ระบบเลขฮินดู–อาหรับ (อังกฤษ: Hindu–Arabic numeral system) หรือ ระบบเลขอินเดีย–อาหรับ (อังกฤษ: Indo-Arabic numeral system) เป็นระบบเลขฐานสิบแบบที่ใช้แพร่หลายที่สุดในโลก บางครั้งระบบเลขฮินดู–อาหรับเรียกว่า ระบบเลขฮินดู (Hindu numeral system) หรือระบบเลขอาหรับ (Arabic numeral system)
ระบบเลขนี้คิดค้นโดยระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1–4 ต่อมานำไปใช้ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ระบบเลขฮินดู–อาหรับรู้จักแพร่หลายจากผลงานของมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลเคาะวาริซมี นักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซีย (ว่าด้วยการคำนวณด้วยเลขฮินดู ประมาณ ค.ศ. 825) และ นักคณิตศาสตร์ชาวอาหรับ (ว่าด้วยการใช้เลขฮินดู ประมาณ ค.ศ. 830) ก่อนจะเข้าสู่ยุโรปสมัยกลางช่วง
ระบบเลขฮินดู–อาหรับใช้รูปอักขระ 10 ตัว (เดิมมี 9 ตัว) ตัวเลขเหล่านี้พัฒนามาจากซึ่งแยกย่อยเป็นตัวเลขหลายแบบในช่วงสมัยกลาง โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ตัวเลขอาหรับตะวันตกใช้ในยุโรปและอัลมัฆริบ, ตัวเลขอาหรับตะวันออกใช้ในตะวันออกกลาง และตัวเลขอินเดียที่ใช้คู่กับชุดตัวอักษรต่าง ๆ ในอนุทวีปอินเดีย
ต้นกำเนิด
ระบบเลขฮินดู–อาหรับหรือระบบเลขอินเดีย–อาหรับคิดค้นโดยนักคณิตศาสตร์ในอินเดีย นักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซียและอาหรับเรียกระบบเลขนี้ว่า "เลขฮินดู" ต่อมาในยุโรปเรียกว่า "เลขอาหรับ" เนื่องจากระบบเลขนี้เข้าสู่ยุโรปผ่านทางพ่อค้าชาวอาหรับ
สัญกรณ์ตำแหน่ง
ระบบเลขฮินดู–อาหรับถูกออกแบบเพื่อแสดงค่าประจำของตัวเลขแต่ละตัวและค่าหลักในตำแหน่งที่ตัวเลขนั้นปรากฏ ต่อมามีการใช้สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ (เดิมทำเป็นสัญลักษณ์เหนือตัวเลข แต่ปัจจุบันใช้เครื่องหมายมหัพภาค (.) หรือจุลภาค (,)) นอกจากนี้ยังมีสัญลักษณ์สำหรับทศนิยมซ้ำ ซึ่งสมัยใหม่นิยมขีดแนวนอนเหนือกลุ่มตัวเลขที่ซ้ำกัน ดังนั้นในระบบเลขนี้จึงใช้สัญลักษณ์เพียง 13 ตัว (ตัวเลข 10 ตัว, สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ, ขีดแนวนอนและเครื่องหมายลบสำหรับจำนวนลบ)
แม้ว่าระบบเลขฮินดู–อาหรับจะใช้ร่วมกับอักษรไร้สระ ซึ่งทั่วไปเขียนจากขวาไปซ้าย แต่ตัวเลขที่มีค่ามากที่สุดจะอยู่ที่ด้านซ้าย ดังนั้นจึงเป็นการอ่านจากซ้ายไปขวา แต่กระนั้นไม่จำเป็นต้องอ่านตัวเลขจากค่ามากไปค่าน้อยเสมอไป การเขียนลักษณะนี้พบได้ในเอกสารที่ใช้ระบบการเขียนจากซ้าย–ขวาผสมกับขวา–ซ้าย
