ในทางคณิตศาสตร์ ตัวผกผันการบวก (อินเวิร์สการบวก) ของจำนวน n หมายถึงจำนวนที่บวกกับ n แล้วได้เอกลักษณ์การบวก นั่นคือ 0 ตัวผกผันการบวกของ n เขียนแทนด้วย −n
ตัวอย่างเช่น ตัวผกผันการบวกของ 7 คือ −7 เนื่องจาก 7 + (−7) = 0 และตัวผกผันการบวกของ −0.3 คือ 0.3 เนื่องจาก −0.3 + 0.3 = 0
ตัวผกผันการบวกของจำนวนใดๆ สามารถนิยามเป็น (inverse element) ภายใต้การดำเนินการทวิภาคของการบวก และสามารถคำนวณได้โดยการคูณกับ −1 นั่นคือ −n = −1 × n
เซตของจำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ จำนวนจริง และจำนวนเชิงซ้อน ต่างก็มีตัวผกผันการบวก เพราะมีสมาชิกที่เป็นจำนวนลบพอๆ กับจำนวนบวก แต่จำนวนธรรมชาติ และจำนวนเชิงอันดับที่ ไม่มีตัวผกผันการบวกอยู่ในเซต เนื่องจากจำนวนลบไม่ใช่สมาชิกของเซตดังกล่าว
นิยามทั่วไป
กำหนดให้เครื่องหมายบวก + เป็นการดำเนินการทวิภาคการบวกที่มีสมบัติการสลับที่ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวสามารถกระทำได้บนสมาชิกเป็นกลาง o เช่น และมีเพียงหนึ่งเดียว ดังนั้นหากมีค่า x และ x' ที่ทำให้เงื่อนไขนี้เป็นจริง
จะเรียก x' ว่าเป็นตัวผกผันการบวกของ x (หรือในทางกลับกัน) และตัวผกผันการบวกนี้ก็จะมีเพียงหนึ่งเดียวสำหรับทุกๆ จำนวนจริง
ถ้าหาก + มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ตัวผกผันการบวกก็ยังคงมีเพียงหนึ่งเดียว คือ
ตัวผกผันการบวกเขียนแทนด้วย −x และเราสามารถเขียน x − y เป็นการลบแทน x + (−y) ก็ได้
ดูเพิ่ม
- เอกลักษณ์การบวก
- ตัวผกผันการคูณ (อินเวิร์สการคูณ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangkhnitsastr twphkphnkarbwk xinewirskarbwk khxngcanwn n hmaythungcanwnthibwkkb n aelwidexklksnkarbwk nnkhux 0 twphkphnkarbwkkhxng n ekhiynaethndwy n twxyangechn twphkphnkarbwkkhxng 7 khux 7 enuxngcak 7 7 0 aelatwphkphnkarbwkkhxng 0 3 khux 0 3 enuxngcak 0 3 0 3 0 twphkphnkarbwkkhxngcanwnid samarthniyamepn inverse element phayitkardaeninkarthwiphakhkhxngkarbwk aelasamarthkhanwnidodykarkhunkb 1 nnkhux n 1 n estkhxngcanwnetm canwntrrkya canwncring aelacanwnechingsxn tangkmitwphkphnkarbwk ephraamismachikthiepncanwnlbphx kbcanwnbwk aetcanwnthrrmchati aelacanwnechingxndbthi immitwphkphnkarbwkxyuinest enuxngcakcanwnlbimichsmachikkhxngestdngklawniyamthwipkahndihekhruxnghmaybwk epnkardaeninkarthwiphakhkarbwkthimismbtikarslbthi x y y x displaystyle x y y x sungkardaeninkardngklawsamarthkrathaidbnsmachikepnklang o echn x o o x x displaystyle x o o x x aelamiephiynghnungediyw o o o o displaystyle o o o o dngnnhakmikha x aela x thithaihenguxnikhniepncring x x x x o displaystyle x x x x o dd caeriyk x waepntwphkphnkarbwkkhxng x hruxinthangklbkn aelatwphkphnkarbwknikcamiephiynghnungediywsahrbthuk canwncring thahak mismbtikarepliynklum x y z x y z displaystyle x y z x y z twphkphnkarbwkkyngkhngmiephiynghnungediyw khux x x o x x x x x x o x x displaystyle x x o x x x x x x o x x dd twphkphnkarbwkekhiynaethndwy x aelaerasamarthekhiyn x y epnkarlbaethn x y kidduephimexklksnkarbwk twphkphnkarkhun xinewirskarkhun