ซัมซัม (มลายู: Samsam) เป็นคำที่ใช้สำหรับเรียกกลุ่มชนลูกผสมระหว่างชาวไทยสยามกับ หรือชาวจีนกับสยาม หรือกับชาวสยามกับชนเผ่าพื้นเมืองอื่น ๆ ในคาบสมุทรมลายู พบมากในรัฐเกอดะฮ์และปะลิส ประเทศมาเลเซีย และตามจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย เช่น จังหวัดตรัง, พังงา, สงขลา และสตูล โดยเป็นประชากรส่วนใหญ่ของชาวมุสลิมจังหวัดสตูลและสงขลา พวกเขามีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่างไทยและมลายู ที่โดดเด่นที่สุดคือการใช้ภาษาไทยและนับถือศาสนาอิสลาม แต่ก็มีบางส่วนที่ยังนับถือหรือเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธด้วยเช่นกัน
ประชากรทั้งหมด | |
---|---|
ไม่ทราบ | |
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
มาเลเซีย : รัฐเกอดะฮ์และปะลิส ไทย : จังหวัดสตูลและสงขลา | |
ภาษา | |
ภาษาไทย (ถิ่นใต้ · ถิ่นสะกอม · ถิ่นพิเทน) · ภาษามลายู | |
ศาสนา | |
อิสลาม · พุทธ | |
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง | |
ไทยใต้ · มาเลเซียเชื้อสายสยาม · ไทยเชื้อสายมลายู · |
ศัพทมูลวิทยา
Achaimbault สันนิษฐานว่า "ซัมซัม" (Samsam) มาจากคำฮกเกี้ยนว่า "tcham tcham" แปลว่า "ผสม" หรือ "รวม"
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเข้าพระทัยว่า "ซัมซัม" เพี้ยนจากคำว่า "อิสลามสยาม"
โดยชื่อซัมซัมเป็นชื่อที่ชาวไทยพุทธและชาวมลายูมุสลิมใช้เรียกเพื่อให้เกิดความแตกต่าง แต่คนท้องถิ่นบางส่วนไม่ยอมรับเพราะมองว่าเป็นคำเหยียดหยัน ในประเทศมาเลเซียแบ่งซัมซัมออกเป็นสองกลุ่มคือซียัมซัมซัม (Siam Samsam) คือกลุ่มชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ และมาเลย์ซัมซัม (Malay Samsam) คือกลุ่มชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลาม
ทั้งนี้หากถามว่าพวกเขาเป็นคนเชื้อสายอะไร พวกเขาจะตอบว่า "ไทย" หรือ "มลายู" อย่างใดอย่างหนึ่ง
ประวัติ
ชาวไทยสยามได้อพยพลงสู่คาบสมุทรมลายูและตั้งถิ่นฐานอยู่มาช้านาน ใน ตำนานมะโรงมหาวงศ์ อธิบายไว้ว่าชาวสยามเป็นชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่มานาน และในตำนานยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทรบุรีกับสยามอย่างแน่นแฟ้นว่า พระยามะโรงมหาโพธิสัตว์ กษัตริย์แห่งไทรบุรี ส่งพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ชื่อพระชีสาม (Pra Chi Sam) และนางสุตตมาน (Nang Suttaman) พระชายา ไปปกครองประเทศสยามล้านช้าง (Siam Lanchang) ซึ่งในรัฐเกอดะฮ์หรือไทรบุรีก็มีหลักฐานการตั้งชุมชนของชาวสยามดำรงอยู่มานานไม่ต่ำกว่า 500 ปี โดยชาวซัมซัมคือกลุ่มชนที่เป็นลูกผสมระหว่างชาวไทยสยามกับ หรือชาวจีนกับสยาม หรือกับชาวสยามกับชนเผ่าพื้นเมืองอื่น ๆ ในคาบสมุทรมลายู โดยมากซัมซัมจะอาศัยบริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันตก
