ฮะรอม (อาหรับ: حَرَام, [ħaˈraːm]) เป็นคำศัพท์ภาษาอาหรับที่แปลว่า ต้องห้าม: 471 ซึ่งอาจอิงถึง: บางสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ห้ามผู้คนที่ยังไม่บริสุทธิ์หรือเป็นสิ่งชั่วร้ายที่ "การกระทำมันถือเป็นสิ่งที่ต้องห้าม" ในนิติศาสตร์อิสลาม ฮะรอมถือเป็นการกระทำที่ห้ามโดยอัลลอฮ์และเป็นหนึ่งในห้า (الأحكام الخمسة, อัลอะฮ์กามุลค็อมซะฮ์) ที่เป็นตัวกำหนดศีลธรรมของมนุษย์
การกระทำที่เป็นฮะรอมมักถูกห้ามในคำภีร์กุรอานและ ถือเป็นสิ่งที่ต้องห้ามสูงสุด ถ้าบางสิ่งถือว่าเป็นฮะรอม มันก็คงเป็นเช่นนั้นโดยไม่สำคัญว่าจะมีเจตนาที่ดีหรือจุดประสงค์ที่น่ายกย่องแค่ไหนก็ตามฮะรอม จะถูกแปลงเป็นวัตถุโน้มถ่วงในวันพิพากษา ซึ่งจะถูกตั้งบน (ตาชั่ง). และแต่ละมัซฮับมีมุมมองกับสิ่งที่เป็นฮะรอมไม่เหมือนกัน
ภาพรวม
การกระทำที่เป็นฮะรอมมีผลทำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายและถือว่าเป็น
พวกเขาจะถามเจ้าเกี่ยวกับน้ำเมา และการพนัน จงกล่าวเถิดว่า ในทั้งสองนั้นมีโทษมากและมีคุณหลายอย่างแก่มนุษย์ แต่โทษของมันทั้งสองนั้นมากกว่าคุณของมัน..."
— [อัลกุรอาน 2:219]
โดยการนำคำว่า "คุณประโยชน์" ที่ตรงข้ามกับคำว่า "โทษ" ในโองการที่ 2:219 ของอัลกุรอาน ยืนยันว่า ฮะรอม คือสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตราย ตามความจริงแล้ว ทุกสิ่งมีความหมายกับคู่ตรงข้ามของมัน; เช่น ถ้าไม่มีความหนาว เราจะไม่รู้ว่าความร้อนเป็นอย่างไร ดังนั้น บาปคือสิ่งที่ทำให้เราบาดเจ็บ เมื่อพระองค์ตรัสว่า "ห้าม" นั้น หมายถึง "อย่าทำร้ายตนเอง" หลักอิสลามได้กล่าวถึง ฮะรอม ว่า ถ้าบางสิ่งถูกห้ามหรือต้องห้าม ดังนั้น อะไรก็ตามที่นำไปหามันคือ การกระทำที่ฮะรอม ไม่จำกัดต่อบุคคลที่ทำในสิ่งที่ต้องห้ามเท่านั้น แต่ได้รวมไปถึงผู้ที่สนับสนุนให้ทำบาปด้วย
ห้าประเภทของ الأحكام الخمسة, หรือลำดับการกระทำตั้งแต่อนุญาตถึงไม่อนุญาตเป็นไปตามนี้:
- واجب / فرض (ฟัรฎ์/วาญิบ) – "ภาคบังคับ"/"หน้าที่"
- مستحب (มุสตะฮับบ์) – แนะนำ, "เป็นที่น่าพอใจ"
- مباح (มุบาฮ์) – เป็นกลาง, "อนุญาตให้ทำได้"
- مكروه (มักรูฮ์) – ไม่ชอบ, "หมดกำลังใจ"
- حرام (ฮะรอม) – บาป, "ต้องห้าม"
ฮะรอมแบ่งออกเป็นสองประเภท ได้แก่:
- الحرام لذاته (อัลฮะรอม ลิซาติฮ) – การห้ามเพราะแก่นแท้ของมันและก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลนั้น
- การทำชู้, ฆาตกรรม, โจรกรรม
- الحرام لغيره (อัลฮะรอม ลิฆ็อยริฮ) – ถูกห้ามเพราะเหตุผลภายนอกที่ไม่ค่อยมีพิษภัย แต่มีส่วนกับสิ่งที่ต้องห้าม
- ทรัพยสินที่ได้มาจากการทุจริต เช่น เงินที่ได้จากการโกง, การขโมย, ทุจริต, ฆาตกรรม และดอกเบี้ย หรืออะไรก็ตามที่ทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
ในทางศาสนา ฮะรอม ตามอัลกุรอาน แบ่งได้เป็น:
- การกระทำ เช่น การแช่ง, การผิดประเวณี, ฆาตกรรม และไม่ให้เกียรติพ่อแม่ของตน
- นโยบาย เช่น (กินดอก, ดอกเบี้ย)
- อาหารและเครื่องดื่มบางชนิด เช่น เนื้อหมูและแอลกอฮอล์
- วัตถุ, อาหาร หรือการกระทำที่ฮะลาลในบางครั้ง ถือว่าเป็นฮะรอมในบางสถานการณ์ เช่น อาหารและเครื่องดื่มฮะลาลในช่วงเราะมะฎอน หรือวัวและสัตว์อื่น ๆ ที่ฮะลาล ไม่ได้ถูกเชือดตามวิถีอิสลาม
