ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
0 | 1 |
1 | 1 |
2 | 2 |
3 | 6 |
4 | 24 |
5 | 120 |
6 | 720 |
7 | 5040 |
8 | 40320 |
9 | 362880 |
10 | 3628800 |
11 | 39916800 |
12 | 479001600 |
13 | 6227020800 |
14 | 87178291200 |
15 | 1307674368000 |
16 | 20922789888000 |
17 | 355687428096000 |
18 | 6402373705728000 |
19 | 121645100408832000 |
20 | 2432902008176640000 |
25 | 1.551121004×1025 |
50 | 3.041409320×1064 |
70 | 1.197857167×10100 |
100 | 9.332621544×10157 |
450 | 1.733368733×101000 |
1000 | 4.023872601×102567 |
3249 | 6.412337688×1010000 |
10000 | 2.846259681×1035659 |
25206 | 1.205703438×10100000 |
100000 | 2.824229408×10456573 |
205023 | 2.503898932×101000004 |
1000000 | 8.263931688×105565708 |
10100 | 1010101.9981097754820 |
ในทางคณิตศาสตร์ แฟกทอเรียล (อังกฤษ: factorial) ของจำนวนเต็มไม่เป็นลบ n คือผลคูณของจำนวนเต็มบวกทั้งหมดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ n เขียนแทนด้วย n! (อ่านว่า n แฟกทอเรียล)
ตัวอย่างเช่น
สำหรับค่าของ 0! ถูกกำหนดให้เท่ากับ 1 ตามหลักการของผลคูณว่าง
การดำเนินการแฟกทอเรียลพบได้ในคณิตศาสตร์สาขาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณิตศาสตร์เชิงการจัด พีชคณิต และคณิตวิเคราะห์ การพบเห็นโดยพื้นฐานที่สุดคือข้อเท็จจริงที่ว่า การจัดลำดับวัตถุที่แตกต่างกัน n สิ่งสามารถทำได้ n! วิธี (การเรียงสับเปลี่ยนของเซตของวัตถุ) ข้อเท็จจริงนี้เป็นที่ทราบโดยนักวิชาการชาวอินเดียตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 เป็นอย่างน้อย นอกจากนี้ (Christian Kramp) เป็นผู้แนะนำให้ใช้สัญกรณ์ n! เมื่อ ค.ศ. 1808 (พ.ศ. 2351)
นิยามของแฟกทอเรียลสามารถขยายแนวคิดไปบนอาร์กิวเมนต์ที่ไม่เป็นจำนวนเต็มได้โดยยังคงมีสมบัติที่สำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ชั้นสูงยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในคณิตวิเคราะห์
นิยาม
ฟังก์ชันแฟกทอเรียลได้นิยามเชิงรูปนัยไว้ดังนี้
หรือนิยามแบบเวียนเกิดได้ดังนี้
นิยามด้านบนทั้งสองได้รวมกรณีนี้เข้าไปด้วย
ตามหลักการว่าผลคูณของจำนวนที่ไม่มีอยู่เลย (ผลคูณว่าง) มีค่าเท่ากับ 1 สิ่งนี้เป็นประโยชน์เนื่องจาก
- การเรียงสับเปลี่ยนของวัตถุศูนย์สิ่ง มีเพียงหนึ่งวิธีเท่านั้น (ไม่มีสิ่งใดเรียงสับเปลี่ยน "ทุกสิ่ง" ยังคงอยู่ที่เดิม)
- ความสัมพันธ์เวียนเกิด (n + 1)! = n! × (n + 1) ซึ่งสามารถใช้ได้เฉพาะ n > 0 จะทำให้ใช้กับกรณี n = 0 ได้ด้วย
- นิพจน์ของสูตรต่าง ๆ ที่มีแฟกทอเรียลสามารถใช้งานได้ อย่างเช่นฟังก์ชันเลขชี้กำลังในรูปแบบอนุกรมกำลัง
- เอกลักษณ์ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์เชิงการจัดสามารถใช้งานได้ สำหรับขนาดของวัตถุที่ประยุกต์ใช้ได้ทั้งหมด จำนวนวิธีที่จะเลือกสมาชิก 0 ตัวจากเซตว่างเท่ากับ หรือโดยนัยทั่วไป จำนวนวิธีที่จะเลือกสมาชิก (ทั้งหมด) n ตัวจากเซตที่มีขนาด n เท่ากับ
ฟังก์ชันแฟกทอเรียลสามารถนิยามให้กับค่าที่ไม่เป็นจำนวนเต็มได้โดยใช้คณิตศาสตร์ขั้นสูง ดูรายละเอียดด้านล่าง ซึ่งนิยามโดยนัยทั่วไปมากขึ้นเช่นนี้มีใช้ในเครื่องคิดเลขระดับสูงและอาทิหรือ