Achaimbault สันนิษฐานว่าชาวซัมซัมมีบรรพบุรุษเป็นชาวสยามซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งถิ่นฐานในลังกาสุกะ (Langkasuka) และลิกอร์ (Ligor) มาแต่ดั้งเดิม ส่วนอัซมัน วัน จิก (Azman Wan Chik) และซาฮาระฮ์ มะฮ์มุด (Zaharah Mahmud) สันนิษฐานบรรพบุรุษของชาวซัมซัมคือชาวมลายูปัตตานีจากเมืองจือเนาะ (Chenok) รามัน (Raman) ตีบอ (Tiba) ปาตานี (Patani) และเซอตุล (Setul)
จอห์น ครอว์เฟิร์ด หรือยอน การะฝัด เคยเขียนถึงชาวซัมซัมเมื่อปี พ.ศ. 2369 ไว้ว่า "ซัมซัมคือคนเชื้อชาติสยามที่หันมารับศาสนาพระโมฮะหมัดและพูดภาษาซึ่งผสมจากภาษาของคนสองเชื้อชาติ" พวกเขาเติบโตมากับความคุ้นเคยหรือความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมอย่างไทยพุทธ เช่น ภาษา นิสัยทางวัฒนธรรม สังคม โดยเฉพาะการเต้นรำหรือการแสดงหนังตะลุง และถูกเชื่อมด้วยศาสนาอิสลามจากการแต่งงาน และดับเบิลยู. สกิต ให้ความเห็นว่า ชาวซัมซัมคือชาวสยามที่เข้ารีตมลายูมุสลิม (หรือเรียกว่า เข้าแขก) ผ่านการสมรสกับภรรยามลายูมุสลิม บุตรที่เกิดมาก็นับถือศาสนาตามธรรมเนียมของมารดา แต่หย่อนความเคร่งครัดในพระศาสนา ขณะที่ ที. จี. นิวโบลด์ ให้ความเห็นแย้งว่า ซัมซัมคือชาวมลายูมุสลิมที่รับเอาขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมจากชาวสยามมาใช้ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการกวาดต้อนเชลยจากหัวเมืองมลายูมาตั้งบ้านเรือนรอบพระนคร ก็พบว่าเชลยที่มาจากไทรบุรีและสตูลบางส่วนใช้ภาษาไทยถิ่นใต้ ไม่ใช้ภาษามลายูในการสื่อสาร
จากการสำรวจสำมะโนครัวประชากรในรัฐเกอดะฮ์เมื่อ พ.ศ. 2454 พบว่ามีประชากรมากกว่า 14,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.5 ของประชากรทั้งรัฐ ถูกจัดเป็นชาวซัมซัม ชาวซัมซัมอาศัยอยู่มากทางตอนเหนือของรัฐปะลิสและรัฐเกอดะฮ์ เฉพาะบริเวณที่ติดกับอำเภอสะเดา อำเภอนาทวี และอำเภอสะบ้าย้อย ในจังหวัดสงขลา มีอัตราการเกิดคดีลักขโมยและปล้นจี้ในอัตราที่สูง โดยมีชาวซัมซัมตั้งตัวเป็นขุนโจรออกอาละวาดในพื้นที่
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์มีพระราโชบายสำหรับการรวมชาติให้สยามเป็นปึกแผ่นและทันสมัยพอที่จะต่อต้านการคุกคามจากชาติมหาอำนาจ และมีพระราชประสงค์ให้ชาวมลายูในปัตตานีรู้สึกถึงอัตลักษณ์ของความเป็นชาติ ทรงกล่าวว่า "แม้ว่าเป็นชาวมลายูและมีความเชื่อทางศาสนาที่ต่างกัน แต่ก็เป็นชาวไทยในจิตสำนึกและทัศนคติเช่นเดียวกับพลเมืองอื่น ๆ ได้..." การนี้พระองค์ทรงตั้งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย ซึ่งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงตระหนักว่าสยามมิได้ประกอบขึ้นจากชาติเดี่ยว หากแต่ประกอบด้วยประชากรหลายชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงปลูกฝังอัตลักษณ์พลเมืองไทยในพระนิพนธ์เรื่อง "ลักษณะการปกครองประเทศสยามแต่โบราณ" ระบุลักษณะสามประการของ "คนไทย" คือ ความรักในอธิปไตยแห่งชาติ ความยุติธรรม และความสามารถในการประสานผลประโยชน์ที่ต่างกันเพื่อความเจริญของชาติ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำลัทธิชาตินิยมมาใช้ โดยทรงใช้คำขวัญว่า "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" เป็นอัตลักษณ์ใหม่ของคนไทย โดยชาติหมายถึงสยามที่มีคนชาติไทยเป็นส่วนใหญ่ ศาสนาหมายถึงศาสนาพุทธ และพระมหากษัตริย์หมายถึงผู้สืบราชบัลลังก์และตัวแทนแห่งราชวงศ์จักรี ซึ่งอัตลักษณ์ดังกล่าวทำให้ชาวมลายูมุสลิมแถบสามจังหวัดชายแดนรู้สึกถูกคุกคามจากรัฐบาลไทย จึงพยายามแยกตัว เรียกร้องเอกราช และต่อต้านอำนาจรัฐไทย
