khrng 7 8 56 khrng khunelkhkhnitphlkhunechingseklar phlkhuncud u v hmaykhwamwa phlkhxngewketxr u aela v 1 2 5 3 4 1 6cudphichkhnitechingesnphlkhunikhw u v hmaykhwamwa phlkhunikhwkhxng u aela v 1 2 5 3 4 1 ijk12534 1 displaystyle begin vmatrix i amp j amp k 1 amp 2 amp 5 3 amp 4 amp 1 end vmatrix 22 16 2 khunikhwkbphichkhnitechingesntwechuxm A hmaythungtwyudsahrbxarkiwemntkhxngfngkchn bngchilksnakarthangankhxngniphcnodyimkahndsylksnechphaasahrbxarkiwemnt Functional Analysis displaystyle div displaystyle har 6 3 hrux 6 3 hmaykhwamwa aebng 6 epn 3 khrng khrnglaethakn 2 4 0 5 12 4 3hardwy aebngdwy swndwyelkhkhnitokhwechiynkrup G H hmaythungphlharkhxng G idsbkrup H 0 a 2a b b a b 2a 0 b 0 b a b a 2a b 2a omdulathvsdikrupokhwechiynest A hmaykhwamwa chudthnghmd Equivalence class khxng A thakahndih odythi x y x y ℤ aelw ℝ x n n ℤ x 0 1 omdulaest displaystyle surd saekhwrruth krnth x displaystyle sqrt x hmaykhwamwa canwnbwkthithukthxdrakkhux x 4 2 displaystyle sqrt 4 2 rakthi khxng canwncringsaekhwrruth canwnechingsxn tha z r exp if aethninphikddwy p lt f p aelw z r exp if 2 1 i displaystyle sqrt 1 i rakthi khxngcanwnechingsxncanwnechingsxn displaystyle sum phlrwm k 1Nak displaystyle sum k 1 N a k hmaykhwamwa a1 a2 an displaystyle a 1 a 2 cdot cdot cdot a n k 1Nk2 12 22 32 42 1 4 9 16 30 displaystyle sum k 1 N k 2 1 2 2 2 3 2 4 2 1 4 9 16 30 rwmthnghmd cak thung aekhlkhuls displaystyle int ptiyanuphnth f x dx displaystyle int f x dx hmaythung fngkchnthimixnuphnthepn f displaystyle f x2dx displaystyle int x 2 dx x33 c displaystyle frac x 3 3 c ptiyanuphnthkhxng aekhlkhulspriphnth abf x dx displaystyle int a b f x dx hmaythungphunthiechphaarahwangaekn x aelakrafkhxngfngkchn f rahwang x a aela x b abx2dx displaystyle int a b x 2 dx b3 a33 displaystyle frac b 3 a 3 3 priphnthkhxng cak aekhlkhuls Cfds displaystyle int C fds hmaythungxin thriklkhxng f tamesnokhng C b abf r t r t dt displaystyle int a b f r t r t dt thi r khux a pharamithrieschnkhxng C thaepnokhngpid xacich aethn xinthriklkhxng tam swnkhxng aekhlkhuls displaystyle oint karxinthriekrtechingsxn khlayxinthriklthrrmda aetichkbrupokhngpidhruxhwng bangthikichkbkdkhxngekas hruxcaaethneruxngxinthrikltamphiwaelakartdknbnphunphiw thacaichthngsxngxyang camisylksn ophlma aelakarxinthriklsamchncaich C displaystyle oint C ichephuxaesdngwaepnesnokhngpidrxbcud C hruxxyubncud C tha C khux epn 0 aelw C displaystyle oint C 1zdz 2pi displaystyle frac 1 z dz 2 pi i epnxinthriekrtechingsxnkhxngaekhlkhuls displaystyle ldots displaystyle cdots displaystyle vdots displaystyle ddots cudikhpla ichlapraoykh smkarthiyawmak txngaesdnginphunthicakd 1 2 3 4 aela ichinthukhmwdhmu displaystyle therefore dngnn ichinkaraesdngthungphlkhxngpraoykhkxnhna canwnkhulbkhiaelwidcanwnkhi 0 1 1 displaystyle therefore 0 epncanwnkhudngnn tha aelw ichinthukhmwdhmu displaystyle because ephraa ichinkarihehtuphlkhxngpraoykhkxnhna 1 imepncanwnechphaa displaystyle because miephiyng 1 epntwprakxbediywthihartwmnexnglngtw displaystyle because canwnechphaamitwprakxb 2 twephraa enuxngcakichinthukhmwdhmu displaystyle aefkhthxeriyl emuxaeyk n displaystyle n caid 1 2 n displaystyle 1 times 2 times cdots times n 4 1 2 3 4 24 displaystyle 4 1 times 2 times 3 times 4 24 aefkhthxeriylkhnitsastrechingkarcdniesth A aesdngwa A epnethc thiichtw bangthiexaiwaethntw A A x y x y im imcringthiwatrrksastr displaystyle neg displaystyle thicksim niesth A displaystyle neg A aesdngwa A epnethc niymichsylksn aelaich displaystyle neg rxnglngma swn nkwithyakarkhxmphiwetxr niymichephuxhlikeliyngsylksnthangkhnitsastr A A x y x y im imcringthiwatrrksastr displaystyle propto khngthitx y x aesdngwa y kx emux k mikhakhngthi tha y 2x aelw y smmulkb xsmmulkbichinthukhmwdhmu displaystyle infty xinfiniti xnnt rwmcanwnthixyuaelatxcakesncanwn limitkhxngladb limx 01 x displaystyle lim x to 0 frac 1 x infty epnxnntcanwn displaystyle blacksquare displaystyle Box displaystyle blacktriangleright sinsudkarphisucn ichintxnthaykhxngpraoykhephuxaesdngwasinsudkarphisucn hruxich s t ph kidcbkarphisucn