การประยุกต์
แม้ว่าฟังก์ชันแฟกทอเรียลมีที่มาจากคณิตศาสตร์เชิงการจัด แต่สูตรที่เกี่ยวข้องกับแฟกทอเรียลก็ปรากฏในคณิตศาสตร์หลายสาขา
- การเรียงสับเปลี่ยน (permutation) โดยพื้นฐานคือการเรียงลำดับวัตถุ n สิ่งที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถทำได้ n! วิธี
- บ่อยครั้งที่แฟกทอเรียลปรากฏเป็นตัวส่วนในสูตรเพื่ออธิบายว่า การเรียงลำดับของวัตถุไม่มีความสำคัญและถูกเพิกเฉย ตัวอย่างตามแบบฉบับเช่น การจัดหมู่ (combination) วัตถุ k สิ่งจากเซตของวัตถุ n สิ่ง เราอาจจัดหมู่โดยการเรียงสับเปลี่ยนวัตถุ k สิ่ง หมายความว่าเลือกวัตถุสิ่งหนึ่งออกจากเซตทีละครั้งเป็นจำนวน k ครั้ง กระทั่งได้จำนวนวิธีรวมเท่ากับ
- อย่างไรก็ตาม การเรียงลำดับของวัตถุที่ถูกเลือกในการจัดหมู่ไม่มีความสำคัญ และเนื่องจากการเรียงลำดับวัตถุ k สิ่งสามารถกระทำได้แตกต่างกัน k! วิธี เพราะฉะนั้นจำนวนวิธีของการจัดหมู่วัตถุ k สิ่งจากเซตของวัตถุ n สิ่งที่ถูกต้องจึงควรเท่ากับ
- ผลลัพธ์ดังกล่าวเป็นที่รู้จักในชื่อ เพราะว่ามันเป็นสัมประสิทธิ์ของพจน์ Xk ในการกระจาย (1 + X)n
- แฟกทอเรียลปรากฏในพีชคณิตด้วยเหตุผลหลายประการ ตัวอย่างเช่นสัมประสิทธิ์ของสูตรทวินามดังที่กล่าวแล้ว หรือการเฉลี่ยบนการเรียงสับเปลี่ยนเพื่อ (symmetrization) ของการดำเนินการเฉพาะอย่าง
- แฟกทอเรียลก็มีใช้ในแคลคูลัส ตัวอย่างเช่นตัวส่วนของพจน์ใน (Taylor series) เพื่อชดเชยข้อเท็จจริงโดยพื้นฐานว่าอนุพันธ์ชั้นที่ n ของ xn คือ n!
- แฟกทอเรียลก็มีใช้อย่างกว้างขวางในทฤษฎีความน่าจะเป็น
- แฟกทอเรียลมีประโยชน์ทำให้การจัดดำเนินการนิพจน์สะดวกขึ้น ตัวอย่างเช่นจำนวนวิธีของการเรียงสับเปลี่ยนของวัตถุ k สิ่งจากวัตถุ n สิ่ง สามารถเขียนได้เป็น
- มันอาจถูกใช้เพื่อพิสูจน์สมบัติสมมาตรของสัมประสิทธิ์ทวินาม ในกรณีที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะคำนวณจำนวนเช่นนั้นได้
ทฤษฎีจำนวน
แฟกทอเรียลมีการใช้งานหลายอย่างในทฤษฎีจำนวน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง n! สามารถหารด้วยจำนวนเฉพาะทั้งหมดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ n ได้ลงตัว ผลสรุปที่ตามมาคือ n > 5 จะเป็นจำนวนประกอบก็ต่อเมื่อ
(Wilson's theorem) ได้กล่าวถึงผลสรุปที่เคร่งครัดมากกว่าดังนี้
ก็ต่อเมื่อ p เป็นจำนวนเฉพาะ
อาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์ (Adrien-Marie Legendre) พบว่าการคูณของจำนวนเฉพาะ p ที่ปรากฏในการแยกตัวประกอบเฉพาะของ n! สามารถแสดงได้อย่างแม่นยำเป็น
ข้อเท็จจริงนี้มีพื้นฐานบนการนับจำนวนตัวประกอบ p ของจำนวนเต็มตั้งแต่ 1 ถึง n; จำนวนพหุคูณของ p ในจำนวนเต็มตั้งแต่ 1 ถึง n สามารถพิจารณาได้จากสูตร อย่างไรก็ตามสูตรนี้จะนับตัวประกอบ p เพียงครั้งเดียว ยังคงมีตัวประกอบจำนวน ตัวของ p ที่จะต้องนับอีก และยังมีที่คล้ายกันอีกในกำลังสาม สี่ ห้า จนถึงอนันต์ ผลรวมดังกล่าวเป็นจำนวนจำกัดเนื่องจาก pi สามารถมีค่าได้แค่น้อยกว่าหรือเท่ากับ n สำหรับ i หลายค่าอย่างจำกัด และฟังก์ชันพื้นจะให้ผลลัพธ์เป็น 0 เมื่อใช้กับ pi > n