ขณะที่ชาวซัมซัมในจังหวัดสตูลและสงขลาต่างไปจากสามจังหวัด เพราะพวกเขามีบรรพบุรุษเลือดผสมจากไทยและมลายู แม้จะนับถือศาสนาอิสลามแต่ยังรักษาวัฒนธรรมไทยได้ในหลายมิติ โดยเฉพาะภาษาที่ใช้ภาษาไทยเป็นพื้น และหลายคนพูดภาษามลายูไทรบุรีไม่ได้เลย ความอดทนอดกลั้นต่อนโยบายที่ไม่เหมาะสมของรัฐบาลไทยของชาวซัมซัมในสตูลและสงขลา ทำให้พวกเขาได้รับความไว้วางใจจากส่วนกลาง และกลายเป็นบทเรียนแก่รัฐบาลไทยในการทำเพื่อส่วนรวม
วัฒนธรรม
ภาษา
ชาวซัมซัมในจังหวัดสตูลและสงขลาส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยถิ่นใต้ และมีจำนวนน้อยมากที่ใช้ภาษามลายูไทรบุรี แต่จะพบคำมลายูหลงเหลือตามชื่อสถานที่ต่าง ๆ โดยชาวมุสลิมในจังหวัดสตูลและสงขลากว่าร้อยละ 90 ใช้ภาษาไทยถิ่นใต้เป็นภาษาแม่
นอกจากนี้ยังมีภาษาท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิมที่เป็นลูกผสมกับชาวมลายู คือภาษาสะกอมในอำเภอจะนะและเทพา จังหวัดสงขลา และภาษาพิเทนในอำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
ขณะที่ชาวซัมซัมบนเกาะลังกาวีรุ่นใหม่เลิกพูดภาษาไทยแล้ว แต่ก็พอมีความรู้เกี่ยวกับคำไทยบ้าง
ศาสนา
ชาวซัมซัมส่วนหนึ่งที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวสยามแต่งงานกับชาวมลายูมุสลิมก็จะเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม แต่ก็มีชาวมลายูมุสลิมบางส่วนแต่งงานกับชาวไทยพุทธและเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธ แม้ส่วนใหญ่พวกเขาจะนับถือศาสนาอิสลาม แต่พวกเขาไม่นิยมเข้ามัสยิดเพื่อปฏิบัติศาสนกิจ และรับประทานอาหารฮะรอม โดยเฉพาะเต่า ซึ่งถือว่าผิดหลักศาสนา
ส่วนซัมซัมกลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธมักจะผสมกลมกลืนไปกับคนไทยพุทธในท้องถิ่น ในบางชุมชน เช่น บ้านเชิงเขา ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งประชากรมีเชื้อสายมลายูและเป็นพุทธศาสนิกชน มีประเพณีบุญข้าวใหม่ โดยจะนำข้าวที่เพิ่งเก็บเกี่ยวไปให้ผู้อาวุโสชาวมลายูมุสลิมในหมู่บ้านดุอาอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพชนมลายูของตัวเอง
อ้างอิง
- เชิงอรรถ
- ข้าราชการพลเรือน ตำรวจ และทหาร กองบัญชาการปราบปรามคอมมิวนิสต์ (2509). ชาติวงศ์วิทยา ว่าด้วยชนชาติเผ่าต่าง ๆ ในประเทศไทย (PDF). พระนคร: อักษรเจริญทัศน์. p. 39.
- Mahamed, Noriah (2016). (PDF). Kemanusiaan Vol. 23 (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 16 พฤษภาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2018.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 182
- ตำนานมะโรงมหาวงศ์ พงศาวดารเมืองไทรบุรี, หน้า 4–5.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 183
- ตำนานมะโรงมหาวงศ์ พงศาวดารเมืองไทรบุรี, หน้า 93–97.