Q E D ichinthukhmwdhmusylksnaethnkhwamethaethiym sylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmu displaystyle ethakb x y dngnn x mikha ehmuxnkb y 2 2 1 1 2 Tau 2 pi ethakb ethiybethakbichinthukhmwdhmu displaystyle neq imethakb x y displaystyle x neq y aesdngwa x immikha imehmuxnkb y swn hrux lt gt swnihyichinechingopraekrm epnrhsaexski 2 2 5 displaystyle 2 2 neq 5 36 5 30 displaystyle 36 5 neq 30 imethakb imethiybethakbichinthukhmwdhmu displaystyle approx praman x y displaystyle x approx y aesdngwa x mikhaiklekhiyngkb y xaccaphbidinrupkhxng hrux p 3 14159praman ekuxbethakb iklekhiyngichinthukhmwdhmukhlaykb G H aesdngwakrup G mikhwamkhlaykhlungkb H hruxcaich aethn Q8 C2 V displaystyle Q 8 C 2 V khlaykb thvsdikrup displaystyle sim karaeckaecngkhwamnacaepn X D hmaykhwamwa X epntwaeprsumkhxng D X N 0 1 karaeckaecngprktiaeckaecngihaeksthitismkarsmmul A B khux samarthsrang B id odyichkardaeninkartamaethw 1224 displaystyle begin bmatrix 1 amp 2 2 amp 4 end bmatrix 1200 displaystyle sim begin bmatrix 1 amp 2 0 amp 0 end bmatrix smmulkbemthriksxndbkhxngkhnad m n aesdngwa m aela n miprimatr ladbkhxngkhnad aetktangkn xyalumwa aetktangcak nakhrb 2 5 8 9 100 aet p2 10aetktangcakkarpramankhakhwamkhlay ABC hmaykhwamwa ABC mikhwamkhlaykb DEF ABC DEFkhlaykberakhakhnitkarkracayechingesnkakb f g khux limn f n g n 1 displaystyle lim n to infty frac f n g n 1 x x 1kracayihaek karwiekhrahkhwamsbsxnkhxngxlkxruthumkhwamsmphnth a b khux b a displaystyle b in a 1 5 omdulskb 4iklekhiyngkbichinthukhmwdhmu displaystyle displaystyle displaystyle equiv displaystyle Leftrightarrow displaystyle triangleq def displaystyle overset underset mathrm def displaystyle doteq karniyam x y y x hrux x y hmaykhwamwa x khux y aela y khux x p q khux p ktxemux q cosh x ex e x2 displaystyle cosh x frac e x e x 2 a b a b b a displaystyle a b a cdot b b cdot a niyamidwa khuxichinthukhmwdhmu displaystyle cong ethaknthukprakar ABC DEF hmaykhwamwa ABC ethaknthukprakarkb DEF mixtraswninaetladanethakn ethaknthukprakarkberkhakhnitkhlaykn G H hmaykhwamwa krup G khlaykb okhrngsrangkhlaykb krup H rucaich kidnaexx V C2 C2khlaykbphichkhnitnamthrrm displaystyle equiv karsmphakhknkhxngcanwn a b mxdular n hmaykhwamwa a b har n lngtw 5 2 mxdular 3 smphakhkb mxdular elkhkhnitmxdular displaystyle Leftrightarrow displaystyle Longleftrightarrow displaystyle leftrightarrow ktxemux A B hmaykhwamwa hakkhakhwamcringkhxng A epn T khakhwamcringkhxng B kcaepn T aethak A khakhwamcringepn F khakhwamcringkhxng B kcaepn F dwy x 5 y 2 x 3 yktxemuxtrrksastr displaystyle displaystyle khakhxng A b hmaykhwamwa A mikhaepn B ih a 3 aelw f x x 3niyamkhxng khux ichinthukhmwdsylksnthichiipthangsay khwasylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmu lt displaystyle lt gt displaystyle gt nxykwa makkwa x lt y hmaykhwamwa x nxykwa y x gt y hmaykhwamwa x makkwa y 3 lt 4 5 gt 4nxykwa makkwakarcdladb xsmkarkhwamsxdkhlxngkhxngsbkrup H lt G hmaykhwamwa H mikhwamsxdkhlxngepnsbkrup G 5Z lt Z A3 lt S3 displaystyle A 3 lt S 3 sxdkhlxngkbthvsdikrup displaystyle ll displaystyle gg nxykwa makkwa mak x lt lt y hmaykhwamwa x nxykwa y mak x gt gt y hmaykhwamwa x makkwa y mak 0 003 1 000 000nxykwa mak makkwa makkarcdladbkarepriybethiybkhxng karkracayechingesnkakb f lt lt g hmaykhwamwa f chnkhunkwa g x ex displaystyle x ll e x michudnxykwa michudmakkwa karwiekhrahtwelkhtxenuxng m n displaystyle mu ll nu hmaykhwamwa m displaystyle mu ephimkhun xyangtxenuxngaelakhngthikb n displaystyle nu p l tha n A 0 displaystyle nu A 0 caid m A 0 displaystyle mu A 0 thanb c aebb counting measure kb 0 1 aelwnb m displaystyle mu aebb Lebesgue measure aelwm c displaystyle mu ll c txenuxngxyangkhngthikb karwd displaystyle leq displaystyle geq nxy makkwahruxethakb x y hmaykhwamwa x nxykwahruxethakb y x y hmaykhwamwa x makkwahruxethakb y bangthixacich lt hrux gt inaebbphasakhxmphiwetxr aelarhsaexski bangkhnxacich aela aetcaniymich samakkwa 3 4 aela 5 5 5 4 aela 5 5nxykwahruxethakb makkwahruxethakb karcdladb xsmkarsbkrup H G hmaykhwamwa H epnsbkrupkhxng G Z