สัญลักษณ์
ระบบเลขฮินดู–อาหรับมีชุดสัญลักษณ์เพื่อใช้แสดงเป็นตัวเลขหลายแบบ สัญลักษณ์นี้ส่วนใหญ่พัฒนามาจากที่ใช้ในอนุทวีปอินเดียช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ก่อนจะแยกย่อยเป็นสัญลักษณ์ที่หลากหลายในสมัยกลาง ชุดสัญลักษณ์นี้สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
- ตัวเลขอาหรับหรือตัวเลขอาหรับตะวันตก ใช้กับอักษรละติน อักษรซีริลลิกและชุดตัวอักษรกรีก
- ตัวเลขอาหรับตะวันออกหรือตัวเลขอาหรับ–อินเดีย ใช้กับชุดตัวอักษรอาหรับ
- ตัวเลขอินเดีย ใช้กับตระกูลอักษรพราหมี
การเปรียบเทียบรูปอักขระ
สัญลักษณ์ | ใช้กับชุดตัวอักษร | เลข | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | ชุดตัวอักษรอาหรับ, อักษรละติน, อักษรซีริลลิก และชุดตัวอักษรกรีก | ตัวเลขอาหรับ |
⠚ | ⠁ | ⠃ | ⠉ | ⠙ | ⠑ | ⠋ | ⠛ | ⠓ | ⠊ | อักษรเบรลล์ | (ตัวเลขเบรลล์) |
𑁦 | 𑁧 | 𑁨 | 𑁩 | 𑁪 | 𑁫 | 𑁬 | 𑁭 | 𑁮 | 𑁯 | อักษรพราหมี | |
० | १ | २ | ३ | ४ | ५ | ६ | ७ | ८ | ९ | อักษรเทวนาครี | |
௦ | ௧ | ௨ | ௩ | ௪ | ௫ | ௬ | ௭ | ௮ | ௯ | อักษรทมิฬ | |
০ | ১ | ২ | ৩ | ৪ | ৫ | ৬ | ৭ | ৮ | ৯ | ||
੦ | ੧ | ੨ | ੩ | ੪ | ੫ | ੬ | ੭ | ੮ | ੯ | อักษรคุรมุขี | (ตัวเลขคุรมุขี) |
૦ | ૧ | ૨ | ૩ | ૪ | ૫ | ૬ | ૭ | ૮ | ૯ | อักษรคุชราต | |
𑙐 | 𑙑 | 𑙒 | 𑙓 | 𑙔 | 𑙕 | 𑙖 | 𑙗 | 𑙘 | 𑙙 | อักษรโมฑี | (ตัวเลขโมฑี) |
୦ | ୧ | ୨ | ୩ | ୪ | ୫ | ୬ | ୭ | ୮ | ୯ | อักษรโอริยา | |
᱐ | ᱑ | ᱒ | ᱓ | ᱔ | ᱕ | ᱖ | ᱗ | ᱘ | ᱙ | อักษรสันถาลี | ตัวเลขสันถาลี |
𑇐 | 𑇑 | 𑇒 | 𑇓 | 𑇔 | 𑇕 | 𑇖 | 𑇗 | 𑇘 | 𑇙 | อักษรศารทา | (ตัวเลขศารทา) |
౦ | ౧ | ౨ | ౩ | ౪ | ౫ | ౬ | ౭ | ౮ | ౯ | อักษรเตลูกู | (ตัวเลขเตลูกู) |
೦ | ೧ | ೨ | ೩ | ೪ | ೫ | ೬ | ೭ | ೮ | ೯ | อักษรกันนาดา | (ตัวเลขกันนาดา) |
൦ | ൧ | ൨ | ൩ | ൪ | ൫ | ൬ | ൭ | ൮ | ൯ | อักษรมลยาฬัม | (ตัวเลขมลยาฬัม) |
꯰ | ꯱ | ꯲ | ꯳ | ꯴ | ꯵ | ꯶ | ꯷ | ꯸ | ꯹ | อักษรมณีปุระ | (ตัวเลขมณีปุระ) |
෦ | ෧ | ෨ | ෩ | ෪ | ෫ | ෬ | ෭ | ෮ | ෯ | อักษรสิงหล | |
𑓐 | 𑓑 | 𑓒 | 𑓓 | 𑓔 | 𑓕 | 𑓖 | 𑓗 | 𑓘 | 𑓙 | ||
༠ | ༡ | ༢ | ༣ | ༤ | ༥ | ༦ | ༧ | ༨ | ༩ | อักษรทิเบต | |
၀ | ၁ | ၂ | ၃ | ၄ | ၅ | ၆ | ၇ | ၈ | ၉ | ||
᠐ | ᠑ | ᠒ | ᠓ | ᠔ | ᠕ | ᠖ | ᠗ | ᠘ | ᠙ | อักษรมองโกเลีย | |