- การไม่ทำบางอย่าง เช่นไม่ละหมาด
ประเภทการกระทำที่ต้องห้าม
อาหารและสิ่งมึนเมา
ในศาสนาอิสลาม การห้ามการกระทำหรือวัตถุที่ไม่ดีถูกสังเกตการณ์โดยมุสลิม เพื่อให้สอดคล้องไปตามคำสั่งในอัลกุรอาน
เกี่ยวกับเนื้อฮะรอมนั้น มุสลิมถูกสั่งห้ามไม่ให้กินที่กำลังไหล เนื้อบางชนิดเป็นฮะรอม เช่นหมู, สุนัข, แมว, ลิง หรือสัตว์ฮะรอมตัวอื่น โดยจะกินได้ก็ต่อเมื่อบุคคลนั้นอยู่ในสภาวะที่หิวโหย และจำเป็นต้องกินเนื้อเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ถ้าสังคมยังมีอาหารเพียงพอ ก็ไม่จำเป็นต้องกินเนื้อฮะรอมนี้ อาหารฮะรอมจะไม่เป็นที่อนุญาตเมื่อบุคคลในสังคมยังสามารถเข้าถึงอาหารได้ เพราะสังคมอิสลามเปรียบเสมือนเรือนร่างเดียวกัน และควรแจกอาหารฮะลาลแก่มุสลิมด้วยกัน เนื้อบางชนิดจะยังคงฮะรอม ถ้าสัตว์ไม่ได้เชือดอย่างถูกวิธี การเชือดที่ฮะลาลจะต้องใช้มีดคม โดยสัตว์ต้องไม่เห็นมันก่อนถูกเชือด สัตว์ต้องหลับและกินอย่างเพียงพอก่อนเชือด และการเชือดต้องไม่อยู่ต่อหน้าสัตว์ตัวอื่น การเชือดจะต้องตัดเพียงครั้งเดียวผ่านช่องคอ โดยต้องตัดให้เร็ว เพื่อให้สัตว์รู้สึกเจ็บน้อยที่สุด ในระหว่างที่กำลังเชือด ผู้เชือดต้องอ่านพระนามอัลลอฮ์ โดยกล่าวว่า "บิสมิลลาฮ์" สัตว์ตัวใดที่ถูกเชือดในนามพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮ์จะถือว่าเป็นฮะรอม
มีโองการอัลกุรอานอยู่หลายอันที่มีการห้ามกินเนื้อบางประเภท:
ที่จริงที่พระองค์ทรงห้ามพวกเจ้านั้นเพียงแต่สัตว์ที่ตายเอง และเลือด และเนื้อสุกร และสัตว์ที่ถูกเปล่งเสียงที่มันเพื่ออื่นจากอัลลอฮ์ แล้วผู้ใดได้รับความคับขัน โดยมิใช่ผู้เสาะแสวงหา และมิใช่เป็นผู้ละเมิดขอบเขตแล้วไซร้ ก็ไม่มีบาปใด ๆ แก่เขา แท้จริงอัลลอฮ์เป็นผู้ทรงอภัยโทษผู้ทรงเมตตาเสมอ
— [อัลกุรอาน 2:173]
และมีอะไรเกิดขึ้นแก่พวกเจ้ากระนั้นหรือ? ที่พวกเข้าไม่บริโภคจากสิ่งที่พระนามของอัลลอฮ์ถูกกล่าวบนมัน ทั้งๆ ที่พระองค์ทรงแจกแจงแก่พวกเจ้าแล้ว ซึ่งสิ่ง ที่พระองค์ได้ทรงห้ามแก่พวกเจ้า นอกจากสิ่งที่พวกเจ้าได้รับความคับขันให้ต้องการ มันเท่านั้น และแท้จริงมีผู้คนมากมายทำให้ผู้อื่นหลงผิดไป ด้วยความใคร่ใฝ่ต่ำของพวกเขาโดยปราศจากความรู้แท้จริง พระเจ้าของเจ้านั้นคือผู้ที่ทรงรอบรู้ยิ่งต่อผู้ละเมิดทั้งหลาย
— [อัลกุรอาน 6:119]
แอลกอฮอล์เป็นสิ่งที่ต้องห้ามในศาสนาอิสลาม โดยค็อมร์เป็นคำศัพท์ภาษาอาหรับของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ก่อให้เกิดความมึนเมา รายงานจากนักเทววิทยาซะละฟี ท่านศาสดาประกาศว่าการห้ามไม่ได้มีแค่ไวน์เท่านั้น แต่ได้รวมไปถึงเบียร์ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชนิดอื่นที่ทำให้ผู้คนมึนเมา ท่านศาสดาได้ห้ามขายสิ่งมึนเมาเหล่านี้ แม้แต่คนที่ไม่ใช่อิสลามก็ตาม เป็นเรื่องที่ไม่ได้รับอนุญาตที่มุสลิมมีส่วนร่วมในนำเข้าหรือส่งออกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทำงานหรือครอบครองสถานที่ขายสิ่งมึนเมาเหล่านี้ การให้สิ่งมึนเมาเป็นของขวัญถือว่าฮะรอมด้วย