- บุญยงค์ เกศเทศ และนิพนธ์ ทิพย์ศรีนิมิต (มกราคม 2547). "กินเมืองคอน นอนเมืองไทร สำนึกไทยแผ่นดินเกิด". สารคดี. 19 (227): 70. ISSN 0857-1538.
- "รู้จักชาติพันธุ์สุดก้ำกึ่ง 'ซัมซัม' อาศัยในรัฐมลายู มีความเป็นอยู่อย่างสยาม นับถืออิสลามแต่กินเต่า และไม่ค่อยเข้ามัสยิด". ฤๅ. 5 ตุลาคม 2566. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2566.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - เสาวนีย์ จิตต์หมวด, ผศ. (2531). กลุ่มชาติพันธุ์ : ชาวไทยมุสลิม (PDF). กรุงเทพฯ: กองทุนสง่ารุจิระอัมพร. p. 114.
- Thatsanawadi Kaeosanit (2016). (PDF). A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy (Communication Arts and Innovation). pp. 354–355. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 ตุลาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2019 – โดยทาง Graduate School of Communication Arts and Management Innovation, National Institute of Development Administration, Thailand.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 181.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 185–186.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 187.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 188.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 192–193.
- Arifin bin Chik (1 เมษายน 2007). "ปัญหา สตูล ปัตตานี กับวัฒนธรรมที่กำลังถูกทำลาย". มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2022.[]
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 195.
- ประพนธ์ เรืองณรงค์. "บทผนวกเกียรติยศ". รัฐปัตตานีใน "ศรีวิชัย" เก่าแก่กว่ารัฐสุโขทัยในประวัติศาสตร์, หน้า 356–357.
- กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 179.
- ทวีพร จุลวรรณ (2016). "ระบบเสียงภาษาพิเทน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี" (PDF). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2018.
- รายงานผลการศึกษา โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในโครงการนำร่อง (ต่อเนื่อง) รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบและขยายสู่ชุมชนใหม่ พื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ตำบลปะลุกาสาเมาะ จังหวัดนราธิวาส ปะนาเระ จังหวัดปัตตานี กรงปินัง จังหวัดยะลา (PDF). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2547. p. 20.
- อัศโตรา ชาบัต (30 มีนาคม 2558). "ใครคือชาวมลายูพุทธศรีวิชัยและลังกาสุกะ?". ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้. สืบค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2565.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง (2552). (PDF). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. p. 109. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-08-31. สืบค้นเมื่อ 2015-05-17.
- รายงานผลการศึกษา โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในโครงการนำร่อง (ต่อเนื่อง) รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบและขยายสู่ชุมชนใหม่ พื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ตำบลปะลุกาสาเมาะ จังหวัดนราธิวาส ปะนาเระ จังหวัดปัตตานี กรงปินัง จังหวัดยะลา (PDF). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2547. p. 6.
- บรรณานุกรม
- มอนซาติโน, ไมเคิล เจ. ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย. นครศรีธรรมราช : ศูนย์หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2560. 416 หน้า. ISBN .
- ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์. ตำนานมะโรงมหาวงศ์ พงศาวดารเมืองไทรบุรี. กรุงเทพฯ : เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์, 2550. 317 หน้า. ISBN .
- สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). รัฐปัตตานีใน "ศรีวิชัย" เก่าแก่กว่ารัฐสุโขทัยในประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : มติชน, 2547. 387 หน้า. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smsm mlayu Samsam epnkhathiichsahrberiykklumchnlukphsmrahwangchawithysyamkb hruxchawcinkbsyam hruxkbchawsyamkbchnephaphunemuxngxun inkhabsmuthrmlayu phbmakinrthekxdahaelapalis praethsmaelesiy aelatamcnghwdphakhitkhxngpraethsithy echn cnghwdtrng phngnga sngkhla aelastul odyepnprachakrswnihykhxngchawmuslimcnghwdstulaelasngkhla phwkekhamixtlksnthangwthnthrrmthiphsmphsanrahwangithyaelamlayu thioddednthisudkhuxkarichphasaithyaelanbthuxsasnaxislam aetkmibangswnthiyngnbthuxhruxepliynipnbthuxsasnaphuththdwyechnknsmsmprachakrthnghmdimthrabphumiphakhthimiprachakrxyangminysakhy maelesiy rthekxdahaelapalis ithy cnghwdstulaelasngkhlaphasaphasaithy thinit thinsakxm thinphiethn phasamlayusasnaxislam phuththklumchatiphnthuthiekiywkhxngithyit maelesiyechuxsaysyam ithyechuxsaymlayu sphthmulwithyaAchaimbault snnisthanwa smsm Samsam macakkhahkekiynwa tcham tcham aeplwa phsm hrux rwm smedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaphthrngekhaphrathywa smsm ephiyncakkhawa xislamsyam odychuxsmsmepnchuxthichawithyphuththaelachawmlayumuslimicheriykephuxihekidkhwamaetktang aetkhnthxngthinbangswnimyxmrbephraamxngwaepnkhaehyiydhyn inpraethsmaelesiyaebngsmsmxxkepnsxngklumkhuxsiymsmsm Siam Samsam khuxklumchawithythinbthuxsasnaphuthth aelamaelysmsm Malay Samsam khuxklumchawithythinbthuxsasnaxislam thngnihakthamwaphwkekhaepnkhnechuxsayxair phwkekhacatxbwa ithy hrux mlayu xyangidxyanghnungprawtichawithysyamidxphyphlngsukhabsmuthrmlayuaelatngthinthanxyumachanan in tananmaorngmhawngs xthibayiwwachawsyamepnchnphunemuxngthixasyxyumanan aelaintananyngklawthungkhwamsmphnthrahwangithrburikbsyamxyangaennaefnwa phrayamaorngmhaophthistw kstriyaehngithrburi sngphrarachoxrsphraxngkhihychuxphrachisam Pra Chi Sam aelanangsuttman Nang Suttaman phrachaya ippkkhrxngpraethssyamlanchang Siam Lanchang sunginrthekxdahhruxithrburikmihlkthankartngchumchnkhxngchawsyamdarngxyumananimtakwa 500 pi odychawsmsmkhuxklumchnthiepnlukphsmrahwangchawithysyamkb hruxchawcinkbsyam hruxkbchawsyamkbchnephaphunemuxngxun inkhabsmuthrmlayu odymaksmsmcaxasybriewnphakhitfngtawntk Achaimbault snnisthanwachawsmsmmibrrphburusepnchawsyamsungepnchnphunemuxngthitngthinthaninlngkasuka Langkasuka aelalikxr Ligor maaetdngedim swnxsmn wn cik Azman Wan Chik aelasaharah mahmud Zaharah Mahmud snnisthanbrrphburuskhxngchawsmsmkhuxchawmlayupttanicakemuxngcuxenaa Chenok ramn Raman tibx Tiba patani Patani aelaesxtul Setul cxhn khrxwefird hruxyxn karafd ekhyekhiynthungchawsmsmemuxpi ph s 2369 iwwa smsmkhuxkhnechuxchatisyamthihnmarbsasnaphraomhahmdaelaphudphasasungphsmcakphasakhxngkhnsxngechuxchati phwkekhaetibotmakbkhwamkhunekhyhruxkhwamekiywphnkbwthnthrrmxyangithyphuthth echn phasa nisythangwthnthrrm sngkhm odyechphaakaretnrahruxkaraesdnghnngtalung aelathukechuxmdwysasnaxislamcakkaraetngngan aeladbebilyu skit ihkhwamehnwa chawsmsmkhuxchawsyamthiekharitmlayumuslim hruxeriykwa ekhaaekhk phankarsmrskbphrryamlayumuslim butrthiekidmaknbthuxsasnatamthrrmeniymkhxngmarda aethyxnkhwamekhrngkhrdinphrasasna khnathi thi ci niwobld ihkhwamehnaeyngwa smsmkhuxchawmlayumuslimthirbexakhnbthrrmeniymaelawthnthrrmcakchawsyammaich chwngtnkrungrtnoksinthr tngaetrchkalphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach cnthungphrabathsmedcphranngeklaecaxyuhw mikarkwadtxnechlycakhwemuxngmlayumatngbaneruxnrxbphrankhr