แฟกทอเรียลที่เป็นจำนวนเฉพาะด้วยมีจำนวนเดียวคือ 2 แต่ก็มีจำนวนเฉพาะจำนวนมากที่อยู่ในรูปแบบ n! ± 1 เรียกว่า (factorial prime)
แฟกทอเรียลที่มากกว่า 0! และ 1! เป็นจำนวนคู่ทั้งหมด เพราะว่าเป็นพหุคูณของ 2 นอกจากนี้แฟกทอเรียลที่มากกว่า 5! ก็เป็นพหุคูณของ 10 (และทำให้มีในหลักสุดท้ายเป็นต้นไป) เนื่องจากเป็นพหุคูณของ 5 กับ 2
อนุกรมที่มีแต่ละพจน์เป็นส่วนกลับของแฟกทอเรียล ทำให้เกิดและมีค่าเท่ากับ e
อัตราการเติบโตและการประมาณเมื่อ n มีขนาดใหญ่
เมื่อ n มีค่าเพิ่มขึ้น ค่า n! จะมีอัตราการเติบโตมากกว่าพหุนามและฟังก์ชันเลขชี้กำลังทั้งหมดที่มี n ประกอบอยู่ (แต่ก็ยังน้อยกว่า)
การประมาณค่าที่ใกล้เคียงที่สุดของ n! ใช้พื้นฐานบนลอการิทึมธรรมชาติดังนี้
กราฟของฟังก์ชัน f(n) = log n! แสดงไว้ในภาพด้านขวา ลักษณะของกราฟดูเหมือนเป็นเส้นตรง (ฟังก์ชันเชิงเส้น) สำหรับทุกค่าของ n ที่เป็นไปได้ แต่ความจริงมันไม่ใช่เส้นตรง เราอาจประมาณค่า log n! อย่างง่ายโดยกำหนดขอบเขตบนและล่างด้วยปริพันธ์
ซึ่งจะได้การประมาณค่าดังนี้
เนื่องจากการคำนวณ log n! มีประสิทธิภาพเป็น Θ(n log n) สิ่งนี้จึงมีบทบาทหลักในการวิเคราะห์ความซับซ้อนในการคำนวณของขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ (ดูเพิ่มที่)
จากขอบเขตของ log n! ที่ได้ สามารถลดรูปจนเหลือเพียง
การใช้สูตรดังกล่าวในทางปฏิบัติบางครั้งสามารถประมาณได้ง่ายกว่าแต่ไม่เคร่งครัด สูตรดังกล่าวสามารถแสดงให้เห็นได้ว่า สำหรับทุกค่าของ n จะได้ และสำหรับ n ≥ 6 จะได้ เป็นต้น
เมื่อ n เป็นจำนวนขนาดใหญ่ เรามีวิธีการประมาณค่า n! ที่ดีกว่าโดยใช้ (Stirling's approximation)
ในความเป็นจริง สำหรับทุกค่าของ n สูตรดังกล่าวสามารถพิสูจน์ได้ว่า
การประมาณค่า log n! ที่ดีกว่าอีกสูตรหนึ่ง กำหนดไว้โดย ศรีนิวาสะ รามานุจัน ดังนี้
การขยายแฟกทอเรียลไปยังอาร์กิวเมนต์ที่ไม่เป็นจำนวนเต็ม
ฟังก์ชันแกมมาและฟังก์ชันพาย
นอกเหนือจากจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบแล้ว ฟังก์ชันแฟกทอเรียลสามารถนิยามให้กับค่าอื่นที่ไม่เป็นจำนวนเต็มได้ แต่การทำเช่นนี้จำเป็นต้องใช้เครื่องเครื่องมือขั้นสูงจากคณิตวิเคราะห์ ฟังก์ชันอันหนึ่งที่ "เติมเต็ม" ค่าต่าง ๆ ของแฟกทอเรียล (แต่มีค่าเลื่อนไป 1 ในอาร์กิวเมนต์) เรียกว่าฟังก์ชันแกมมา (Gamma function) เขียนแทนด้วย Γ(z) ซึ่งนิยามบนจำนวนเชิงซ้อน z ทุกจำนวนยกเว้นจำนวนเต็มลบ และส่วนจริงของ z เป็นจำนวนบวก ดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันแกมมากับแฟกทอเรียลเมื่อ n เป็นจำนวนธรรมชาติ เป็นดังนี้
สูตรดั้งเดิมของออยเลอร์สำหรับนิยามฟังก์ชันแกมมาคือ
ยังมีสัญกรณ์อีกอย่างหนึ่งซึ่งเกาส์เป็นผู้คิดค้นและบางครั้งก็ถูกใช้เช่นกัน นั่นคือ ฟังก์ชันพาย (Pi function) เขียนแทนด้วย Π(z) นิยามไว้สำหรับจำนวนจริง z ที่ไม่น้อยกว่า 0 ดังนี้
หากเทียบกับฟังก์ชันแกมมาจะได้ว่า
ฟังก์ชันพายเป็นการขยายแนวคิดแฟกทอเรียลอย่างแท้จริงดังนี้
ยิ่งไปกว่านี้ ฟังก์ชันพายมีการเวียนเกิดเหมือนกับแฟกทอเรียล แต่ใช้กับจำนวนเชิงซ้อน z ทุกจำนวนที่นิยาม
โดยข้อเท็จจริงความสัมพันธ์เวียนเกิดไม่มีอีกต่อไปแล้ว เว้นแต่ในสมการเชิงฟังก์ชัน เมื่อแสดงในพจน์ของฟังก์ชันแกมมา สมการดังกล่าวจะเปลี่ยนเป็น