มีฮะดีษหลายอันที่ห้ามกินเนื้อบางประเภทและสิ่งมึนเมาในศาสนาอิสลาม:
รายงานจากอบูษะละบะฮ์: ศาสนทูตของอัลลอฮ์ได้สั่งห้ามกินเนื้อของสัตว์มีเขี้ยว
— บันทึกโดยบุคอรี
รายงานจากอบูซะอีด: ท่านศาสดาได้กล่าวว่า: "อัลลอฮ์ทรงห้ามเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในที่นี้ได้รวมถึงผู้ที่ครอบครองมัน พวกเขาจะไม่ดื่มและไม่ขายมัน"
— บันทึกโดยมุสลิม
การแต่งงานและชีวิตครอบครัว
อิสลามได้ห้ามอย่างเด็ดขาด ไม่สำคัญว่าจะเป็นการร่วมประเวณี หรือมีเพศสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่ไม่ได้แต่งงานทั้งสองคนก็ตาม ตามโองการอัลกุรอานได้กล่าวถึงการห้ามประเภทนี้ว่า:
และพวกเจ้าอย่าเข้าใกล้การผิดประเวณี แท้จริงมันเป็นการลามกและทางอันชั่วช้า
— [อัลกุรอาน 17:32]
และบรรดาผู้ที่ไม่วิงวอนขอพระเจ้าอื่นใดคู่เคียงกับอัลลอฮ์ และพวกเขาไม่ฆ่าชีวิตซึ่งอัลลอฮ์ทรงห้ามไว้...
— [อัลกุรอาน 25:68]
การหย่า
รายงานจากยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวี การหย่าในตอนที่ผู้หญิงอยู่ในช่วงประจำเดือนเป็นที่ต้องห้าม เพราะในช่วงประจำเดือน การมีเพศสัมพันธ์จะถือว่าเป็นฮะรอม จึงเป็นไปได้ว่าความคิดเกี่ยวกับการหย่ามาจากความเก็บกดทางเพศหรือความตึงตัวของเส้นประสาทของฝ่ายชาย และไม่อนุญาตให้มุสลิมสาบานว่าจะหย่ากัน ซึ่งก่อให้เกิดคำพูดว่า ก็จะหย่ากัน และก่อให้เกิดคำขู่ว่าถ้าพวกเขา/เธอไม่ทำบางอย่าง ก็จะหย่ากัน
จริยธรรมทางธุรกิจ
เช่น กินดอก กับดอกเบี้ย เป็นที่ต้องห้ามในศาสนาอิสลามทุกรูปแบบ โดยดอกเบี้ยขัดแย้งกับหลักซะกาตที่ให้ทรัพย์สินไหลจากคนรวยไปสู่คนจน ริบาเป็นที่ต้องห้ามเพราะมันเก็บทรัพย์สินให้อยู่กับคนรวยและอยู่ห่างจากคนยากจน และเชื่อว่าริบาทำให้มนุษย์เห็นแก่ตัวและมีความโลภ
ธุรกิจและการลงทุนที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างยุติธรรมหรือให้ฟรีถือว่าเป็นฮะรอม เช่น การให้สินบน, การขโมย และการพนัน ดังนั้น ธุรกิจที่หลอกลวงและไม่ซื่อสัตย์ทุกรูปแบบกลายเป็นที่ต้องห้ามในศาสนาอิสลาม
มีโองการอัลกุรอานได้กล่าวห้ามจริยธรรมทางธุรกิจที่ไม่ดีไว้ว่า:
โอ้ ผู้ศรัทธาทั้งหลาย! จงอย่ากินดอกเบี้ยหลายเท่าที่ถูกทบทวีและพวกเขาพึงยำเกรงอัลลอฮ์เถิด เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้รับความสำเร็จ
— [อัลกุรอาน 3:130]
อัลลอฮ์จะทรงให้ดอกเบี้ยลดน้อยลงและหมดความจำเริญ และจะทรงให้บรรดาที่เป็นทานเพิ่มพูนขึ้น และอัลลอฮ์นั้นไม่ทรงชอบผู้เนรคุณ ผู้กระทำบาปทุกคน
— [อัลกุรอาน 2:276]
มรดก
เป็นสิ่งที่ฮะรอมสำหรับพ่อที่กีดกันลูก ๆ ของเขาจากมรดก และพ่อที่กีดกันผู้หญิงหรือลูกของภรรยาที่ไม่ได้เป็นคนโปรดจากมรดกก็ถือว่าฮะรอม ที่มากไปกว่านั้น การที่ญาติคนหนึ่ง ก็ถือว่าฮะรอมเช่นกัน
เสื้อผ้าและเครื่องประดับ
ในศาสนาอิสลาม ผู้ชายถูกสั่งห้ามไม่ให้ใส่เครื่องประดับทองและผ้าไหม แต่ผู้หญิงยังคงใส่ได้ ตราบที่ไม่ได้ใช้เพื่อดึงดูดกับผู้ชาย (นอกจากสามีของเธอ) การห้ามนี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักการอิสลามเพื่อหลีกเลี่ยงชีวิตที่หรูหราฟุ่มเฟือย