Zepnsbkrupkhxngthvsdikrupkarldrup A B hmaykhwamwa pyha A ldrupid B samarthekhiynkakbidwaepnkarldrupaebbihn tha f F x N x A f x B displaystyle exists f in F forall x in mathbb N x in A Leftrightarrow f x in B aelw A FB displaystyle A leq F B ldrupidthvsdikhwamsbsxninkarkhanwn displaystyle leqq displaystyle geqq khwamsmphnthechingkruexns 10a 5 mxduls 5 idaek 1 a 10 nxykwa makkwa elkhkhnitmxdularkhwamethaknechingewketxr x y hmaykhwamwaaetlatwprakxbkhxng x nxykwahruxethakbtamxtraswnkhxngtwprakxb y x y hmaykhwamwaaetlatwprakxbkhxng x makkwahruxethakbtamxtraswnkhxngtwprakxb y xyangirkdi x y yngkhngepncring thathuktwethakn aelathatxihkardaeninkarepliynip x y dngnn x y yngkhngepncring nxykwahruxethakb makkwahruxethakb karcdladb displaystyle prec displaystyle succ karldrupkharp L1 L2 hmaykhwamwa L1 ldrupaebbkharpid L2 tha L1 L2 aela L2 P aelw L1 Pldrupaebbkharpid thvsdikhwamsbsxninkarkhanwneriyngladbimtxenuxngkn P Q hmaykhwamwa twprakxbin P imsmphththkb Q tha P1 Q2 aelw iPi Ai Pi lt Qi displaystyle forall i P i leq A i land exists P i lt Q i eriyngladbimtxenuxngkbkarephimprasiththiphaphaebbhlakhlay displaystyle triangleleft displaystyle triangleright sbkruppkti N G hmaykhwamwa N epnsbkruppktikhxng G Z G Gepnsbkruppktikhxngthvsdikrupxudmkhti I R hmaykhwamwa I epnxumkhtikhxngring R 2 Zepnxudmkhtikhxngimtxenuxng R S hmaykhwamwa R epncudimtxenuxngkhxng S hlaysingxndbkhxng S imsmphnthkbhlaysingxndbkhxng R R S R R S displaystyle R triangleright S R R ltimes S imtxenuxngkb displaystyle Rightarrow displaystyle rightarrow displaystyle supset enguxnikhechingtrrksastr A B hmaykhwamwatha A cring aelw B kepncringdwy tha A epnethc aesdngwaimmikarklawthung B xacichaethn id hruxcaichinechingfngkchn xacichaethn id hruxxaccamikhwamhmaywasbest x 6 x2 5 36 5 31 epncring aet x2 5 36 5 31 x 6 epnethc ephraa x xaccaepn 6 id dngnn tha aelw trrksastr displaystyle subseteq displaystyle subset sbest A B hmaykhwamwa smachikkhxngest A kepnsmachikkhxngest B dwy epnsbestaeth A B hmaykhwamwa A B aet A B bangkhnich aethn A B A ℕ ℚ ℚ ℝepnsbestkhxngest displaystyle supseteq displaystyle supset suepxrest A B hmaykhwamwa smachikthuktwkhxngest B epnsmachikkhxngest A dwy A B A B aet A B A B B ℝ ℚepnsuepxrestkhxngest displaystyle Subset fngxyuxyangtidtrung A B hmaykhwamwatwthiiklekhiyngkb B epnsbestkhxng A dwy ℚ 0 1 0 5 displaystyle cap 0 1 Subset 0 5 tidxyukbest displaystyle to luksrfngkchn f X Y hmaykhwamwa aephnphaphfngkchnkhxng f cak X ip Y ih f ℤ ℕ 0 thukkahndody f x x2 cak ip est displaystyle mapsto luksrfngkchn f a b hmaykhwamwa fngkchn f aemphipyngsmachikkhxng a ipyngsmachikkhxng b ih f x x 1aemphipyngest displaystyle leftarrow odyny a b hmaykhwamwa praphcn a aela b tha b hmaykhwamwa a aelw a caepnnykhxng b a txsmachikkhxng b hruxcaxanwa a tha b hruximich b emuximmi a exx aelwkxyaipsbsnkberuxngkarkahndkhadwy tha trrksastr lt displaystyle lt lt displaystyle lt cdot sbithp T1 lt T2 hmaykhwamwa T1 epnsbithpkhxng T2 tha S lt T aela T lt U aelw S lt Uepnsbithpkhxngkhrxbkhlum x lt y hmaykhwamwa x thukkhrxbkhlumody y 1 8 lt 1 3 8 aelaxyuinest 1 2 10 cderiyngtamsmachikkhrxbkhlumodykarcdladb displaystyle vDash sngtx A B hmaykhwamwa praoykh A sngphlaek B inthukomedl tha A epncring B kcaepncringdwy A A Asngtxihaek displaystyle vdash xnuman x y hmaykhwamwa y macak x A B B Axnumanidwatrrksastrkaraebngswn p n hmaykhwamwaemuxaebng p aelwcaid n 4 3 1 1 9 l n fl 2 n displaystyle 4 3 1 1 vdash 9 sum lambda vdash n f lambda 2 n aebngswnidthvsdicanwn displaystyle langle ewketxrbra f hmaykhwamwaepnkhukhxngewketxr f fngkchnechingesn thiepnekhthkb ps sungcaid f ps bra khukhxng sykrnbra ekhth displaystyle rangle ewketxrekhth f khux ewketxrthithukkakbdwy f sungxyuinpriphumikhxnghilebirt sthanakhiwbit sungxxkmaepn a 0 b 1 thisung a aela b epncanwnechingsxn a 2 b 2 1 ekhth ewketxr sykrnbra ekhth chxngwang sylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmu displaystyle choose karcd khasmprasiththisxngkha nk n n k k n k 1 n 2 n 1 nk displaystyle binom n k frac n n k k frac n k 1 cdots n 2 cdot n 1 cdot n k