เนื่องจากแฟกทอเรียลถูกขยายโดยฟังก์ชันพาย สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z ทุกจำนวนที่นิยาม เราจึงสามารถเขียนว่า
ค่าของฟังก์ชันเหล่านี้ที่ (half-integer) สามารถพิจารณาได้จากสูตรต่อไปนี้ โดยพื้นฐานเราทราบว่า
เมื่อ n เป็นจำนวนธรรมชาติ จะได้สูตร
ตัวอย่าง
และอีกสูตรหนึ่ง
ตัวอย่าง
ฟังก์ชันพายไม่ได้เป็นเพียงฟังก์ชันเดียวที่ขยายแฟกทอเรียล ไปเป็นฟังก์ชันสำหรับจำนวนเชิงซ้อนเกือบทุกจำนวน และไม่ได้เป็นเพียงฟังก์ชันเดียวที่เป็น (analytic function) เมื่อใดก็ตามที่มันถูกนิยาม แต่ไม่ว่าด้วยเหตุผลอันใด ฟังก์ชันพายมักเป็นตัวแทนโดยปริยายเมื่อต้องการหาค่าแฟกทอเรียลของจำนวนเชิงซ้อน ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีบทบอร์-โมลเลอรัประบุว่า ฟังก์ชันแกมมาเป็นฟังก์ชันเดียวที่รับค่า 1 แล้วให้ผลลัพธ์เป็น 1, สอดคล้องกับสมการเชิงฟังก์ชัน Γ(n + 1) = nΓ(n), เป็น (meromorphic function) บนจำนวนเชิงซ้อน, และเป็น (logarithmically convex function) บนแกนจำนวนจริงบวก เงื่อนไขที่คล้ายกันนี้ก็ปรากฏในฟังก์ชันพาย โดยเปลี่ยนสมการเชิงฟังก์ชันเป็น Π(n) = nΠ(n − 1)
อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีฟังก์ชันเชิงซ้อนอื่นที่เรียบง่ายกว่าฟังก์ชันวิเคราะห์และสอดแทรกแฟกทอเรียลเข้าไป ตัวอย่างเช่น "ฟังก์ชันแกมมา" ของ (Jacques Hadamard) ต่างจากฟังก์ชันแกมมาปรกติตรงที่มันเป็น (entire function)
ออยเลอร์ยังได้สร้างสูตรสำหรับการประมาณค่าด้วยผลคูณลู่เข้าสำหรับแฟกทอเรียลที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม ซึ่งเทียบเท่ากับสูตรของฟังก์ชันแกมมาที่ได้กล่าวไว้แล้ว
อย่างไรก็ดี สูตรนี้ไม่ได้ให้วิธีการคำนวณเชิงปฏิบัติของฟังก์ชันพายหรือฟังก์ชันแกมมา เนื่องด้วยอัตราการลู่เข้าของมันนั้นช้า
การประยุกต์ใช้ฟังก์ชันแกมมา
ปริมาตรของทรงกลม n มิติที่มีรัศมี R หน่วย คำนวณได้จากสูตร
ฟังก์ชันที่มีลักษณะคล้ายกับแฟกทอเรียล
มัลติแฟกทอเรียล
มัลติแฟกทอเรียล เป็นฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูปแบบ n!, n!! หรือมีเครื่องหมายแฟกทอเรียลมากกว่านั้น
n!! หมายถึง ดับเบิลแฟกทอเรียล ของ n ซึ่งนิยามโดย
ตัวอย่างเช่น 8!! = 2 · 4 · 6 · 8 = 384 and 9!! = 1 · 3 · 5 · 7 · 9 = 945 ลำดับของดับเบิลแฟกทอเรียล สำหรับ n = 0, 1, 2,... ได้แก่
- 1, 1, 2, 3, 8, 15, 48, 105, 384, 945, 3840, ...
จากนิยามดังกล่าวทำให้สามารถหาดับเบิลแฟกทอเรียลของจำนวนเต็มลบได้คือ
ลำดับของดับเบิลแฟกทอเรียลสำหรับ n = -1, -3, -5, -7,... คือ
- 1, -1, 13, -115, ...
เอกลักษณ์ของดับเบิลแฟกทอเรียลได้แก่
ฟังก์ชันมัลติแฟกทอเรียลอื่นๆ ที่มีเครื่องหมายแฟกทอเรียล k เครื่องหมาย มีนิยามโดย
ซูเปอร์แฟกทอเรียล
ซูเปอร์แฟกทอเรียล มีรูปแบบคือ
เช่น ซูเปอร์แฟกทอเรียลของ 4 คือ
อ้างอิง
- Ronald L. Graham, Donald E. Knuth, Oren Patashnik (1988) , Addison-Wesley, Reading MA. , p. 111
- N. L. Biggs, The roots of combinatorics, Historia Math. 6 (1979) 109−136
- Higgins, Peter (2008), Number Story: From Counting to Cryptography, New York: Copernicus, p. 12, ISBN says Krempe though.