เป็นที่ต้องห้ามสำหรับผู้หญิงในการใส่เสื้อที่ไม่ปกคลุมร่างกายตามหลักศาสนาและเสื้อที่ดูเห็นข้างใน ที่มากไปกว่านั้น การห้ามได้เพิ่มไปถึงความงามที่เกิดจากการเสริมความงามทางร่างกาย การปรับเปลี่ยนที่เป็นฮะรอมในศาสนาอิสลามคือรอยสักและดัดฟันให้สั้น
อิสลามได้ห้ามมุสลิมใช้เครื่องใช้ที่ทำมาจากทองและเงินกับผ้าไหมบริสุทธิ์ในบ้าน เพื่อหลีกเลี่ยงชีวิตอันหรูหราฟุ่มเฟือยในบ้านของตน รูปปั้นต่าง ๆ ถูกห้ามไม่ให้มีในบ้าน และมุสลิมถูกห้ามไม่ให้มีส่วนร่วมในการสร้างรูปปั้น เพราะทำให้ความคิดของตนสับสนเกี่ยวกับความเป็นเอกภาพของอัลลอฮ์
ชิรก์
การสักการะพระเจ้าองค์อื่นนอกจากอัลลอฮ์ถือว่าเป็นบาป ตามโองการอัลกุรอานว่า:
จงกล่าวเถิด (มุฮัมมัด) ว่าแท้จริงฉันถูกห้ามมิให้เคารพสักการะ บรรดาผู้ที่พวกท่านวิงวอนกันอยู่ อื่นจากอัลลอฮ์ จวงกล่าวเถิดฉันจะไม่ปฏิบัติตามความใคร่ใฝ่ต่ำของพวกเจ้า ถ้าเช่นนั้นแน่นอน ฉันก็ย่อมหลงผิดไปด้วย และฉันก็จะไม่ใช่เป็นคนหนึ่งในหมู่ผู้ได้รับคำแนะนำ
— [อัลกุรอาน 6:56]
และฮะดีษกล่าวถึงการทำชิรก์ไว้ว่า:
รายงานจากอิบน์ มัลอูดไว้ว่า มุฮัมมัดได้กล่าวว่า: "ใครก็ตามที่เสียชีวิตโดยที่สักการะพระเจ้าองค์อื่นคู่กับอัลลอฮ์ ก็จะถูกเข้าไปในนรก"
— บันทึกโดยบุคอรี
ตัวอย่าง
ฮะรอม คือกฎบัญญัติห้าม ที่ (มุสลิมผู้อยู่ใน) ทุกคนต้องละเว้น เช่น
|
|
โทษทัณฑ์ของผู้ผ่าฝืนกฎบัญญัติห้าม
มุกัลลัฟที่ฝ่าฝืนกฎบัญญัติห้ามจะถูกลงโทษในสองรูปแบบคือ
1. การลงทัณฑ์โดยรัฐอิสลาม เพื่อรักษารักษาความเป็นระเบียบในสังคม เช่น ลงทัณฑ์ฆาตกร ผู้ผิดประเวณี ขโมย ผู้ดื่มสุรา
2. การลงโทษในวันปรโลก อันเป็นหน้าที่ของอัลลอหฺพระผู้เป็นเจ้า
บุคคลที่ฝ่าฝืนกฎบัญญัติห้ามจะได้รับการลุแก่โทษในวันปรโลกได้หากสำนึกผิด () แต่การลุโทษโดยนั้นขึ้นอยู่กับผู้พิพากษา
ดูเพิ่ม
- อภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม
- รายละเอียดสิ่งที่ฮะรอมของชีอะฮ์
- ฮะลาล
- กฎเกี่ยวกับอาหารของชาวยิว
- มักรูฮ์
- คำศัพท์ภาษายูดายที่ใช้ในแบบเดียวกัน
- ชะรีอะฮ์
- (Treif) คำศัพท์ภาษายิดดิชของผู้ที่ไม่โกเชอร์
- ข้อห้าม
อ้างอิง
- (26 March 2016). (PDF) (ภาษาอังกฤษ). Enlight Press. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-08-02. สืบค้นเมื่อ 22 December 2017.
- Adamec, Ludwig (2009). Historical Dictionary of Islam, 2nd Edition. Lanham: Scarecrow Press, Inc. p. 102. ISBN .
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 26.
- American-Arab Message – p. 92, Muhammad Karoub – 2006
- The Holy City: Jerusalem in the theology of the Old Testament – p. 20, Leslie J. Hoppe – 2000
- The Palgrave Handbook of Spirituality and Business – p. 142, Professor Luk Bouckaert, Professor Laszlo Zsolnai – 2011
- Faruki, Kemal (March 1966). "Al-Ahkam Al-Khamsah: The Five Values". Islamic Studies. 5: 43.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 22.
- Gibb, H. A. R. (editor) (1960). The Encyclopaedia of Islam. Leiden, The Netherlands: E. J. Brill. p. 257.