hmaykhwamwa ih n epncanwnetmbwk epnkarcdkhxngsmachikin k xingcakest a sungmismachikepn n hruxcaekhiyninrup C n k C n k nCk nCk hrux nk displaystyle left langle begin matrix n k end matrix right rangle 365 36 36 5 5 32 33 34 35 361 2 3 4 5 376 992 displaystyle binom 36 5 frac 36 36 5 5 frac 32 cdot 33 cdot 34 cdot 35 cdot 36 1 cdot 2 cdot 3 cdot 4 cdot 5 376 992 57 5 5 4 5 3 5 2 5 1 5 5 51 2 3 4 5 6 7 332 048 displaystyle binom 5 7 frac 5 5 cdot 4 5 cdot 3 5 cdot 2 5 cdot 1 5 cdot 5 cdot 5 1 cdot 2 cdot 3 cdot 4 cdot 5 cdot 6 cdot 7 frac 33 2 048 n eluxk kkhnitsastrechingkarcd displaystyle left choose right khasmprasiththihlaykha uk u k 1 k u k 1 u 1 k displaystyle left u choose k right u k 1 choose k frac u k 1 u 1 k emux u epncanwnetmbwk hmaykhwamwa karephimkhunhruxldlngkhxngkhasmprasiththisxngkha 5 57 57 5 5 4 5 3 5 2 5 1 5 5 51 2 3 4 5 6 7 332 048 displaystyle left 5 5 choose 7 right binom 5 7 frac 5 5 cdot 4 5 cdot 3 5 cdot 2 5 cdot 1 5 cdot 5 cdot 5 1 cdot 2 cdot 3 cdot 4 cdot 5 cdot 6 cdot 7 frac 33 2 048 u eluxkhlaykha kkhnitsastrechingkarcd displaystyle ldots khasmburn mxduls x hmaykhwamwarayabnesncanwn hruxtdkbsngyukh rahwang x aela 0 3 3 5 5 5 i 1 3 4i 5smburnkbcanwnkhapracaaebbyukhlid x hmaythungkhwamyaw aebbyukhlid khxngewketxr x tha x 3 4 aelw x 32 4 2 5 displaystyle x sqrt 3 2 4 2 5 khapracaaebbyukhlidkhxng erakhakhnitdiethxrmiaennt A hmaythungdiethxrmiaenntkhxngemthriks A 1229 5 displaystyle begin vmatrix 1 amp 2 2 amp 9 end vmatrix 5 diethxrmiaenntkhxngemthriksphawaechingkarnb x hmaythungphawaechingkarnbkhxng x hruxxacich aethn 3 5 7 9 4phawaechingkarnbkhxng khnadkhxng chudkhxngest displaystyle ldots khapraca x hmaythungkhapracakhxngsmachikin x khxng x y x y khapracakhxng khwamyawkhxngphichkhnitechingesnfngkchncanwnetmiklsud x hmaythungcanwnetmiklsudkb x hruxekhiyninrup x x nint x hrux Round x 1 1 1 6 2 2 4 2 3 49 3iklekhiyngkbcanwnetm anwntwelkh displaystyle okhrngest a b c hmaykhwamwa smachikkhxngestprakxbdwy a b aela c ℕ 1 2 3 epnestkhxng est displaystyle displaystyle displaystyle enguxnikhkhxngsmachikinest x P x smachikkhxng x khux P x hruxich x P x n ℕ n2 lt 20 1 2 3 4 epnsmachikkhxng odythi est displaystyle lfloor ldots rfloor phun x hmaykhwamwaphunkhxng x hruxxikxyang epncanwnetmthimakthisudthinxykwahruxethakb x hruxekhiyninrup x floor x hrux int x 4 4 2 1 2 2 9 2 2 6 3phun canwnetmthimakthisudcanwn displaystyle lceil ldots rceil ephdan x khuxephdankhxng x hruxxikxyang epncanwnetmthinxythisudthimakkwahruxethakb x hruxekhiyninrupkhxng ceil x hrux ceiling x 4 4 2 1 3 2 9 3 2 6 2ephdancanwn displaystyle rsmikhxngfildi K F hmaythungrsmikhxngfildikhxng K F ℚ 2 ℚ 2 ℂ ℝ 2 ℝ ℚ epnrsmikhxngfildikhxngfildi displaystyle displaystyle displaystyle chnkhwamethakn a a R hmaythungchnkhwamethaknkhxng a emux x x a thisung epnkhwamsmphnthechingsmphthth ih a b epncring ktxemux a b mxduls 5 aelw 2 8 3 2 7 epnchnkhwamethaknkhxngphichkhnitechingnamthrrmphun x hmaykhwamwaphunkhxng x hruxxikxyang epncanwnetmthimakthisudthinxykwahruxethakb x hruxekhiyninrup x floor x hrux int x dngklawiwkhangtn 3 3 3 5 3 3 99 3 3 7 4phun canwnetmthimakthisudcanwnfngkchncanwnetmiklsud x hmaythungcanwnetmiklsudkb x hruxekhiyninrup x x nint x hrux Round x exx aelwxyasbsnkb phun sala xthibayipaelwna 2 2 2 6 3 3 4 3 4 49 4iklekhiyngkbcanwnetm canwnthapraphcn S S khwamcringepn 1 dngnn S ethccaepn 0 0 5 0 7 gt 0 1 2 2 3 4 1 5 2 3 4 01 epncring 0 epn 1 trrksastrximemc sbestkhxngfngkchnokhodemn f X hmaythung f x x X ximemckhxngfngkchn f inest X odmiaennth f sin R 1 1 displaystyle sin mathbb R 1 1 epnximemckhxng it ichinthukhmwdhmuchwngpid a b x R a x b displaystyle a b x in mathbb R a leq x leq b 0 aela 1 2 tangkxyuinchwng 0 1 chwngpidkarcdladbtwsbepliyn g h g 1h 1gh hrux ghg 1h 1 if g h G krup a b ab ba if a b R ring phichkhnitechingsbepliyn xy x x y thvsdikrup AB C A B C A C B thvsdiring twsbepliynkhxngthvsdikrup phlkhunechingseklarsamchn a b c a b c phlkhunkhxng a b kb c a b c b c a c a b phlkhunechingseklarsamchnkhxngaekhlkhulsewketxr displaystyle displaystyle fngkchnprayukt