- Ramanujan, Srinivasa (1988), The lost notebook and other unpublished papers, Springer Berlin, p. 339, ISBN
- Hadamard, M. J. (1894), Sur L’Expression Du Produit 1·2·3· · · · ·(n−1) Par Une Fonction Entière (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส), OEuvres de Jacques Hadamard, Centre National de la Recherche Scientifiques, Paris, 1968
- Peter Luschny, Hadamard versus Euler - Who found the better Gamma function?.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudtwxyangaefkthxeriyl khainsykrnwithyasastrthakaryxiw n displaystyle n n displaystyle n 0 11 12 23 64 245 1206 7207 50408 403209 36288010 3628 80011 39916 80012 479001 60013 6227 020 80014 87178 291 20015 1307 674 368 00016 20922 789 888 00017 355687 428 096 00018 6402 373 705 728 00019 121645 100 408 832 00020 2432 902 008 176 640 00025 1 551121 004 102550 3 041409 320 106470 1 197857 167 10100100 9 332621 544 10157450 1 733368 733 1010001000 4 023872 601 1025673249 6 412337 688 101000010000 2 846259 681 103565925206 1 205703 438 10100000100000 2 824229 408 10456573205023 2 503898 932 101000 0041000 000 8 263931 688 105565 70810100 1010101 998109 775 4820 inthangkhnitsastr aefkthxeriyl xngkvs factorial khxngcanwnetmimepnlb n khuxphlkhunkhxngcanwnetmbwkthnghmdthinxykwahruxethakb n ekhiynaethndwy n xanwa n aefkthxeriyl n n n 1 n 2 n 3 3 2 1 displaystyle n n cdot n 1 cdot n 2 cdot n 3 cdot cdots cdot 3 cdot 2 cdot 1 twxyangechn 5 5 4 3 2 1 120 displaystyle 5 5 times 4 times 3 times 2 times 1 120 dd sahrbkhakhxng 0 thukkahndihethakb 1 tamhlkkarkhxngphlkhunwang kardaeninkaraefkthxeriylphbidinkhnitsastrsakhatang odyechphaaxyangyingkhnitsastrechingkarcd phichkhnit aelakhnitwiekhraah karphbehnodyphunthanthisudkhuxkhxethccringthiwa karcdladbwtthuthiaetktangkn n singsamarththaid n withi kareriyngsbepliynkhxngestkhxngwtthu khxethccringniepnthithrabodynkwichakarchawxinediytngaettnkhriststwrrsthi 12 epnxyangnxy nxkcakni Christian Kramp epnphuaenanaihichsykrn n emux kh s 1808 ph s 2351 niyamkhxngaefkthxeriylsamarthkhyayaenwkhidipbnxarkiwemntthiimepncanwnetmidodyyngkhngmismbtithisakhy sungekiywkhxngkbkhnitsastrchnsungyingkhun odyechphaaxyangyingethkhnikhtang thiichinkhnitwiekhraahniyamfngkchnaefkthxeriylidniyamechingrupnyiwdngni n k 1nk displaystyle n prod k 1 n k dd hruxniyamaebbewiynekididdngni n 1if n 0 n 1 nif n gt 0 displaystyle n begin cases 1 amp text if n 0 n 1 times n amp text if n gt 0 end cases dd niyamdanbnthngsxngidrwmkrniniekhaipdwy 0 1 displaystyle 0 1 dd tamhlkkarwaphlkhunkhxngcanwnthiimmixyuely phlkhunwang mikhaethakb 1 singniepnpraoychnenuxngcak kareriyngsbepliynkhxngwtthusunysing miephiynghnungwithiethann immisingideriyngsbepliyn thuksing yngkhngxyuthiedim khwamsmphnthewiynekid n 1 n n 1 sungsamarthichidechphaa n gt 0 cathaihichkbkrni n 0 iddwy niphcnkhxngsutrtang thimiaefkthxeriylsamarthichnganid xyangechnfngkchnelkhchikalnginrupaebbxnukrmkalng ex n 0 xnn displaystyle e x sum n 0 infty frac x n n exklksntang inkhnitsastrechingkarcdsamarthichnganid sahrbkhnadkhxngwtthuthiprayuktichidthnghmd canwnwithithicaeluxksmachik 0 twcakestwangethakb 00 0 0 0 1 displaystyle tbinom 0 0 tfrac 0 0 0 1 hruxodynythwip canwnwithithicaeluxksmachik thnghmd n twcakestthimikhnad n ethakb nn n n 0 1 displaystyle tbinom n n tfrac n n 0 1 fngkchnaefkthxeriylsamarthniyamihkbkhathiimepncanwnetmidodyichkhnitsastrkhnsung duraylaexiyddanlang sungniyamodynythwipmakkhunechnnimiichinekhruxngkhidelkhradbsungaelaxathihruxkarprayuktaemwafngkchnaefkthxeriylmithimacakkhnitsastrechingkarcd aetsutrthiekiywkhxngkbaefkthxeriylkpraktinkhnitsastrhlaysakha kareriyngsbepliyn permutation odyphunthankhuxkareriyngladbwtthu n singthiaetktangkn sungsamarththaid n withi bxykhrngthiaefkthxeriylpraktepntwswninsutrephuxxthibaywa kareriyngladbkhxngwtthuimmikhwamsakhyaelathukephikechy twxyangtamaebbchbbechn karcdhmu combination wtthu k singcakestkhxngwtthu n sing eraxaccdhmuodykareriyngsbepliynwtthu k