โดเมนแบบบูล (อังกฤษ: Boolean domain) ในทางคณิตศาสตร์และพีชคณิตนามธรรม คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกสองตัวที่เป็นการตีความว่า เท็จ กับ จริง เท่านั้น ในทางตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ โดเมนแบบบูลมักจะเขียนเป็น {0, 1}, {false, true}, {F, T}, หรือ
ที่สร้างขึ้นบนโดเมนแบบบูลตามธรรมชาติคือ (two-element Boolean algebra) ในของคือโดเมนแบบบูล
ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตัวแปรแบบบูล (Boolean variable) คือตัวแปรที่เก็บค่าเป็นสมาชิกจากโดเมนแบบบูล ภาษาโปรแกรมบางภาษามีคำหรือสัญลักษณ์ที่สงวนไว้สำหรับสมาชิกในโดเมนแบบบูล เช่น false
กับ true
อย่างไรก็ดี ภาษาโปรแกรมหลาย ๆ ภาษาก็ไม่ได้มีชนิดข้อมูลแบบบูลโดยเฉพาะ เช่นภาษาซีหรือภาษาเบสิก ค่าเท็จแทนด้วยจำนวน 0 และค่าจริงแทนด้วยจำนวน 1 หรือ −1 ตามลำดับภาษา เป็นต้น และตัวแปรทั้งหมดที่เก็บค่าเหล่านี้ก็สามารถเก็บจำนวนอื่น ๆ ได้อีกเช่นกัน
การวางนัยทั่วไป
โดเมนแบบบูล {0, 1} สามารถแทนที่ด้วย [0, 1] ซึ่งนอกจากค่า 0 หรือ 1 แล้วก็ยังมีค่าใด ๆ ที่อยู่ระหว่าง 0 กับ 1 อีกด้วย ถ้าเขียนในเชิงพีชคณิต นิเสธ (นอต) จะเขียนเป็น 1 − x, การเชื่อม (แอนด์) จะเขียนเป็นการคูณ xy และการเลือก (ออร์) จะนิยามผ่านกฎเดอมอร์แกนได้เป็น 1 − (1 − x) (1 − y)
การตีความค่าเหล่านี้เป็นค่าความจริงเชิงตรรกะทำให้เกิด (multi-valued logic) ซึ่งกลายมาเป็นพื้นฐานของตรรกศาสตร์คลุมเครือ (fuzzy logic) และ (probabilistic logic) โดยค่าค่าหนึ่งจะถูกตีความว่าเป็น "ระดับ" ของความจริง นั่นคือ ขอบเขตหรือความน่าจะเป็นขนาดใดที่ทำให้ประพจน์เป็นจริง
อ้างอิง
- , Logic and Structure. Springer (2004), page 15.
- , Sets, Logic and Maths for Computing. Springer (2008), page 13.
- and , Computability and Logic. Cambridge University Press (1980), page 99.
- , Introduction to Mathematical Logic (4th. ed.). Chapman & Hall/CRC (1997), page 11.
- , A Practical Theory of Programming. Springer (1993, 2010), page 3.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
odemnaebbbul xngkvs Boolean domain inthangkhnitsastraelaphichkhnitnamthrrm khuxestthiprakxbdwysmachiksxngtwthiepnkartikhwamwa ethc kb cring ethann inthangtrrksastr khnitsastr aela odemnaebbbulmkcaekhiynepn 0 1 false true F T hrux displaystyle left bot top right thisrangkhunbnodemnaebbbultamthrrmchatikhux two element Boolean algebra inkhxngkhuxodemnaebbbul inthangwithyakarkhxmphiwetxr twaepraebbbul Boolean variable khuxtwaeprthiekbkhaepnsmachikcakodemnaebbbul phasaopraekrmbangphasamikhahruxsylksnthisngwniwsahrbsmachikinodemnaebbbul echn false kb true xyangirkdi phasaopraekrmhlay phasakimidmichnidkhxmulaebbbulodyechphaa echnphasasihruxphasaebsik khaethcaethndwycanwn 0 aelakhacringaethndwycanwn 1 hrux 1 tamladbphasa epntn aelatwaeprthnghmdthiekbkhaehlaniksamarthekbcanwnxun idxikechnknkarwangnythwipodemnaebbbul 0 1 samarthaethnthidwy 0 1 sungnxkcakkha 0 hrux 1 aelwkyngmikhaid thixyurahwang 0 kb 1 xikdwy thaekhiyninechingphichkhnit niesth nxt caekhiynepn 1 x karechuxm aexnd caekhiynepnkarkhun xy aelakareluxk xxr caniyamphankdedxmxraeknidepn 1 1 x 1 y kartikhwamkhaehlaniepnkhakhwamcringechingtrrkathaihekid multi valued logic sungklaymaepnphunthankhxngtrrksastrkhlumekhrux fuzzy logic aela probabilistic logic odykhakhahnungcathuktikhwamwaepn radb khxngkhwamcring nnkhux khxbekhthruxkhwamnacaepnkhnadidthithaihpraphcnepncringxangxing Logic and Structure Springer 2004 page 15 Sets Logic and Maths for Computing Springer 2008 page 13 and Computability and Logic Cambridge University Press 1980 page 99 Introduction to Mathematical Logic 4th ed Chapman amp Hall CRC 1997 page 11 A Practical Theory of Programming Springer 1993 2010 page 3