០ | ១ | ២ | ៣ | ៤ | ៥ | ៦ | ៧ | ៨ | ៩ | อักษรเขมร | ตัวเลขเขมร |
๐ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | ๖ | ๗ | ๘ | ๙ | อักษรไทย | ตัวเลขไทย |
໐ | ໑ | ໒ | ໓ | ໔ | ໕ | ໖ | ໗ | ໘ | ໙ | อักษรลาว | ตัวเลขลาว |
꧐ | ꧑ | ꧒ | ꧓ | ꧔ | ꧕ | ꧖ | ꧗ | ꧘ | ꧙ | อักษรชวา | |
٠ | ١ | ٢ | ٣ | ٤ | ٥ | ٦ | ٧ | ٨ | ٩ | ภาษาอาหรับ | ตัวเลขอาหรับตะวันออก |
۰ | ۱ | ۲ | ۳ | ۴ | ۵ | ۶ | ۷ | ۸ | ۹ | ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย / ภาษาดารี / | |
۰ | ۱ | ۲ | ۳ | ۴ | ۵ | ۶ | ۷ | ۸ | ۹ | ชุดตัวอักษรอูรดู / อักษรชาห์มุขี | |
〇/零 | 一 | 二 | 三 | 四 | 五 | 六 | 七 | 八 | 九 | เอเชียตะวันออก | ตัวเลขจีน, , ตัวเลขญี่ปุ่นและ |
ο/ō | Αʹ | Βʹ | Γʹ | Δʹ | Εʹ | Ϛʹ | Ζʹ | Ηʹ | Θʹ |
ประวัติศาสตร์
ระบบเลขฮินดู–อาหรับมีที่มาจากซึ่งใช้มาก่อนสากลศักราช ตัวเลขพราหมีแทนที่(ตัวเลขขโรษฐี)ที่ใช้มาตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล ตัวเลขพราหมีและตัวเลขขโรษฐีใช้ควบคู่กันในจักรวรรดิเมารยะ และปรากฏในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล พบสัญลักษณ์ในจารึกศาสนาพุทธสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาลที่ต่อมากลายเป็นเลข 1, 4 และ 6 นอกจากนี้มีบันทึกการใช้สัญลักษณ์ที่ต่อมาเป็นเลข 2, 4, 6, 7 และ 9 ในหนึ่งศตวรรษต่อมา อย่างไรก็ตามตัวเลขพราหมีไม่ใช่ระบบเลขฐานสิบที่แสดงค่าประจำตัวเลขและค่าหลักในตำแหน่งตัวเลข รวมถึงไม่มีเลข 0 ดังนั้นแนวคิดค่าประจำหลักและการใช้เลข 0 จึงเป็นการพัฒนาขึ้นในภายหลัง
พัฒนาการ
(ราว ค.ศ. 224–383) เป็นตัวอย่างแรก ๆ ที่กล่าวถึงค่าประจำหลักและการใช้เลขศูนย์ แนวคิดเกี่ยวกับเลขศูนย์ได้รับการเพิ่มเติมในตำรา Brahmasphuta Siddhanta ของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 7
ระบบเลขฮินดู–อาหรับเข้าสู่โลกอิสลามผ่านผลงานของนักคณิตศาสตร์ตะวันออกกลางหลายคน เช่น On the Calculation with Hindu Numerals (ว่าด้วยการคำนวณด้วยเลขฮินดู) ของมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลเคาะวาริซมี (ค.ศ. 825), On the Use of the Hindu Numerals (ว่าด้วยการใช้เลขฮินดู) ของ (ค.ศ. 830), The Arithmetics of India (เลขคณิตแห่งอินเดีย) ของ (ประมาณ ค.ศ. 952) และ Principles of Hindu Reckoning (หลักการคำนวณฮินดู) ของ (คริสต์ศตวรรษที่ 10–11)
เข้าสู่ยุโรป