sing hmaykhwamwaeluxkwtthusinghnungxxkcakestthilakhrngepncanwn k khrng krathngidcanwnwithirwmethakbnk n n 1 n 2 n k 1 displaystyle n underline k n n 1 n 2 cdots n k 1 dd xyangirktam kareriyngladbkhxngwtthuthithukeluxkinkarcdhmuimmikhwamsakhy aelaenuxngcakkareriyngladbwtthu k singsamarthkrathaidaetktangkn k withi ephraachanncanwnwithikhxngkarcdhmuwtthu k singcakestkhxngwtthu n singthithuktxngcungkhwrethakbnk k n n 1 n 2 n k 1 k k 1 k 2 1 displaystyle frac n underline k k frac n n 1 n 2 cdots n k 1 k k 1 k 2 cdots 1 dd phllphthdngklawepnthiruckinchux nk displaystyle tbinom n k ephraawamnepnsmprasiththikhxngphcn Xk inkarkracay 1 X naefkthxeriylpraktinphichkhnitdwyehtuphlhlayprakar twxyangechnsmprasiththikhxngsutrthwinamdngthiklawaelw hruxkarechliybnkareriyngsbepliynephux symmetrization khxngkardaeninkarechphaaxyang aefkthxeriylkmiichinaekhlkhuls twxyangechntwswnkhxngphcnin Taylor series ephuxchdechykhxethccringodyphunthanwaxnuphnthchnthi n khxng xn khux n aefkthxeriylkmiichxyangkwangkhwanginthvsdikhwamnacaepn aefkthxeriylmipraoychnthaihkarcddaeninkarniphcnsadwkkhun twxyangechncanwnwithikhxngkareriyngsbepliynkhxngwtthu k singcakwtthu n sing samarthekhiynidepnnk n n k displaystyle n underline k frac n n k dd mnxacthukichephuxphisucnsmbtismmatrkhxngsmprasiththithwinam inkrnithiimmiprasiththiphaphephiyngphxthicakhanwncanwnechnnnid nk nk k n n k k nn k n k nn k displaystyle binom n k frac n underline k k frac n n k k frac n underline n k n k binom n n k dd thvsdicanwnaefkthxeriylmikarichnganhlayxyanginthvsdicanwn odyechphaaxyangying n samarthhardwycanwnechphaathnghmdthinxykwahruxethakb n idlngtw phlsrupthitammakhux n gt 5 caepncanwnprakxbktxemux n 1 0 modn displaystyle n 1 equiv 0 pmod n dd Wilson s theorem idklawthungphlsrupthiekhrngkhrdmakkwadngni p 1 1 modp displaystyle p 1 equiv 1 pmod p dd ktxemux p epncanwnechphaa xaedriyng mari elxchxngdr Adrien Marie Legendre phbwakarkhunkhxngcanwnechphaa p thipraktinkaraeyktwprakxbechphaakhxng n samarthaesdngidxyangaemnyaepn i 1 npi displaystyle sum i 1 infty left lfloor frac n p i right rfloor dd khxethccringnimiphunthanbnkarnbcanwntwprakxb p khxngcanwnetmtngaet 1 thung n canwnphhukhunkhxng p incanwnetmtngaet 1 thung n samarthphicarnaidcaksutr np displaystyle textstyle left lfloor frac n p right rfloor xyangirktamsutrnicanbtwprakxb p ephiyngkhrngediyw yngkhngmitwprakxbcanwn np2 displaystyle textstyle left lfloor frac n p 2 right rfloor twkhxng p thicatxngnbxik aelayngmithikhlayknxikinkalngsam si ha cnthungxnnt phlrwmdngklawepncanwncakdenuxngcak pi samarthmikhaidaekhnxykwahruxethakb n sahrb i hlaykhaxyangcakd aelafngkchnphuncaihphllphthepn 0 emuxichkb pi gt n aefkthxeriylthiepncanwnechphaadwymicanwnediywkhux 2 aetkmicanwnechphaacanwnmakthixyuinrupaebb n 1 eriykwa factorial prime aefkthxeriylthimakkwa 0 aela 1 epncanwnkhuthnghmd ephraawaepnphhukhunkhxng 2 nxkcakniaefkthxeriylthimakkwa 5 kepnphhukhunkhxng 10 aelathaihmiinhlksudthayepntnip enuxngcakepnphhukhunkhxng 5 kb 2 xnukrmthimiaetlaphcnepnswnklbkhxngaefkthxeriyl thaihekidaelamikhaethakb e n 0 1n 11 11 12 16 124 1120 e displaystyle sum n 0 infty frac 1 n frac 1 1 frac 1 1 frac 1 2 frac 1 6 frac 1 24 frac 1 120 ldots e dd xtrakaretibotaelakarpramanemux n mikhnadihykarlngcudkhxnglxkarithumthrrmchatikhxngaefkthxeriyl emux n mikhaephimkhun kha n camixtrakaretibotmakkwaphhunamaelafngkchnelkhchikalngthnghmdthimi n prakxbxyu aetkyngnxykwa karpramankhathiiklekhiyngthisudkhxng n ichphunthanbnlxkarithumthrrmchatidngni log n x 1nlog x displaystyle log n sum x 1 n log x dd krafkhxngfngkchn f n log n aesdngiwinphaphdankhwa lksnakhxngkrafduehmuxnepnesntrng fngkchnechingesn sahrbthukkhakhxng n thiepnipid aetkhwamcringmnimichesntrng eraxacpramankha log n xyangngayodykahndkhxbekhtbnaelalangdwypriphnth 1nlog xdx x 1nlog x 0nlog x 1 dx displaystyle int 1 n log x dx leq sum x 1 n log x leq int 0 n log x 1 dx dd sungcaidkarpramankhadngni nlog ne 1 log n n 1 