{{}}
:|first=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help)) - Mohammad Mahbubi Ali; Lokmanulhakim Hussain (9 February 2013). "A Framework of Income Purification for Islamic Financial Institutions". Proceeding of Sharia Economics Conference: 109.
- Siddiqui, Mona (2012). The Good Muslim. Cambridge University Press. p. 88.
- Samiullah, Muhammad (Spring 1982). "The Meat: Lawful and Unlawful in Islam". Islamic Studies. 21 (1): 75.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 46.
- Chaudry, Dr. Muhammad Munir; Regenstein, Joe M. (2009). "Animal Welfare Policy and Practice: Cultural and Religious Issues" (PDF). OIE: Organisation for Animal Health. สืบค้นเมื่อ April 1, 2014.
- Samiullah, Muhammad (Spring 1982). "The Meat: Lawful and Unlawful in Islam". Islamic Studies. 21 (1): 76.
- Samiullah, Muhammad (Spring 1982). "The Meat: Lawful and Unlawful in Islam". Islamic Studies. 21 (1): 77.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 67.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 68.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 70.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 207.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 208.
- Samiullah, Muhammad (Summer 1982). "Prohibition of Riba (Interest) & Insurance in the Light of Islam". Islamic Studies. 2. 21: 53.
- Samiullah, Muhammad (Summer 1982). "Prohibition of Riba (Interest) & Insurance in the Light of Islam". Islamic Studies. 2. 21: 54.
- Samiullah, Muhammad (Summer 1982). "Prohibition of Riba (Interest) & Insurance in the Light of Islam". Islamic Studies. 2. 21: 58.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 226.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 82.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 85.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 96.
- Al-Qardawi, Yusuf (1999). The Lawful and the Prohibited in Islam. American Trust Publications. p. 99.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Laws of Islam concerning food
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
harxm xahrb ح ر ام ħaˈraːm epnkhasphthphasaxahrbthiaeplwa txngham 471 sungxacxingthung bangsingskdisiththithihamphukhnthiyngimbrisuththihruxepnsingchwraythi karkrathamnthuxepnsingthitxngham innitisastrxislam harxmthuxepnkarkrathathihamodyxllxhaelaepnhnunginha الأحكام الخمسة xlxahkamulkhxmsah thiepntwkahndsilthrrmkhxngmnusy karkrathathiepnharxmmkthukhaminkhaphirkurxanaela thuxepnsingthitxnghamsungsud thabangsingthuxwaepnharxm mnkkhngepnechnnnodyimsakhywacamiectnathidihruxcudprasngkhthinaykyxngaekhihnktamharxm cathukaeplngepnwtthuonmthwnginwnphiphaksa sungcathuktngbn tachng aelaaetlamshbmimummxngkbsingthiepnharxmimehmuxnknphaphrwmkarkrathathiepnharxmmiphlthaihphuxunidrbxntrayaelathuxwaepn phwkekhacathamecaekiywkbnaema aelakarphnn cngklawethidwa inthngsxngnnmiothsmakaelamikhunhlayxyangaekmnusy aetothskhxngmnthngsxngnnmakkwakhunkhxngmn xlkurxan 2 219 odykarnakhawa khunpraoychn thitrngkhamkbkhawa oths inoxngkarthi 2 219 khxngxlkurxan yunynwa harxm khuxsingthikxihekidxntray tamkhwamcringaelw thuksingmikhwamhmaykbkhutrngkhamkhxngmn echn thaimmikhwamhnaw eracaimruwakhwamrxnepnxyangir dngnn bapkhuxsingthithaiherabadecb emuxphraxngkhtrswa ham nn hmaythung xyatharaytnexng hlkxislamidklawthung harxm wa thabangsingthukhamhruxtxngham dngnn xairktamthinaiphamnkhux karkrathathiharxm imcakdtxbukhkhlthithainsingthitxnghamethann aetidrwmipthungphuthisnbsnunihthabapdwy hapraephthkhxng الأحكام الخمسة hruxladbkarkrathatngaetxnuyatthungimxnuyatepniptamni واجب فرض frd wayib phakhbngkhb hnathi مستحب mustahbb aenana epnthinaphxic مباح mubah epnklang xnuyatihthaid مكروه mkruh imchxb hmdkalngic حرام harxm bap txngham harxmaebngxxkepnsxngpraephth idaek الحرام لذاته xlharxm lisatih karhamephraaaeknaethkhxngmnaelakxihekidxntraytxbukhkhlnn karthachu khatkrrm