พบการใช้เลขฮินดู–อาหรับในยุโรปครั้งแรกใน (Codex Vigilanus) เอกสารตัวเขียนสีวิจิตรที่รวบรวมบันทึกเหตุการณ์ในฮิสเปเนียตั้งแต่สมัยโบราณถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 ต่อมาช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 แกรแบร์แห่งออริลแลกได้ค้นพบและศึกษาองค์ความรู้ของชาวอาหรับที่แอบบีย์ในคาตาลันก่อนจะพัฒนาลูกคิดที่ใช้เลขฮินดู–อาหรับ 1–9 หลังเขาได้รับเลือกเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 ในปี ค.ศ. 999
เลโอนาร์โด ฟีโบนัชชี นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลีเป็นบุคคลที่ส่งเสริมการใช้ระบบเลขฮินดู–อาหรับให้แพร่หลายในยุโรป ในหนังสือ Liber Abaci (ตำราการคำนวณ) ของเขากล่าวถึงเลขฮินดู–อาหรับว่า Modus Indorum (วิธีของชาวอินเดีย) และบรรยายถึงการนำไปใช้ ประสิทธิภาพและประโยชน์ทางคณิตศาสตร์และการค้า อย่างไรก็ตาม การแนะนำเลขฮินดู–อาหรับของฟีโบนัชชียังจำกัดอยู่ในวงผู้มีการศึกษา จนกระทั่ง นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันเผยแพร่ Calculating on the Lines and with a Quill (การคำนวณเส้นด้วยปากกาขนนก) ในปี ค.ศ. 1522 โดยมุ่งเป้าที่ลูกมือฝึกหัดของนักธุรกิจและช่างฝีมือ
เลขอาหรับ (ชื่อที่ชาวยุโรปในสมัยนั้นใช้เรียก) ใช้ในทางคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และแทนที่ตัวเลขโรมันในการใช้ทั่วไปในคริสต์ศตวรรษที่ 15
การใช้ในเอเชียตะวันออก
ใน ค.ศ. 690 พระนางบูเช็กเทียนประกาศใช้อักษรจีนพระนางบูเช็กเทียน หนึ่งในนั้นมีตัวอักษร "〇" ซึ่งต่อมาใช้เป็นเลขศูนย์ในตัวเลขจีน
นักคณิตศาสตร์จากอินเดียแนะนำเลขฮินดูที่มีเลขศูนย์ในจีนในปี ค.ศ. 718 แต่ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากนักคณิตศาสตร์จีนมี (counting rods) ที่สามารถคำนวณเลขฐานสิบที่มีค่าประจำหลักได้
มีการใช้สัญลักษณ์ 〇 แทนเลขศูนย์ในซึ่งเป็นตัวเลขที่ใช้ในจีนก่อนตัวเลขฮินดู–อาหรับ นักประวัติศาสตร์บางส่วนสันนิษฐานว่าเป็นการรับมาจากการแนะนำของโคตมะ สิทธาในปี ค.ศ. 718 แต่บางส่วนเชื่อว่ามาจากสัญลักษณ์ □
จีนและญี่ปุ่นเลิกใช้ไม้คำนวณและเปลี่ยนมาใช้เลขฮินดู–อาหรับในคริสต์ศตวรรษที่ 19
การแพร่หลายของตัวเลขอาหรับตะวันตก