log n 1e 1 displaystyle n log left frac n e right 1 leq log n leq n 1 log left frac n 1 e right 1 dd enuxngcakkarkhanwn log n miprasiththiphaphepn 8 n log n singnicungmibthbathhlkinkarwiekhraahkhwamsbsxninkarkhanwnkhxngkhntxnwithikareriyngladb duephimthi cakkhxbekhtkhxng log n thiid samarthldrupcnehluxephiyng e ne n n e n 1e n 1 displaystyle e left frac n e right n leq n leq e left frac n 1 e right n 1 dd karichsutrdngklawinthangptibtibangkhrngsamarthpramanidngaykwaaetimekhrngkhrd sutrdngklawsamarthaesdngihehnidwa sahrbthukkhakhxng n caid n 3 n lt n displaystyle n 3 n lt n aelasahrb n 6 caid n lt n 2 n displaystyle n lt n 2 n epntn emux n epncanwnkhnadihy eramiwithikarpramankha n thidikwaodyich Stirling s approximation n 2pn ne n displaystyle n approx sqrt 2 pi n left frac n e right n dd inkhwamepncring sahrbthukkhakhxng n sutrdngklawsamarthphisucnidwa n gt 2pn ne n displaystyle n gt sqrt 2 pi n left frac n e right n dd karpramankha log n thidikwaxiksutrhnung kahndiwody sriniwasa ramanucn dngni log n nlog n n log n 1 4n 1 2n 6 log p 2 displaystyle log n approx n log n n frac log n 1 4n 1 2n 6 frac log pi 2 dd karkhyayaefkthxeriylipyngxarkiwemntthiimepncanwnetmfngkchnaekmmaaelafngkchnphay fngkchnaefkthxeriylthiwangnythwipbncanwncringthukcanwnykewncanwnetmlb twxyang 0 1 1 0 5 p 0 5 p 2 nxkehnuxcakcanwnetmthiimepnlbaelw fngkchnaefkthxeriylsamarthniyamihkbkhaxunthiimepncanwnetmid aetkarthaechnnicaepntxngichekhruxngekhruxngmuxkhnsungcakkhnitwiekhraah fngkchnxnhnungthi etimetm khatang khxngaefkthxeriyl aetmikhaeluxnip 1 inxarkiwemnt eriykwafngkchnaekmma Gamma function ekhiynaethndwy G z sungniyambncanwnechingsxn z thukcanwnykewncanwnetmlb aelaswncringkhxng z epncanwnbwk dngni G z 0 tz 1e tdt displaystyle Gamma z int 0 infty t z 1 e t mathrm d t dd khwamsmphnthrahwangfngkchnaekmmakbaefkthxeriylemux n epncanwnthrrmchati epndngni n G n 1 displaystyle n Gamma n 1 dd sutrdngedimkhxngxxyelxrsahrbniyamfngkchnaekmmakhux G z limn nzn k 0n z k displaystyle Gamma z lim n to infty frac n z n displaystyle prod k 0 n z k dd yngmisykrnxikxyanghnungsungekasepnphukhidkhnaelabangkhrngkthukichechnkn nnkhux fngkchnphay Pi function ekhiynaethndwy P z niyamiwsahrbcanwncring z thiimnxykwa 0 dngni P z 0 tze tdt displaystyle Pi z int 0 infty t z e t mathrm d t dd hakethiybkbfngkchnaekmmacaidwa P z G z 1 displaystyle Pi z Gamma z 1 dd fngkchnphayepnkarkhyayaenwkhidaefkthxeriylxyangaethcringdngni P n n for n N displaystyle Pi n n text for n in mathbf N dd yingipkwani fngkchnphaymikarewiynekidehmuxnkbaefkthxeriyl aetichkbcanwnechingsxn z thukcanwnthiniyam P z zP z 1 displaystyle Pi z z Pi z 1 dd odykhxethccringkhwamsmphnthewiynekidimmixiktxipaelw ewnaetinsmkarechingfngkchn emuxaesdnginphcnkhxngfngkchnaekmma smkardngklawcaepliynepn G n 1 nG n displaystyle Gamma n 1 n Gamma n dd enuxngcakaefkthxeriylthukkhyayodyfngkchnphay sahrbcanwnechingsxn z thukcanwnthiniyam eracungsamarthekhiynwa z P z displaystyle z Pi z dd khakhxngfngkchnehlanithi half integer samarthphicarnaidcaksutrtxipni odyphunthanerathrabwa G 12 12 P 12 p displaystyle Gamma left frac 1 2 right left frac 1 2 right Pi left frac 1 2 right sqrt pi dd emux n epncanwnthrrmchati caidsutr G 12 n 12 n P 12 n p k 1n2k 12 2n 4nn p 2n 1 22n 1 n 1 p displaystyle Gamma left frac 1 2 n right left frac 1 2 n right Pi left frac 1 2 n right sqrt pi prod k 1 n 2k 1 over 2 2n over 4 n n sqrt pi 2n 1 over 2 2n 1 n 1 sqrt pi dd twxyang G 4 5 3 5 P 3 5 12 32 52 72p 8 444 p 7 273 p 10516p 11 63 displaystyle Gamma left 4 5 right 3 5 Pi left 3 5 right 1 over 2 cdot 3 over 2 cdot 5 over 2 cdot 7 over 2 sqrt pi 8 over 4 4 4 sqrt pi 7 over 2 7 3 sqrt pi 105 over 16 sqrt pi approx 11 63 dd aelaxiksutrhnung G 12 n 12 n P 12 n p k 1n21 2k 4 nn 2n p displaystyle Gamma left frac 1 2 n right left frac 1 2 n right Pi left frac 1 2 n right sqrt pi prod k 1 n 2 over 1 2k 4 n n over 2n sqrt pi dd twxyang G 2 5 3 5 P 3 5 2 1 2 3 2 5p 4 33 6 