ocrkrrm الحرام لغيره xlharxm likhxyrih thukhamephraaehtuphlphaynxkthiimkhxymiphisphy aetmiswnkbsingthitxnghamthrphysinthiidmacakkarthucrit echn enginthiidcakkarokng karkhomy thucrit khatkrrm aeladxkebiy hruxxairktamthithaihphuxunidrbxntray inthangsasna harxm tamxlkurxan aebngidepn karkratha echn karaechng karphidpraewni khatkrrm aelaimihekiyrtiphxaemkhxngtn noybay echn kindxk dxkebiy xaharaelaekhruxngdumbangchnid echn enuxhmuaelaaexlkxhxl wtthu xahar hruxkarkrathathihalalinbangkhrng thuxwaepnharxminbangsthankarn echn xaharaelaekhruxngdumhalalinchwngeraamadxn hruxwwaelastwxun thihalal imidthukechuxdtamwithixislam karimthabangxyang echnimlahmadpraephthkarkrathathitxnghamxaharaelasingmunema insasnaxislam karhamkarkrathahruxwtthuthiimdithuksngektkarnodymuslim ephuxihsxdkhlxngiptamkhasnginxlkurxan ekiywkbenuxharxmnn muslimthuksnghamimihkinthikalngihl enuxbangchnidepnharxm echnhmu sunkh aemw ling hruxstwharxmtwxun odycakinidktxemuxbukhkhlnnxyuinsphawathihiwohy aelacaepntxngkinenuxehlani xyangirktam thasngkhmyngmixaharephiyngphx kimcaepntxngkinenuxharxmni xaharharxmcaimepnthixnuyatemuxbukhkhlinsngkhmyngsamarthekhathungxaharid ephraasngkhmxislamepriybesmuxneruxnrangediywkn aelakhwraeckxaharhalalaekmuslimdwykn enuxbangchnidcayngkhngharxm thastwimidechuxdxyangthukwithi karechuxdthihalalcatxngichmidkhm odystwtxngimehnmnkxnthukechuxd stwtxnghlbaelakinxyangephiyngphxkxnechuxd aelakarechuxdtxngimxyutxhnastwtwxun karechuxdcatxngtdephiyngkhrngediywphanchxngkhx odytxngtdiherw ephuxihstwrusukecbnxythisud inrahwangthikalngechuxd phuechuxdtxngxanphranamxllxh odyklawwa bismillah stwtwidthithukechuxdinnamphraecaxunidnxkcakxllxhcathuxwaepnharxm mioxngkarxlkurxanxyuhlayxnthimikarhamkinenuxbangpraephth thicringthiphraxngkhthrnghamphwkecannephiyngaetstwthitayexng aelaeluxd aelaenuxsukr aelastwthithukeplngesiyngthimnephuxxuncakxllxh aelwphuididrbkhwamkhbkhn odymiichphuesaaaeswngha aelamiichepnphulaemidkhxbekhtaelwisr kimmibapid aekekha aethcringxllxhepnphuthrngxphyothsphuthrngemttaesmx xlkurxan 2 173 aelamixairekidkhunaekphwkecakrannhrux thiphwkekhaimbriophkhcaksingthiphranamkhxngxllxhthukklawbnmn thng thiphraxngkhthrngaeckaecngaekphwkecaaelw sungsing thiphraxngkhidthrnghamaekphwkeca nxkcaksingthiphwkecaidrbkhwamkhbkhnihtxngkar mnethann aelaaethcringmiphukhnmakmaythaihphuxunhlngphidip dwykhwamikhriftakhxngphwkekhaodyprascakkhwamruaethcring phraecakhxngecannkhuxphuthithrngrxbruyingtxphulaemidthnghlay xlkurxan 6 119 aexlkxhxlepnsingthitxnghaminsasnaxislam odykhxmrepnkhasphthphasaxahrbkhxngekhruxngdumaexlkxhxlthikxihekidkhwammunema rayngancaknkethwwithyasalafi thansasdaprakaswakarhamimidmiaekhiwnethann aetidrwmipthungebiyr aelaekhruxngdumaexlkxhxlchnidxunthithaihphukhnmunema thansasdaidhamkhaysingmunemaehlani aemaetkhnthiimichxislamktam epneruxngthiimidrbxnuyatthimuslimmiswnrwminnaekhahruxsngxxkekhruxngdumaexlkxhxl thanganhruxkhrxbkhrxngsthanthikhaysingmunemaehlani karihsingmunemaepnkhxngkhwythuxwaharxmdwy mihadishlayxnthihamkinenuxbangpraephthaelasingmunemainsasnaxislam rayngancakxbusalabah sasnthutkhxngxllxhidsnghamkinenuxkhxngstwmiekhiyw bnthukodybukhxri rayngancakxbusaxid thansasdaidklawwa xllxhthrnghamekhruxngdumaexlkxhxl inthiniidrwmthungphuthikhrxbkhrxngmn phwkekhacaimdumaelaimkhaymn bnthukodymuslim karaetngnganaelachiwitkhrxbkhrw xislamidhamxyangeddkhad imsakhywacaepnkarrwmpraewni hruxmiephssmphnthrahwangphuthiimidaetngnganthngsxngkhnktam tamoxngkarxlkurxanidklawthungkarhampraephthniwa aelaphwkecaxyaekhaiklkarphidpraewni aethcringmnepnkarlamkaelathangxnchwcha xlkurxan 17 32 aelabrrdaphuthiimwingwxnkhxphraecaxunidkhuekhiyngkbxllxh aelaphwkekhaimkhachiwitsungxllxhthrnghamiw xlkurxan 25 68 karhya rayngancakyusuf xlekaaeraadxwi karhyaintxnthiphuhyingxyuinchwngpracaeduxnepnthitxngham ephraainchwngpracaeduxn karmiephssmphnthcathuxwaepnharxm