ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน หรือ ภาษาฮกเกี้ยน (ภาษาหมิ่นใต้: 福建話, ภาษาจีน: 泉漳話) เป็นภาษาหมิ่นใต้ที่มีจำนวนผู้ใช้มากที่สุด มักจะใช้เรียกแทนภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานมีแหล่งต้นกำเนิดมาจากจังหวัดจางจิว เจียงจิวและจังหวัดเอ้หมึงในมณฑลฝูเจี้ยน นอกไปจากนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้จำนวนมากในไต้หวัน ประเทศสิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์บางส่วน
ภาษาฮกเกี้ยน | |
---|---|
福建話 / 福建语 hok-kiàn-uē | |
ประเทศที่มีการพูด | จีน, ไต้หวัน, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, ไทย(บริเวณจังหวัดภูเก็ตและใกล้เคียง) และบริเวณอื่น ๆ |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
ภาษาถิ่น | สำเนียงจางจิว สำเนียงเจียงจิว สำเนียงเอ้หมึง |
ระบบการเขียน | อักษรจีน () อักษรละติน (Pe̍h-ōe-jī) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | ไต้หวัน |
กระทรวงศึกษาธิการ (ในไต้หวัน) | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | nan |
การกระจายตัวของภาษาหมิ่นใต้ สีเขียวเข้ม: ฮกเกี้ยน | |
แดง: ทิศเหนือ (สำเนียงเจียงจิว, สำเนียงไต้หวัน) น้ำเงิน: ทิศใต้ (สำเนียงจางจิว, สำเนียงไต้หวัน) ชมพู: ทิศตะวันออก (สำเนียงเอ้หมึง, สำเนียงผสมไต้หวัน) เหลือง: ทิศตะวันตก (สำเนียงเล้งเยียน) | |
ภาษาหมิ่นใต้ถิ่นนั้นไต้หวันเรียกว่า ไตงี่ (จีน: 臺語) ในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้เรียกว่า ฮกเกี้ยนอวย (: Hok-kiàn-ōe) ส่วนจีนกลางเรียกว่า เฉวียนจางฮว่า (泉漳話) หรือภาษาเจียงจิว-จางจิว เพื่อป้องกันการสับสนกับ (จีน: 福州話)
ที่มาของชื่อ
เกี่ยวกับการเรียกชื่อภาษาหมิ่นใต้นั้น ที่จริงแล้วยังมีคำอื่นที่ใช้เรียกตามความคลุมเครืออีกได้แก่ "ฮกเกี้ยน" (福建話), "หมิ่นใต้" (閩南話), "ไต้หวัน" (臺灣話),"ฮกเล่า" (福佬話), "เอ๋อเล่า" (鶴佬話), "โฮลก" (河洛話) โดยมีที่มาดังนี้
- "โฮลก" ในงานวิจัยของอู๋ฮวาย〈河洛語閩南語中之唐宋故事〉ได้อธิบายไว้ว่า
- 學佬話: เป็นคำที่ใช้เรียกในบริเวณข้างเคียงไหหลำ สำหรับชาวแคะเรียกว่าฮกโล่ (hok-ló, 福佬)
- 福佬話: เป็นอีกคำที่ชาวแคะใช้เรียก
- 鶴佬話: เป็นคำที่ชาวกวางตุ้งใช้เรียก
- 臺灣話, 臺語: เป็นคำที่ชาวญี่ปุ่นใช้ในช่วงที่ชาวญี่ปุ่นปกครองไต้หวัน อย่างไรแต่ คำว่า 台灣語 ไม่ได้หมายถึงภาษาฮกเกี้ยนในภาษาญี่ปุ่น
การใช้ในท้องถิ่น
มณฑลฝูเจี้ยน
ปัจจุบันภาษาฮกเกี้ยนในประเทศจีนมีการแบ่งแยกเป็นท้องถิ่นอยู่อีกหลายที่ หลัก ๆ แบ่งได้เป็นสี่ที่ได้แก่
- ฮกเกี้ยนภาคตะวันออก (สำเนียงเซี่ยเหมิน) โดยแบ่งออกเป็นสำเนียงย่อยในเกาะและนอกเกาะเซี่ยเหมิน