p 815p 0 9453 displaystyle Gamma left 2 5 right 3 5 Pi left 3 5 right 2 over 1 cdot 2 over 3 cdot 2 over 5 sqrt pi 4 3 3 over 6 sqrt pi 8 over 15 sqrt pi approx 0 9453 dd fngkchnphayimidepnephiyngfngkchnediywthikhyayaefkthxeriyl ipepnfngkchnsahrbcanwnechingsxnekuxbthukcanwn aelaimidepnephiyngfngkchnediywthiepn analytic function emuxidktamthimnthukniyam aetimwadwyehtuphlxnid fngkchnphaymkepntwaethnodypriyayemuxtxngkarhakhaaefkthxeriylkhxngcanwnechingsxn twxyangechn thvsdibthbxr omlelxrprabuwa fngkchnaekmmaepnfngkchnediywthirbkha 1 aelwihphllphthepn 1 sxdkhlxngkbsmkarechingfngkchn G n 1 nG n epn meromorphic function bncanwnechingsxn aelaepn logarithmically convex function bnaekncanwncringbwk enguxnikhthikhlayknnikpraktinfngkchnphay odyepliynsmkarechingfngkchnepn P n nP n 1 xyangirktam kyngmifngkchnechingsxnxunthieriybngaykwafngkchnwiekhraahaelasxdaethrkaefkthxeriylekhaip twxyangechn fngkchnaekmma khxng Jacques Hadamard tangcakfngkchnaekmmaprktitrngthimnepn entire function xxyelxryngidsrangsutrsahrbkarpramankhadwyphlkhunluekhasahrbaefkthxeriylthiimichcanwnetm sungethiybethakbsutrkhxngfngkchnaekmmathiidklawiwaelw n P n k 1 k 1k nkn k 21 n1n 1 32 n2n 2 43 n3n 3 displaystyle begin aligned n Pi n amp prod k 1 infty left frac k 1 k right n frac k n k amp left left frac 2 1 right n frac 1 n 1 right left left frac 3 2 right n frac 2 n 2 right left left frac 4 3 right n frac 3 n 3 right cdots end aligned dd xyangirkdi sutrniimidihwithikarkhanwnechingptibtikhxngfngkchnphayhruxfngkchnaekmma enuxngdwyxtrakarluekhakhxngmnnncha karprayuktichfngkchnaekmma primatrkhxngthrngklm n mitithimirsmi R hnwy khanwnidcaksutr Vn pn 2G n 2 1 Rn displaystyle V n frac pi n 2 Gamma n 2 1 R n dd fngkchnthimilksnakhlaykbaefkthxeriylmltiaefkthxeriyl mltiaefkthxeriyl epnfngkchnthiekhiynxyuinrupaebb n n hruxmiekhruxnghmayaefkthxeriylmakkwann n hmaythung dbebilaefkthxeriyl khxng n sungniyamody n 1 if n 0 or n 1 n n 2 if n 2 displaystyle n left begin matrix 1 qquad quad amp amp mbox if n 0 mbox or n 1 n n 2 amp amp mbox if n geq 2 qquad qquad end matrix right twxyangechn 8 2 4 6 8 384 and 9 1 3 5 7 9 945 ladbkhxngdbebilaefkthxeriyl sahrb n 0 1 2 idaek 1 1 2 3 8 15 48 105 384 945 3840 cakniyamdngklawthaihsamarthhadbebilaefkthxeriylkhxngcanwnetmlbidkhux n 2 n n displaystyle n 2 frac n n ladbkhxngdbebilaefkthxeriylsahrb n 1 3 5 7 khux 1 1 1 3 1 15 exklksnkhxngdbebilaefkthxeriylidaek n n n 1 displaystyle n n n 1 2n 2nn displaystyle 2n 2 n n 2n 1 2n 1 2n 2n 1 2nn displaystyle 2n 1 2n 1 over 2n 2n 1 over 2 n n G n 12 p 2n 1 2n displaystyle Gamma left n 1 over 2 right sqrt pi 2n 1 over 2 n G n2 1 pn 2 n 1 2 displaystyle Gamma left n over 2 1 right sqrt pi n over 2 n 1 2 fngkchnmltiaefkthxeriylxun thimiekhruxnghmayaefkthxeriyl k ekhruxnghmay miniyamody n k 1 if 0 n lt k n n k k if n k displaystyle n k left begin matrix 1 qquad qquad amp amp mbox if 0 leq n lt k n n k k amp amp mbox if n geq k quad end matrix right suepxraefkthxeriyl suepxraefkthxeriyl mirupaebbkhux sf n k 1nk k 1nkn k 1 1n 2n 1 3n 2 n 1 2 n1 displaystyle mathrm sf n prod k 1 n k prod k 1 n k n k 1 1 n cdot 2 n 1 cdot 3 n 2 cdots n 1 2 cdot n 1 echn suepxraefkthxeriylkhxng 4 khux sf 4 1 2 3 4 288 displaystyle mathrm sf 4 1 times 2 times 3 times 4 288 xangxingRonald L Graham Donald E Knuth Oren Patashnik 1988 Addison Wesley Reading MA ISBN 0 201 14236 8 p 111 N L Biggs The roots of combinatorics Historia Math 6 1979 109 136 Higgins Peter 2008 Number Story From Counting to Cryptography New York Copernicus p 12 ISBN 978 1 84800 000 1 says Krempe though Ramanujan Srinivasa 1988 The lost notebook and other unpublished papers Springer Berlin p 339 ISBN 354018726X Hadamard M J 1894 Sur L Expression Du Produit 1 2 3 n 1 Par Une Fonction Entiere PDF phasafrngess OEuvres de Jacques Hadamard Centre National de la Recherche Scientifiques Paris 1968 Peter Luschny Hadamard versus Euler Who found the better Gamma function