cungepnipidwakhwamkhidekiywkbkarhyamacakkhwamekbkdthangephshruxkhwamtungtwkhxngesnprasathkhxngfaychay aelaimxnuyatihmuslimsabanwacahyakn sungkxihekidkhaphudwa kcahyakn aelakxihekidkhakhuwathaphwkekha ethximthabangxyang kcahyakn criythrrmthangthurkic echn kindxk kbdxkebiy epnthitxnghaminsasnaxislamthukrupaebb odydxkebiykhdaeyngkbhlksakatthiihthrphysinihlcakkhnrwyipsukhncn ribaepnthitxnghamephraamnekbthrphysinihxyukbkhnrwyaelaxyuhangcakkhnyakcn aelaechuxwaribathaihmnusyehnaektwaelamikhwamolph thurkicaelakarlngthunthiimmikaraelkepliynsinkhaaelabrikarxyangyutithrrmhruxihfrithuxwaepnharxm echn karihsinbn karkhomy aelakarphnn dngnn thurkicthihlxklwngaelaimsuxstythukrupaebbklayepnthitxnghaminsasnaxislam mioxngkarxlkurxanidklawhamcriythrrmthangthurkicthiimdiiwwa ox phusrththathnghlay cngxyakindxkebiyhlayethathithukthbthwiaelaphwkekhaphungyaekrngxllxhethid ephuxwaphwkecacaidrbkhwamsaerc xlkurxan 3 130 xllxhcathrngihdxkebiyldnxylngaelahmdkhwamcaeriy aelacathrngihbrrdathiepnthanephimphunkhun aelaxllxhnnimthrngchxbphuenrkhun phukrathabapthukkhn xlkurxan 2 276 mrdk epnsingthiharxmsahrbphxthikidknluk khxngekhacakmrdk aelaphxthikidknphuhyinghruxlukkhxngphrryathiimidepnkhnoprdcakmrdkkthuxwaharxm thimakipkwann karthiyatikhnhnung kthuxwaharxmechnkn esuxphaaelaekhruxngpradb insasnaxislam phuchaythuksnghamimihisekhruxngpradbthxngaelaphaihm aetphuhyingyngkhngisid trabthiimidichephuxdungdudkbphuchay nxkcaksamikhxngethx karhamniepnswnhnungkhxnghlkkarxislamephuxhlikeliyngchiwitthihruhrafumefuxy epnthitxnghamsahrbphuhyinginkarisesuxthiimpkkhlumrangkaytamhlksasnaaelaesuxthiduehnkhangin thimakipkwann karhamidephimipthungkhwamngamthiekidcakkaresrimkhwamngamthangrangkay karprbepliynthiepnharxminsasnaxislamkhuxrxyskaeladdfnihsn xislamidhammuslimichekhruxngichthithamacakthxngaelaenginkbphaihmbrisuththiinban ephuxhlikeliyngchiwitxnhruhrafumefuxyinbankhxngtn ruppntang thukhamimihmiinban aelamuslimthukhamimihmiswnrwminkarsrangruppn ephraathaihkhwamkhidkhxngtnsbsnekiywkbkhwamepnexkphaphkhxngxllxh chirk karskkaraphraecaxngkhxunnxkcakxllxhthuxwaepnbap tamoxngkarxlkurxanwa cngklawethid muhmmd waaethcringchnthukhammiihekharphskkara brrdaphuthiphwkthanwingwxnknxyu xuncakxllxh cwngklawethidchncaimptibtitamkhwamikhriftakhxngphwkeca thaechnnnaennxn chnkyxmhlngphidipdwy aelachnkcaimichepnkhnhnunginhmuphuidrbkhaaenana xlkurxan 6 56 aelahadisklawthungkarthachirkiwwa rayngancakxibn mlxudiwwa muhmmdidklawwa ikhrktamthiesiychiwitodythiskkaraphraecaxngkhxunkhukbxllxh kcathukekhaipinnrk bnthukodybukhxritwxyangharxm khuxkdbyytiham thi muslimphuxyuin thukkhntxnglaewn echn kartngphakhitxxllxh karaehnnghnaytxkhwamemttakhxngxllxh karhmdhwnginkhwamemttatxxllxh karechuxwasamarthrxdphncakkarlngothskhxngxllxh karsngharchiwitphuimmikhwamphid karenrkhuntxmardaaelabida kartdkhadcakyatiphinxng karkinthrphysinkhxnglukkaphraodyxthrrm karkindxkebiy kar karrkrwmephsrahwangchay karisrayphubrisuththiwathaphidpraewnihruxrkrwmephs kardumsuraemryaelaesphyaesphtid karxyukbkarlaelnbnething karfnghruxkhbrxngephlngaelaelndntri karphudokhk karsabanethc karepnphyanethc karimyxmihkarhruxepnphyan karphidsyya karthalayimrbphidchxbsingthiidrbmxbhmay karkhomylkthrphy karhlxklwng karbriophkh xupophkhsingthiidmaodythucritwithi karimyxmcayhnihruxehniywrngthrphysinkhxngphuxun karhnicaksngkhramsasna karklbkhunsuxwichchahlngcakideriynruscthrrmxislamaelw karfkifkbphuxthrrm karimchwyehluxphuthukxthrrmkareriynaelathakhunisykhwamfumefuxykhwameyxhyingthrnngkartxsukbsrththachnrbprathansakstw eluxd enuxsukr aelastwthiimidthukechuxdtamhlksasnakarlathingkarnmaskarimcaysakatkarimiyditxkarthahcykarlathingkdbyytisasna echn karthuxsilxd yihad karsngthakhwamdi karhamthakhwamchw karphkditxbrrdaximam karphlatnxxkcakstrubrrdaximamkarthabapelkbapnxycnepnkicwtrkarninthakaelkaryuyngihphukhnaetkaeykknkarwangaephnhlxklwngphuxunxiccharisyakarkktunsinkhacnthaihkhawyakhmakaephngkartngtwepnstrutxsrththachnkarrkrwmephsrahwanghyingkarepnaemngdahruxaemelatidtxihaekosephni