- ฮกเกี้ยนถิ่นจางจิว สามารถแบ่งย่อยเป็นสำเนียงย่อยดังนี้: สำเนียงถงอาน (同安话), สำเนียงจินเหมิน (金门话), สำเนียงหนานอาน (南安话), สำเนียงอานซี (安溪话), สำเนียงจิ้นเจียง (晋江话), สำเนียงสือซือ (石狮话), สำเนียงฮุ่ยอาน (惠安话), สำเนียงโถวเป่ย์ (头北话), สำเนียงฮุ่ยหนาน (惠南话)
- ฮกเกี้ยนถิ่นเจียงจิว สามารถแยกเป็นสำเนียงย่อยได้ดังนี้: สำเนียงหลงซี (龙溪话), สำเนียงจางผู่ (漳浦话), สำเนียงหนานจิ้ง (南靖话)
- ฮกเกี้ยนตะวันตก (สำเนียงหลงเซี่ยน) สามารถแบ่งย่อยเป็นสำเนียงย่อยคือสำเนียงซินหลัว (新罗话) กับสำเนียงจางผิง (漳平话)
ไต้หวัน
เอเชียตะวันออกเฉียงไต้
ภาษาฮกเกี้ยนในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้สามารถแบ่งได้ตามประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่แล้วมีความใกล้เคียงกับภาษาไต้หวันโดยแบ่งออกเป็นตามประเทศต่าง ๆ ได้แก่
- ประเทศสิงคโปร์ มีความใกล้เคียงกับสำเนียงในจังหวัดจางจิว
- ประเทศมาเลเซียตอนบน เป็นภาษาถิ่นที่ใกล้เคียงกับจังหวัดจางจิว
- ประเทศมาเลเซียตอนใต้ เป็นภาษาถิ่นที่ใกล้เคียงกับจังหวัดเจียงจิว
การออกเสียง
สระ
| วรรณยุกต์
|
เสียงในแผ่นดินต่าง ๆ
ภาษาฮกเกี้ยนในเอ้หมึงกับไต้หวันคือถิ่นจางจิวกับเจียงจิวผสมกัน แต่ว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒนาการ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการออกเสียงจะมีการเปลี่ยนไปบ้าง แต่การใช้อักษรไม่มีการเปลี่ยนและมีการใช้สำนวนที่เหมือนกัน นอกนั้นในไต้หวันในช่วงที่ญี่ปุ่นเข้าครอบครองได้รับอิทธิพลจากภาษาญี่ปุ่นพอสมควร ส่วนที่เหลือจะมีการรับอิทธิพลจากภาษามลายู ภาษาอังกฤษ ภาษาแต้จิ๋ว ภาษากวางตุ้งเป็นต้น
ภาษาฮกเกี้ยนทุกถิ่นสามารถสื่อสารอย่างเข้าใจกันได้
อักษรศาสตร์และไวยากรณ์
ภาษาฮกเกี้ยนจัดเป็นภาษาแยกหน่วยคำ (Analytic language) เหมือนภาษาไทย ดังนั้นคำแต่ละคำจะมีความหมายแยกออกชัดเจนและให้ความหมายตัวต่อตัว ปรกติแล้วจะเป็น ประธาน-กริยา-กรรม เหมือนภาษาไทย ทว่า ภาษาฮกเกี้ยนจะเป็นภาษาเน้นหัวข้อ (Topic-prominent language) ดังนั้นไวยากรณ์จึงไม่มีมาตรฐาน ภาษาฮกเกี้ยนไม่มีเทนซ์ ไม่แบ่งเพศ ไม่มีเอกพจน์พหูพจน์ แต่จะเป็นการเติมคำแยกเหมือนภาษาไทย
บุรุษสรรพนาม
บุรุษสรรพนามในภาษาฮกเกี้ยนมีดังนี้
บุรุษสรรพนาม | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
สรรพนามบุรุษที่หนึ่ง | ||
สรรพนามบุรุษที่สอง | ||
สรรพนามบุรุษที่สาม |
- 1 หมายถึง "พวกเรา" โดยไม่รวมผู้ฟัง
- 2 หมายถึง "พวกเรา" โดยรวมผู้ฟังด้วย
- 3 ใช้ในสำเนียงฮกเกี้ยนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ปัจจัย (หน่วยคำเติมหลัง) สำหรับแสดงความเป็นเจ้าของมักใช้ 的 (ê) , ปัจจัย 之 (chi) ใช้ในคำภาษาจีนดั้งเดิม
- และปรกติพหูพจน์จะไม่เติมปัจจัยแสดงความเป็นเจ้าของ เช่น 阮 (goán) , 翁 (ang) , 姓 (sèⁿ) , 陳 (Tân)
อ้างอิง
- "Draft national language development act clears legislative floor". focustaiwan.tw. 25 December 2018.