kphbwaechlythimacakithrburiaelastulbangswnichphasaithythinit imichphasamlayuinkarsuxsar cakkarsarwcsamaonkhrwprachakrinrthekxdahemux ph s 2454 phbwamiprachakrmakkwa 14 000 khn hruxkhidepnrxyla 7 5 khxngprachakrthngrth thukcdepnchawsmsm chawsmsmxasyxyumakthangtxnehnuxkhxngrthpalisaelarthekxdah echphaabriewnthitidkbxaephxsaeda xaephxnathwi aelaxaephxsabayxy incnghwdsngkhla mixtrakarekidkhdilkkhomyaelaplnciinxtrathisung odymichawsmsmtngtwepnkhunocrxxkxalawadinphunthi inrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw phraxngkhmiphraraochbaysahrbkarrwmchatiihsyamepnpukaephnaelathnsmyphxthicatxtankarkhukkhamcakchatimhaxanac aelamiphrarachprasngkhihchawmlayuinpttanirusukthungxtlksnkhxngkhwamepnchati thrngklawwa aemwaepnchawmlayuaelamikhwamechuxthangsasnathitangkn aetkepnchawithyincitsanukaelathsnkhtiechnediywkbphlemuxngxun id karniphraxngkhthrngtngsmedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaphepnrthmntrikrathrwngmhadithy sungsmedckrmphrayadarngrachanuphaphthrngtrahnkwasyammiidprakxbkhuncakchatiediyw hakaetprakxbdwyprachakrhlaychatiphnthuaelawthnthrrm dwyehtuniphraxngkhcungplukfngxtlksnphlemuxngithyinphraniphntheruxng lksnakarpkkhrxngpraethssyamaetobran rabulksnasamprakarkhxng khnithy khux khwamrkinxthipityaehngchati khwamyutithrrm aelakhwamsamarthinkarprasanphlpraoychnthitangknephuxkhwamecriykhxngchati khrninrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw thrngnalththichatiniymmaich odythrngichkhakhwywa chati sasna aelaphramhakstriy epnxtlksnihmkhxngkhnithy odychatihmaythungsyamthimikhnchatiithyepnswnihy sasnahmaythungsasnaphuthth aelaphramhakstriyhmaythungphusubrachbllngkaelatwaethnaehngrachwngsckri sungxtlksndngklawthaihchawmlayumuslimaethbsamcnghwdchayaednrusukthukkhukkhamcakrthbalithy cungphyayamaeyktw eriykrxngexkrach aelatxtanxanacrthithy khnathichawsmsmincnghwdstulaelasngkhlatangipcaksamcnghwd ephraaphwkekhamibrrphburuseluxdphsmcakithyaelamlayu aemcanbthuxsasnaxislamaetyngrksawthnthrrmithyidinhlaymiti odyechphaaphasathiichphasaithyepnphun aelahlaykhnphudphasamlayuithrburiimidely khwamxdthnxdklntxnoybaythiimehmaasmkhxngrthbalithykhxngchawsmsminstulaelasngkhla thaihphwkekhaidrbkhwamiwwangiccakswnklang aelaklayepnbtheriynaekrthbalithyinkarthaephuxswnrwmwthnthrrmphasa chawsmsmincnghwdstulaelasngkhlaswnihyichphasaithythinit aelamicanwnnxymakthiichphasamlayuithrburi aetcaphbkhamlayuhlngehluxtamchuxsthanthitang odychawmuslimincnghwdstulaelasngkhlakwarxyla 90 ichphasaithythinitepnphasaaem nxkcakniyngmiphasathxngthinkhxngchawithymuslimthiepnlukphsmkbchawmlayu khuxphasasakxminxaephxcanaaelaethpha cnghwdsngkhla aelaphasaphiethninxaephxthungyangaedng cnghwdpttani khnathichawsmsmbnekaalngkawirunihmelikphudphasaithyaelw aetkphxmikhwamruekiywkbkhaithybang sasna chawsmsmswnhnungthimibrrphburusepnchawsyamaetngngankbchawmlayumuslimkcaepliynipnbthuxsasnaxislam aetkmichawmlayumuslimbangswnaetngngankbchawithyphuththaelaepliynipnbthuxsasnaphuthth aemswnihyphwkekhacanbthuxsasnaxislam aetphwkekhaimniymekhamsyidephuxptibtisasnkic aelarbprathanxaharharxm odyechphaaeta sungthuxwaphidhlksasna swnsmsmklumthinbthuxsasnaphuththmkcaphsmklmklunipkbkhnithyphuththinthxngthin inbangchumchn echn banechingekha tablpalukasaemaa xaephxbaecaa cnghwdnrathiwas sungprachakrmiechuxsaymlayuaelaepnphuththsasnikchn mipraephnibuykhawihm odycanakhawthiephingekbekiywipihphuxawuoschawmlayumusliminhmubanduxaxuthisswnkuslaekbrrphchnmlayukhxngtwexngxangxingechingxrrthkharachkarphleruxn tarwc aelathhar kxngbychakarprabpramkhxmmiwnist 2509 