karyinyxmihpharyaaelabutriphidpraewnikarsaerckhwamikhrdwytwexngkarthakarxutriinsasnakarphiphaksakhdidwykhwamchxchlkarthasngkhramineduxntxnghamthngsi khux sulhicyah muhrrxm aelarxyb nxkcakcaepnfaythukrukrankarlwnglaemidsiththikhxngsrththachndwykarlxeln ehyiydhyam dathxkarhkhamkidknphuxunekhasuscthrrmkarenrkhuntxkhunngamkhwamdikhxngxllxh karkxehtuwunwayinsngkhmkarkhayxawuthaekthikxkhwamimsngbsukhkarisrayphuxunkarimihkhwamekharphtxxllxh karlbhluduhmintxkax bah karlbhluduhmintxmsyidkarthiburusswmisphaihmkarichphachnathadwythxngkhaaelaenginothsthnthkhxngphuphafunkdbyytiham mukllfthifafunkdbyytihamcathuklngothsinsxngrupaebbkhux 1 karlngthnthodyrthxislam ephuxrksarksakhwamepnraebiybinsngkhm echn lngthnthkhatkr phuphidpraewni khomy phudumsura 2 karlngothsinwnprolk xnepnhnathikhxngxllxh phraphuepneca bukhkhlthifafunkdbyytihamcaidrbkarluaekothsinwnprolkidhaksanukphid aetkarluothsodynnkhunxyukbphuphiphaksaduephimxphithansphthsasnaxislam raylaexiydsingthiharxmkhxngchixah halal kdekiywkbxaharkhxngchawyiw mkruh khasphthphasayudaythiichinaebbediywkn charixah Treif khasphthphasayiddichkhxngphuthiimokechxr khxhamxangxing 26 March 2016 PDF phasaxngkvs Enlight Press ISBN 978 0994240989 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2019 08 02 subkhnemux 22 December 2017 Adamec Ludwig 2009 Historical Dictionary of Islam 2nd Edition Lanham Scarecrow Press Inc p 102 ISBN 9780810861619 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 26 American Arab Message p 92 Muhammad Karoub 2006 The Holy City Jerusalem in the theology of the Old Testament p 20 Leslie J Hoppe 2000 The Palgrave Handbook of Spirituality and Business p 142 Professor Luk Bouckaert Professor Laszlo Zsolnai 2011 Faruki Kemal March 1966 Al Ahkam Al Khamsah The Five Values Islamic Studies 5 43 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 22 Gibb H A R editor 1960 The Encyclopaedia of Islam Leiden The Netherlands E J Brill p 257 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a first michuxeriykthwip help Mohammad Mahbubi Ali Lokmanulhakim Hussain 9 February 2013 A Framework of Income Purification for Islamic Financial Institutions Proceeding of Sharia Economics Conference 109 Siddiqui Mona 2012 The Good Muslim Cambridge University Press p 88 Samiullah Muhammad Spring 1982 The Meat Lawful and Unlawful in Islam Islamic Studies 21 1 75 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 46 Chaudry Dr Muhammad Munir Regenstein Joe M 2009 Animal Welfare Policy and Practice Cultural and Religious Issues PDF OIE Organisation for Animal Health subkhnemux April 1 2014 Samiullah Muhammad Spring 1982 The Meat Lawful and Unlawful in Islam Islamic Studies 21 1 76 Samiullah Muhammad Spring 1982 The Meat Lawful and Unlawful in Islam Islamic Studies 21 1 77 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 67 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 68 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 70 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 207 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 208 Samiullah Muhammad Summer 1982 Prohibition of Riba Interest amp Insurance in the Light of Islam Islamic Studies 2 21 53 Samiullah Muhammad Summer 1982 Prohibition of Riba Interest amp Insurance in the Light of Islam Islamic Studies 2 21 54 Samiullah Muhammad Summer 1982 Prohibition of Riba Interest amp Insurance in the Light of Islam Islamic Studies 2 21 58 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 226 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 82 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 85 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 96 Al Qardawi Yusuf 1999 The Lawful and the Prohibited in Islam American Trust Publications p 99 aehlngkhxmulxunLaws of Islam concerning food