- "立院三讀《國家語言發展法》 公廣集團可設台語電視台". ltn.com.tw. 25 December 2018.
- "《國家語言發展法》立院三讀!政府得設台語專屬頻道". ltn.com.tw. 25 December 2018.
- 大眾運輸工具播音語言平等保障法
- Article 6 of the Standards for Identification of Basic Language Abilities and General Knowledge of the Rights and Duties of Naturalized Citizens 25 กรกฎาคม 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- 吳坤明 (June 2008). (PDF). 臺灣學研究第五期. 臺灣學研究中心. pp. 54–73. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-06-06. สืบค้นเมื่อ 2017-08-10.
- 蕭藤村 (2012-10-25). 臺灣話俗諺語典(上,下冊). Taibei, ROC: 五南圖書出版股份有限公司. ISBN . OCLC 826833072.
- "福建概览 方言". 2015-10-23.[]
- 周長楫 (2000). 李榮 (บ.ก.). 閩南語辭典,第21页 (ภาษาจีน). Tainan, ROC: 真平企業有限公司. p. 21. ISBN . OCLC 813718937.
- Ratte, Alexander T. (May 2009). "A DIALECTAL AND PHONOLOGICAL ANALYSIS OF PENGHU TAIWANESE" (PDF). Williamstown, Massachusetts: Williams College: 4.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help))
หมายเหตุ
- เป็นภาษาประจำชาติของไต้หวัน; ยังมีสถานะตามกฎหมายในไต้หวันว่าเป็นหนึ่งในภาษาสำหรับการประกาศการขนส่งสาธารณะ และสำหรับการทดสอบเพื่อแปลงสัญชาติ
แหล่งข้อมูลอื่น
- คู่มือการท่องเที่ยว Minnan_phrasebook จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)
- "闽南语". จากสารานุกรมไป่ตู้ไป่เค่อ (ในภาษาจีน)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud phasahminitmatrthan hrux phasahkekiyn phasahminit 福建話 phasacin 泉漳話 epnphasahminitthimicanwnphuichmakthisud mkcaicheriykaethnphasahminit phasahminitmatrthanmiaehlngtnkaenidmacakcnghwdcangciw eciyngciwaelacnghwdexhmunginmnthlfueciyn nxkipcakniyngmicanwnphuichcanwnmakinithwn praethssingkhopr aelapraethsfilippinsbangswnphasahkekiyn福建話 福建语 hok kian uepraethsthimikarphudcin ithwn maelesiy xinodniesiy singkhopr filippins ithy briewncnghwdphuektaelaiklekhiyng aelabriewnxun trakulphasacin thiebt phasacinphasahminphasahminitphasahkekiynphasathinsaeniyngcangciw saeniyngeciyngciw saeniyngexhmung phasaithwnrabbkarekhiynxksrcin xksrlatin Pe h ōe ji sthanphaphthangkarphasathangkar ithwnkrathrwngsuksathikar inithwn rhsphasaISO 639 3nankarkracaytwkhxngphasahminit siekhiywekhm hkekiynaedng thisehnux saeniyngeciyngciw saeniyngithwn naengin thisit saeniyngcangciw saeniyngithwn chmphu thistawnxxk saeniyngexhmung saeniyngphsmithwn ehluxng thistawntk saeniyngelngeyiyn bthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhd phasahminitthinnnithwneriykwa