f x hmaythung khakhxngfngkchn f n smachikkhxng x tha f x x2 5 aelw f 6 62 5 36 5 31khxngestximemc sbestkhxngfngkchnokhodemn f X hmaythung f x x X ximemckhxngfngkchn f inest X odmiaennth f thaklwcasbsnkberuxngfngkchnprayuktkekhiyn f x ipehxa sin R 1 1 displaystyle sin mathbb R 1 1 epnximemckhxng it ichinthukhmwdhmuladbkardaeninkar daeninkarcaksmkarinwngelbkxn 8 4 2 2 2 1 aet 8 4 2 8 2 4 wngelbichinthukhmwdhmuhlaysingxndb mulkhatamkarcderiyng hruxtamladb ewketxraenwrab ewketxraenwtng aetcngcaiwwakarich a b nnkhlumekhruxmak ephraaxacklayepnrayaepid hruxkhuxndbipid dngnn nkthvsdihruxnkwithyakarkhxmphiwetxr mkcaichwngelbesnhk aethn a b epnkhuxndb hrux 2 singxndb a b c epnitrxndb hrux 3 singxndb epnxndbwang hrux 0 singxndb hlaysingxndb n singxndb khu itr l ewketxraenwtng ladbichinthukhmwdhmutwharrwmmak h r m a b khuxtwharrwmmakkhxng a aela b ikhrkhiekiycekhiynk h r m a b ethxana 3 7 1 canwnechphaasmphthth 15 25 5twharrwmmak h r m khxng khux thvsdicanwn displaystyle displaystyle chwngepid a b x R a lt x lt b displaystyle a b x in mathbb R a lt x lt b k cabxkehmuxnedimnana khuxix a b eniy mnkhlumekhrux ephraaxacklayepnrayaepid hruxkhuxndbipid kich ephuxkhwamchdecnsana 4 imxyuinchwng 4 18 0 ethakbestthiepncanwncringbwkchwngepidkarcdladb displaystyle displaystyle chwngepidsay a b x R a lt x b displaystyle a b x in mathbb R a lt x leq b 1 7 aela 1 epidkhrungchwng epidchwngsaykarcdladb displaystyle displaystyle chwngepidkhwa a b x R a x lt b displaystyle a b x in mathbb R a leq x lt b 4 18 aela 1 epidkhrungchwng epidchwngkhwakarcdladb displaystyle langle rangle displaystyle langle rangle smachikphayin u v hmaythungsmachikphayinkhxng u aela v thisung v aela u tangkepnsmachikkhxngphunthismachikphayin cngcaiwwa u v kkhlumekhruxna kmnhmaykhwamidsxngxyang khux smachikphayinkbesnsaepn miexksarhlaychinthiyngich u v aela u v tamthixthibayiw sahrbewketxrchxngwang kxaccaichcud aelw kb bangthimnphimphyak ephuxihngaytxkarphimphbnkhiybxrd ekhakcaich lt kb gt kn kepnkarhlikeliyngsylksnthangkhnitsastrthanghnung phlkhuncudmatrthanthixyurahwang x 2 3 aela y 1 5 khux x y 2 1 3 5 13smachikphayinkhxngphichkhnitechingesnkhaechliy ih S epnsbestkhxng N aelw S aesdngthungkhaechliykhxngsmachikthuktwin S emuxchudkhxngewlaepn g t t 1 2 casamarthkahndokhrngsrangfngkchnid Sq t displaystyle S q tau Sq g t t g t q t displaystyle S q langle g t tau g t q rangle t echliyidsthitikhakhwamkhadhwng khakhwamimtxenuxngkhxng x khxngfngkchn f x khakhwamkhadhwngkhxng f x caepn f x xf x P x displaystyle langle f x rangle sum x f x P x aelakhakhwamkhadhwngtxenuxngkhxng f x khux f x xf x P x displaystyle langle f x rangle int x f x P x thisung P x khux PDF Probability Density Function khxng xkhakhwamkhadhwngkhxngkhwamnacaepnesnsaepn S khuxsaepnkhxng S V thixinetxreskhchnkbphunthikhxng V thnghmdthiprakxbdwy S u1 u2 epnrupyxkhxng u1 u2 100 010 001 R3 displaystyle left langle left begin smallmatrix 1 0 0 end smallmatrix right left begin smallmatrix 0 1 0 end smallmatrix right left begin smallmatrix 0 0 1 end smallmatrix right right rangle mathbb R 3 esn saepnkhxngphichkhnitechingesnkarsrangestkhxngkrup S hmaythungsbkrupthielkthisudkhxng G thisung S G epnkrup odysmachikthuktwepnkhxng S echnkn g1 g2 epnrupyxkhxng g1 g2 in S3 mi 1 2 id 1 2 aela 1 2 3 id 1 2 3 1 3 2 sbkrupthisrangkhunodythvsdikruphlaysingxndb mulkhatamkarcderiyng hruxtamladb ewketxraenwrab ewketxraenwtng a b epnkhuxndb hrux 2 singxndb a b c epnitrxndb hrux 3 singxndb epnxndbwang hrux 0 singxndb hlaysingxndb n singxndb khu itr l ewketxraenwtng ladbichinthukhmwdhmu displaystyle langle rangle displaystyle smachikphayin u v hmaythungsmachikphayinkhxng u aela v thisung v aela u tangkepnsmachikkhxngphunthismachikphayin cngcaiwwa u v kkhlumekhruxna kmnhmaykhwamidsxngxyang khux smachikphayinkbesnsaepn bangthimnkich u v aela u v tamthixthibayiw sahrbewketxrchxngwang kxaccaichcud aelw kb bangthimnphimphyak ephuxihngaytxkarphimphbnkhiybxrd ekhakcaich lt kb gt kn kepnkarhlikeliyngsylksnthangkhnitsastrthanghnung smachikphayinkhxngphichkhnitechingesnxun