chatiwngswithya wadwychnchatiephatang inpraethsithy PDF phrankhr xksrecriythsn p 39 Mahamed Noriah 2016 PDF Kemanusiaan Vol 23 phasaxngkvs khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 16 phvsphakhm 2018 subkhnemux 24 tulakhm 2018 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 182 tananmaorngmhawngs phngsawdaremuxngithrburi hna 4 5 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 183 tananmaorngmhawngs phngsawdaremuxngithrburi hna 93 97 buyyngkh ekseths aelaniphnth thiphysrinimit mkrakhm 2547 kinemuxngkhxn nxnemuxngithr sanukithyaephndinekid sarkhdi 19 227 70 ISSN 0857 1538 ruckchatiphnthusudkakung smsm xasyinrthmlayu mikhwamepnxyuxyangsyam nbthuxxislamaetkineta aelaimkhxyekhamsyid vi 5 tulakhm 2566 subkhnemux 12 tulakhm 2566 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help esawniy citthmwd phs 2531 klumchatiphnthu chawithymuslim PDF krungethph kxngthunsngaruciraxmphr p 114 Thatsanawadi Kaeosanit 2016 PDF A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy Communication Arts and Innovation pp 354 355 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 24 tulakhm 2019 subkhnemux 24 tulakhm 2019 odythang Graduate School of Communication Arts and Management Innovation National Institute of Development Administration Thailand kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 181 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 185 186 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 187 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 188 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 192 193 Arifin bin Chik 1 emsayn 2007 pyha stul pttani kbwthnthrrmthikalngthukthalay mulnithielk praiph wiriyaphnthu subkhnemux 20 phvsphakhm 2022 lingkesiy kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 195 praphnth eruxngnrngkh bthphnwkekiyrtiys rthpttaniin sriwichy ekaaekkwarthsuokhthyinprawtisastr hna 356 357 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 179 thwiphr culwrrn 2016 rabbesiyngphasaphiethn tablphiethn xaephxthungyangaedng cnghwdpttani PDF bnthitwithyaly mhawithyalysilpakr subkhnemux 24 tulakhm 2018 raynganphlkarsuksa okhrngkarsuksaaelaphthnarabbkarkhumkhrxngsiththiaelaesriphaphinokhrngkarnarxng txenuxng rwmthngsuksaepriybethiybaelakhyaysuchumchnihm phunthiphakhittxnlang tablpalukasaemaa cnghwdnrathiwas panaera cnghwdpttani krngpinng cnghwdyala PDF mhawithyalysngkhlankhrinthr 2547 p 20 xsotra chabt 30 minakhm 2558 ikhrkhuxchawmlayuphuththsriwichyaelalngkasuka sunyefarawngsthankarnphakhit subkhnemux 27 phvscikayn 2565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help aephr siriskdidaeking 2552 PDF krungethph sunymanusywithyasirinthr p 109 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 08 31 subkhnemux 2015 05 17 raynganphlkarsuksa okhrngkarsuksaaelaphthnarabbkarkhumkhrxngsiththiaelaesriphaphinokhrngkarnarxng txenuxng rwmthngsuksaepriybethiybaelakhyaysuchumchnihm phunthiphakhittxnlang tablpalukasaemaa cnghwdnrathiwas panaera cnghwdpttani krngpinng cnghwdyala PDF mhawithyalysngkhlankhrinthr 2547 p 6 brrnanukrmmxnsation imekhil ec ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay nkhrsrithrrmrach sunyhlksutrxaesiynsuksa sankwichasilpsastr mhawithyalywlylksn 2560 416 hna ISBN 978 974 7557 60 2 prathum chumephngphnthu tananmaorngmhawngs phngsawdaremuxngithrburi krungethph edxaonwelcesnetxr 2550 317 hna ISBN 978 974 13 3518 3 sucitt wngseths brrnathikar rthpttaniin sriwichy ekaaekkwarthsuokhthyinprawtisastr krungethph mtichn 2547 387 hna ISBN 978 974 32 3183 4