itngi cin 臺語 inexechiytawnxxkechiyngiteriykwa hkekiynxwy Hok kian ōe swncinklangeriykwa echwiyncanghwa 泉漳話 hruxphasaeciyngciw cangciw ephuxpxngknkarsbsnkb cin 福州話 thimakhxngchuxekiywkbkareriykchuxphasahminitnn thicringaelwyngmikhaxunthiicheriyktamkhwamkhlumekhruxxikidaek hkekiyn 福建話 hminit 閩南話 ithwn 臺灣話 hkela 福佬話 exxela 鶴佬話 ohlk 河洛話 odymithimadngni ohlk innganwicykhxngxuhway 河洛語閩南語中之唐宋故事 idxthibayiwwa 學佬話 epnkhathiicheriykinbriewnkhangekhiyngihhla sahrbchawaekhaeriykwahkol hok lo 福佬 福佬話 epnxikkhathichawaekhaicheriyk 鶴佬話 epnkhathichawkwangtungicheriyk 臺灣話 臺語 epnkhathichawyipunichinchwngthichawyipunpkkhrxngithwn xyangiraet khawa 台灣語 imidhmaythungphasahkekiyninphasayipunkarichinthxngthinmnthlfueciyn pccubnphasahkekiyninpraethscinmikaraebngaeykepnthxngthinxyuxikhlaythi hlk aebngidepnsithiidaek hkekiynphakhtawnxxk saeniyngesiyehmin odyaebngxxkepnsaeniyngyxyinekaaaelanxkekaaesiyehmin hkekiynthincangciw samarthaebngyxyepnsaeniyngyxydngni saeniyngthngxan 同安话 saeniyngcinehmin 金门话 saeniynghnanxan 南安话 saeniyngxansi 安溪话 saeniyngcineciyng 晋江话 saeniyngsuxsux 石狮话 saeniynghuyxan 惠安话 saeniyngothwepy 头北话 saeniynghuyhnan 惠南话 hkekiynthineciyngciw samarthaeykepnsaeniyngyxyiddngni saeniynghlngsi 龙溪话 saeniyngcangphu 漳浦话 saeniynghnancing 南靖话 hkekiyntawntk saeniynghlngesiyn samarthaebngyxyepnsaeniyngyxykhuxsaeniyngsinhlw 新罗话 kbsaeniyngcangphing 漳平话 ithwn exechiytawnxxkechiyngit phasahkekiyninexechiytawnxxkechiyngitsamarthaebngidtampraethstang swnihyaelwmikhwamiklekhiyngkbphasaithwnodyaebngxxkepntampraethstang idaek praethssingkhopr mikhwamiklekhiyngkbsaeniyngincnghwdcangciw praethsmaelesiytxnbn epnphasathinthiiklekhiyngkbcnghwdcangciw praethsmaelesiytxnit epnphasathinthiiklekhiyngkbcnghwdeciyngciwkarxxkesiyngsra hna khxnhna klang khxnhlng hlngpid iklpidklangpidklangklangepidiklepidepid wrrnyukt lksnaesiyngwrrnyuktcaksaeniyngechwiyncang wrrnyukt cangciw eciyngciw exhmungesiyng1 33 34 55esiyng2 55 53 53esiyng3 31 21 21esiyng4 ʔ 5 ʔ 1 ʔ 1esiyng5 35 13 35esiyng6 22 2 2 esiyng7 31 11 11esiyng8 ʔ 23 ʔ 12 5ʔesiynginaephndintang phasahkekiyninexhmungkbithwnkhuxthincangciwkbeciyngciwphsmkn aetwamikarepliynaeplngiptamwiwthnakar xyangirktam aemwakarxxkesiyngcamikarepliynipbang aetkarichxksrimmikarepliynaelamikarichsanwnthiehmuxnkn nxknninithwninchwngthiyipunekhakhrxbkhrxngidrbxiththiphlcakphasayipunphxsmkhwr