thiimichsylksncakxksr sylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmu displaystyle khxnowluchn f g hmaykhwamwa epnkhxnowluchnkhxng f aela g f g t 0tf t g t t dt displaystyle f g t int 0 t f tau g t tau d tau khxnowluchnkbsngyukh z hmaykhwamwa canwnechingsxn z epnsngyukh hruxcaich z displaystyle overline z kid 3 4i 3 4isngyukhkbcanwnechingsxnR prakxbdwyestkhxngyunitkhxngring R tamkardaeninkaraelakarkhun hruxcaich R hrux U R Z 5 Z 1 2 3 4 displaystyle mathbb Z 5 Z 1 2 3 4 C4 displaystyle cong C 4 epnyunitkrupkhxngHyperreal numbers R hmaykhwamwa estkhxngcanwnihepxreriyl estxunkichaethn R id N epncanwnetmihepxrepn estkhxng ihepxreriylohc duxl v hmaythungohc duxl khxngewketxr v tha v epnewketxr k mltiewketxr thixyuinphunthikarprbewketxrmitikhxng n aelw v khux n k ewketxrohc duxlphichkhnitechingesnkhlini star kardaeninkaraebbkhlini tam inkarichkbniphcnpktiaelw tha epnestbnesnid aelw epnestthukestthixyubnesnid thisamarthsrangodyichsmachikkhxng esnidbnesnediywknkaeykepnhlayesnid aelaesnwangknbepnsmachikkhxng tha a b c aelw rwm a ab aba abac l estetmekhiynihhmdinniimihwhrxkkhun ephraaepnestnbid aetesnaeykaetlaesncamikhwamyawcakdkhlini starwithyakarkhxmphiwetxr trrksastr displaystyle propto smphththkb smmulkb y x hmaykhwamwa y kx emux k epnkhakhngthi tha y 2x aelw y x smphththkb smmulkbichinthukhmwdhmukarldrupaebbkharp A B hmaykhwamwa A ldrupaebbphhunamidpyha B tha L1 L2 aela L2 P aelw L1 Pldrupaebbkharpidthvsdikhwamsbsxninkarkhanwn displaystyle setminus khxmphliemntkhxngest A B hmaykhwamwa smachikkhxngest A thiimmismachikthixyuin B yxnipdu kid xthibayiwaelw 1 2 3 4 3 4 5 6 1 2 hkxxk immi epnkhxmphliemntkhxngest displaystyle khwamnacaepnmienguxnikh khwamnacaepnkhxngehtukarnhnungthimikhwamekiywkhxngkbxikehtukarnhnung ody P A B hmaythungkhwamnacaepnkhxngehtukarn A emuxruwaekidehtukarn B tha X khux a epnwninpi P X khux ph kh thi 25 X xyuineduxn ph kh 1 31epnswnkhxngkhwamnacaepnestcakd f A hmaykhwamwa fngkchn f cakdid A aelaodemnkhxngfngkchn A dom f tam f fngkchn f R R kahndody f x x2 imichkarkracay aet f R epnkarkracaycakdkhxng estemux hmaykhwamwa emux ich tamthixthibayipkid S x y 0 lt y lt f x hmaykhwamwaestkhxng x y makkwa 0 aetnxykwa f x emux odythiichinthukhmwdhmu displaystyle mid displaystyle nmid twhar karhar a b hmaykhwamwa a har b lngtw a b hmaykhwamwa a har b imlngtw sylksnphwknimnphimphyak khnswnihykcaich kn ephraa 15 3 5 epncring aelw 3 15 aela 5 15harthvsdicanwn displaystyle mid mid harodylaexiyd pa n hmaykhwamwa pa harodylaexiydkb n p l pa har n aet pa 1 imidhar 23 360harodylaexiydthvsdicanwn displaystyle parallel displaystyle nparallel khnan x y hmaykhwamwa x khnankb y x y hmaykhwamwa x imkhnankb y x y hmaykhwamwa x ethakbaelakhnankb y tha l m aela m n aelw l n khnankb imkhnankb erkhakhnitethiybimid x y hmaykhwamwa x ethiybimidkb y 1 2 2 3 inestediywknethiybimidkarcdladb displaystyle sharp phawaechingkarnb X hmaykhwamwa phawaechingkarnbkhxng X ich kid 4 6 8 3phawaechingkarnbkhxng khnadkhxng chudkhxngestcudechuxmtxrwm A B hmaythung epnkhxng A aela B tha A aela B epnhwng cudnikcaklayepnpmrwm thisungphawatangcaaekrngkwaelknxy A Sm epnohemiyrfisumkhxng A aekcudhlaycudin A aelasepiyr Smepncudechuxmtxrwmkhxng epnpmrwmkhxng thxphxolyi iphrmxeriyl n epnphlitphnththnghmdkhxngcanwnechphaathinxykwahruxethakb n 12 2 3 5 7 11 2310iphrmxeriylthvsdicanwn displaystyle emux ichephuxbxkenguxnikhkhxngsmachikinest n ℕ n epncanwnkhuemux khnathiichinthukhmwdhmuswnkhyaykhxngfild K F hmaykhwamwa K khyayaekfildi F ekhiynwa K F kid ℝ ℚkhyayaekfildsmachikphayinkhxngemthriks A B hmaykhwamwaemuxichkhntxnwithiofrebnixuscaidsmachikphayinkhxng A aela B swnihymkich u v u v hrux u v esiymakkwa swnthiepnewketxr mkich x y A B i jAijBij displaystyle A B sum i j A ij B ij epnsmachikphayinkhxngphichkhnitechingesntwbngsbkrup twbngsbkrup H inkrup G khux primansmphthth khxng H tx G hrux khwamethaknkhxngtwelkhthi lxkeliyn okhest khxng H thinamaxyuin G G H G H displaystyle G H frac G H twbngsbkrupthvsdikruphar A B hmaythung A aebngepnswn har kb B 10 2 5harkbichinthukhmwdhmu displaystyle