swnthiehluxcamikarrbxiththiphlcakphasamlayu phasaxngkvs phasaaetciw phasakwangtungepntn phasahkekiynthukthinsamarthsuxsarxyangekhaicknidxksrsastraelaiwyakrnphasahkekiyncdepnphasaaeykhnwykha Analytic language ehmuxnphasaithy dngnnkhaaetlakhacamikhwamhmayaeykxxkchdecnaelaihkhwamhmaytwtxtw prktiaelwcaepn prathan kriya krrm ehmuxnphasaithy thwa phasahkekiyncaepnphasaennhwkhx Topic prominent language dngnniwyakrncungimmimatrthan phasahkekiynimmiethns imaebngephs immiexkphcnphhuphcn aetcaepnkaretimkhaaeykehmuxnphasaithy burussrrphnam burussrrphnaminphasahkekiynmidngni burussrrphnam exkphcn phhuphcnsrrphnamburusthihnung 我 goa 阮 goan 1 阮儂 goan lang 3 咱 lan 2 咱儂 lan lang 3 俺 an 我儂 goa lang srrphnamburusthisxng 汝 lu li lir 恁 lin 恁儂 lin lang srrphnamburusthisam 伊 i 𪜶 亻因 in 伊儂 i lang 1 hmaythung phwkera odyimrwmphufng 2 hmaythung phwkera odyrwmphufngdwy 3 ichinsaeniynghkekiyninexechiytawnxxkechiyngit pccy hnwykhaetimhlng sahrbaesdngkhwamepnecakhxngmkich 的 e pccy 之 chi ichinkhaphasacindngedim aelaprktiphhuphcncaimetimpccyaesdngkhwamepnecakhxng echn 阮 goan 翁 ang 姓 seⁿ 陳 Tan xangxing Draft national language development act clears legislative floor focustaiwan tw 25 December 2018 立院三讀 國家語言發展法 公廣集團可設台語電視台 ltn com tw 25 December 2018 國家語言發展法 立院三讀 政府得設台語專屬頻道 ltn com tw 25 December 2018 大眾運輸工具播音語言平等保障法 Article 6 of the Standards for Identification of Basic Language Abilities and General Knowledge of the Rights and Duties of Naturalized Citizens 25 krkdakhm 2017 thi ewyaebkaemchchin 吳坤明 June 2008 PDF 臺灣學研究第五期 臺灣學研究中心 pp 54 73 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2019 06 06 subkhnemux 2017 08 10 蕭藤村 2012 10 25 臺灣話俗諺語典 上 下冊 Taibei ROC 五南圖書出版股份有限公司 ISBN 9789571168333 OCLC 826833072 福建概览 方言 2015 10 23 lingkesiy 周長楫 2000 李榮 b k 閩南語辭典 第21页 phasacin Tainan ROC 真平企業有限公司 p 21 ISBN 9578447523 OCLC 813718937 Ratte Alexander T May 2009 A DIALECTAL AND PHONOLOGICAL ANALYSIS OF PENGHU TAIWANESE PDF Williamstown Massachusetts Williams College 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help hmayehtu epnphasapracachatikhxngithwn yngmisthanatamkdhmayinithwnwaepnhnunginphasasahrbkarprakaskarkhnsngsatharna aelasahrbkarthdsxbephuxaeplngsychatiaehlngkhxmulxunwikiphiediy saranukrmesri inphasacinminhnan khumuxkarthxngethiyw Minnan phrasebook cakwikithxngethiyw inphasaxngkvs 闽南语 caksaranukrmiptuipekhx inphasacin