vdots cudikhplaklbdan ephuxaesdngwakhakhngtwinsmkarnnbangtwthukyxhayip aesdngiwechphaatwthisakhy P r t X E r t1 E r t2 E r t3 displaystyle P r t X vdots E r t 1 E r t 2 E r t 3 cudikhplaklbdanichinthukhmwdhmu displaystyle wr phlitphnthchud A H hmaykhwamwa epnphlitphnthchud A cakkrup H hruxcaekhiynwa Awr H Sn Z2 mikhwamkhlayknthangxxotmxfisum khxngkrafsxngswnbriburn bncud n n epnphlitphnthchud khxng thvsdikrup luksrsikaeskklbhw ephuxaesdngwasxngkrnidngklawkhangtnnnkhdaeyngkn x 4 x 3 kahndih thukestcakd estimwang mismachikcanwnmak kahndih X epnestcakd estimwang thimismachikcanwnnxy dngnn x1 X displaystyle exists x 1 in X aela x2 X displaystyle exists x 2 in X kb X1 lt X2 aettha x3 X displaystyle exists x 3 in X aela X2 lt X3 txiperuxy dngnn X1 X2 X3 epnsmachikthitangknin X X epnestcakdkhdaeyngkbichinthukhmwdhmu displaystyle oplus displaystyle veebar echphaa hrux A B caepncring ktxemux A hrux B aetimichthngkhuthiepncring ich A B kid A A A B epnethcthukkrniechphaa hruxaekhlkhulsechingpraphcn phichkhnitaebbbulkarrwmodytrng karrwmodytrngepnkarrwmhlaywtthuekhadwyknihklayepnwtthuthrrmda General Object mkich hruxichtwokhophrdks swn ichechphaakbtrrksastr odythwip priphumiewketxr U V aela W caidphlkhux U V W U V W V W 0 karrwmodytrngphichkhnitnamthrrm displaystyle wedge bigcirc phlitphnthkhulkhani onmisu epnphlethnesxrcakkhuxndbsmmatr 0 2 epnkhwamsmmatrthangphichkhnitkhxng f g h displaystyle f g wedge bigcirc h prakxbdwy fabgd gaghbd gbdhag gadhbg gbghad displaystyle f alpha beta gamma delta g alpha gamma h beta delta g beta delta h alpha gamma g alpha delta h beta gamma g beta gamma h alpha delta phlitphnthkhulkhani onmisuphichkhnitethnesxr Tensor Algebra displaystyle Box epntwdaeninkarthitrngkhamkbkardaeninkarlapas epnkrupthixyuphayitpriphumi aelaldkardaeninkarlapas sungmikhwamcakdphayit sungmikhakhngthi 2c2 displaystyle Box frac 2 c 2 2 t2 2 x2 2 y2 2 z2 displaystyle partial 2 over partial t 2 partial 2 over partial x 2 partial 2 over partial y 2 partial 2 over partial z 2 imichtwdaeninkarlapasaekhlkhulsewketxrxun thiepnsylksncakxksr twxksrcakkhaphasaxngkvs hruxxacaeriykwa ekhruxnghmayesrimsthxksr sylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmua displaystyle bar a mchchimelkhkhnit khaechliyelkhkhnit x displaystyle bar x mkxanwa x bar khuxkhaechliykhxng x khamatrthankhxng xi x 1 2 3 4 5 x 3 displaystyle x 1 2 3 4 5 bar x 3 echliyid sthitiladbcakd hlaysingxndb a displaystyle bar a hmaythung ladbcakd hlaysingxndb a a1 a2 an a a1 a2 an displaystyle bar a a 1 a 2 a n ladbcakd hlaysingxndbF displaystyle bar F hmaythung karchidknechingphichkhnitkhxngfild F fildcanwnechingphichkhnit mkich Q displaystyle bar mathbb Q ephraachidknechingphichkhnitkbcanwntrrkya Q displaystyle mathbb Q epnkarchidknechingphichkhnitkhxngthvsdifildsngyukh canwnechingsxn z displaystyle bar z hmaythung sngyukhkhxngcanwnechingsxn z ich z kid 3 4i 3 4i displaystyle overline 3 4i 3 4i sngyukhcanwnechingsxnS displaystyle overline S hmaythung karchidknechingthxphxolyikhxngest S hruxcaekhiynwa cl S hrux Cl S inpriphumicanwncringnn caekhiynidwa Q R displaystyle overline mathbb Q mathbb R canwntrrkyaichpriphumimaksudincanwncring chidkn echingthxphxolyi kbthxphxolyia displaystyle overset rightharpoonup a ewketxrtrngipyngphichkhnitechingesna displaystyle hat a ewketxrhnunghnwy a displaystyle hat a xanwa hmwk kid epnewketxrhnunghnwykhxng a mikhwamyawepn 1hmwkerkhakhnitkarkahndkha 8 displaystyle hat theta epntwkahndkhapharamietxrkhxng 8 displaystyle theta karkahndkha m ixin displaystyle hat mu frac sum i x i n kahndkhaxyangngay Sample Estimate id m x displaystyle hat mu x tx m displaystyle mu kahndkhasthiti displaystyle xnuphnth f x hmaythung xnuphnthkhxngfngkchn f n cud x hrux khwamchnkhxngaethnecntthung f n x xacichxyprakasediywaethn mkphbinrhsaexski tha f x x2 aelw f x 2xphalm xnuphnthkhxng aekhlkhuls displaystyle dot xnuphnth x displaystyle dot x hmaythungxnuphnthkhxng x tamewla sung x t tx t displaystyle dot x t partial over partial t x t tha x t t2 aelw x t 2t displaystyle dot x t 2t cud epnxnuphnthewlakhxngaekhlkhulstwxksrthimacakxksrlatin sylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmu displaystyle forall thnghmd x P x P x caepncring emux x thuktwepncring x x ℕ x2 x sahrb thnghmd fxrxxl sahrb id sahrb aetlatwtrrksastrB displaystyle mathbb B B displaystyle mathbf B odemnaebbbul 𝔹 hmaykhwamidthng 0 1 ethc cring F T hrux displaystyle bot top F 𝔹bi B estkhxng khakhwamcringest phichkhnitaebbbulC displaystyle mathbb C C displaystyle mathbf C canwnechingsxn ℂ khux a b i a b ℝ i 1 ℂ estkhxng canwnechingsxncanwnc displaystyle mathfrak c phawaechingkarnbmikhwamtxenuxng phawaechingkarnbkhxng ℝ khux ℝ hruxich 𝔠 c ℶ1 displaystyle mathfrak c beth 1 si phawaechingkarnbkhxngcanwncringest f xi hmaythung xnuphnthyxykhxng f tx xi emux f epnfngkchnkhxng x1 xn tha f x y x2y aelw f x 2xyxnuphnth diaekhlkhuls M hmaythung khxbekhtkhxng M x x 2 x x 2 khxbekhtkhxngthxphxolyidikrikhxngphhunam f epndikrikhxngphhunam f hruxcaekhiynwa deg f kid x2 1 2dikrikhxngphichkhnitE displaystyle mathbb E E displaystyle mathbf E khakhadhmay khakhadhmaykhxng twaeprsum khux khaechliythwngnahnk weighted average khxngthukkhathiepnipidkhxngtwaeprsum odyinkarkhanwnkarthwngnahnkcaichkhafngkchnkhwamhnaaennkhxngkhwamnacaepn probability density function sahrbtwaeprsumtxenuxng hruxichkhafngkchnmwlkhxngkhwamnacaepn probability mass function sahrbtwaeprwiyut E X x1p1 x2p2 xkpkp1 p2 pk displaystyle mathbb E X frac x 1 p 1 x 2 p 2 cdots x k p k p 1 p 2 cdots p k khakhadhmaykhwamnacaepn displaystyle exists bangtw x P x hmaykhwamwa hakmi x twidtwhnungepncring praoykhepidnicamikhakhwamcringepncring x x ℕ x canwnkhu mi bangtw fxrsm mi xyangnxyhnungtwtrrksastr displaystyle exists hnungtw x P x hmaykhwamwa mi P x xyuhnungtwthiepncring x x ℕ x 5 2x mi hnungtwtrrksastr displaystyle in displaystyle not in smachikkhxngest a S hmaykhwamwa a epnsmachikkhxngest S a S hmaykhwamwa a imepnsmachikkhxngest S 1 2 1 ℕ 2 1 ℕepnsmachikkhxngest imepnsmachikkhxngestichinthukhmwdhmu odyechphaaest displaystyle ni displaystyle not ni smachikkhxngest S e e S S e e Sepnsmachikkhxngest imepnsmachikkhxngestestemux mkichxksryx s t Such That ich kid twxksrni thukephimekhamainkhnitsastrsmyihm ichsylksn expislxnklbdan bangthi ichephuximihsbsnkbtwbxksmachikkhxngest kahndih x 2 x aela 3 x inthiniaethnkarhar emuxkhnittrrksastrH displaystyle mathbb H H displaystyle mathbf H khwxethxreniyn aehmilthn khwxethxreniyn ℍ hmaythung a b i c j d k a b c d ℝ exch khwxrethxeniyncanwnI displaystyle mathbb I I displaystyle mathbf I canwnetm I displaystyle mathbb I hmaythungcanwnetmid 3 2 1 0 1 2 3 aela I displaystyle mathbb I hmaythung canwnetmbwk 1 2 3 I displaystyle mathbb I hmaythung canwnetmlb 3 2 1 I p p p N 0 displaystyle mathbb I p p p in mathbb N cup 0 estkhxng canwnetmcanwnN displaystyle mathbb N N displaystyle mathbf N canwnnb canwnthrrmchati ℕ hmaykhwamidthng 0 1 2 3 hrux 1 2 3 thngsxngestnn caichxnihn khunxyukbwaxyueruxngxair thinbtngaet 1 khuxdan khnitwiekhrah thvsdicanwn thvsdiest aela withyakarkhxmphiwetxr swnthinbtngaet 0 mkichkbcanwnnb elkhladbthinxythisud w thinbtngaet 0 ℕ a a ℤ hrux ℕ a gt 0 a ℤ estkhxng canwnnb canwnthrrmchaticanwn displaystyle circ sahrbemthrikssxngtw hruxewketxr thixyuinpriphumiediywkn A B Rm n displaystyle A B in mathbb R m times n phlkhunxadamarepnemthriksthixyuinpriphumiediywknkhux A B Rm n displaystyle A circ B in mathbb R m times n emuxaeckaecngsmachikcaid A B i j A i j B i j displaystyle A circ B i j A i j cdot B i j 1224 1200 1400 displaystyle begin bmatrix 1 amp 2 2 amp 4 end bmatrix circ begin bmatrix 1 amp 2 0 amp 0 end bmatrix begin bmatrix 1 amp 4 0 amp 0 end bmatrix phlkhunxadamarphichkhnitechingesnf g khux f g x f g x tha f x 2x aela g x x 3 aelw f g x 2 x 3 prakxbdwyestO displaystyle O sykrnoxihy epnsykrnkhnitsastrthiichbrryaykhxngfngkchn odyrabuepnkhnad magnitude khxngfngkchninphcnkhxngfngkchnxunthiodythwipsbsxnnxykwa tha f x 6x4 2x3 displaystyle f x 6x 4 2x 3 aela g x x4 displaystyle g x x 4 aelw f x O g x as x displaystyle f x O g x operatorname as x rightarrow infty