ตัวเลขอาหรับตะวันตกใช้ทั่วไปในยุโรปตั้งแต่ยุคบารอก ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลกพร้อม ๆ กับการแผ่ขยายของการใช้อักษรละติน ตัวเลขอาหรับตะวันตกยังได้รับความนิยมและเข้าแทนที่ตัวเลขอาหรับแบบอื่นที่เคยใช้ในหลายพื้นที่ หรือเป็นหนึ่งในตัวเลขที่ใช้ควบคู่ไปกับตัวเลขที่ใช้ในประเทศ (ดูที่ตัวเลขจีนและตัวเลขญี่ปุ่น)
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
- "เมื่อจักรวรรดิอาหรับแผ่ขยายและติดต่อกับอินเดีย ชาวอาหรับได้รับเอาระบบเลขฮินดูและขั้นตอนวิธีช่วงต้น" ("When the Arabian empire was expanding and contact was made with India, the Hindu numeral system and the early algorithms were adopted by the Arabs.")
- "ฮินดู" เป็นชื่อภาษาเปอร์เซียที่หมายถึงชาวอินเดียในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ซึ่งเป็นช่วงที่ชาวอาหรับเริ่มใช้ระบบเลขนี้ การใช้คำว่า "ฮินดู" เพื่อบรรยายถึงศาสนาเป็นการพัฒนาขึ้นภายหลัง
- ในเยอรมันอ่านตัวเลขอย่าง 21 ว่า "1 และ 20" ("one and twenty") ซึ่งเป็นการอ่านจากขวาไปซ้าย ในภาษาฮีบรูไบเบิลบางครั้งใช้วิธีนี้ในการอ่านตัวเลขที่มีค่ามาก ดังปรากฏในเอสเธอร์ 1:1 "Ahasuerus which reigned from India even unto Ethiopia, over seven and twenty and a hundred provinces." ("อาหสุเอรัสผู้ทรงครอบครองตั้งแต่ประเทศอินเดียถึงประเทศเอธิโอเปีย เหนือหนึ่งร้อยยี่สิบเจ็ดมณฑลนั้น")
อ้างอิง
- , Geometry: Our Cultural Heritage, 2000
- {{cite book|url=https://books.google.com/books?id=uIgxAQAAIAAJ&q=%22empire+was+expanding+and+contact+was+made+with+India%22%7Ctitle=Collier's Encyclopedia, with bibliography and index|author=William Darrach Halsey, Emanuel Friedman|year=1983
- Brezina, Corona (2006), Al-Khwarizmi: The Inventor of Algebra, The Rosen Publishing Group, pp. 39–40, ISBN : "นักประวัติศาสตร์คาดเดาถึงภาษาแม่ของอัลเคาะวาริซมี อัลเคาะวาริซมีอาจพูดภาษาเปอร์เซียเนื่องจากเขาเกิดในดินแดนเดิมของเปอร์เซีย เป็นไปได้เช่นกันว่าเขาพูดภาษาฆวารัซม์ ซึ่งเป็นภาษาสูญแล้วในภูมิภาคนั้น" ("Historians have speculated on al-Khwarizmi's native language. Since he was born in a former Persian province, he may have spoken the Persian language. It is also possible that he spoke Khwarezmian, a language of the region that is now extinct.")
- Klein, Felix (2009). Elementary Mathematics from an Advanced Standpoint: Arithmetic, Algebra, Analysis. Cosimo, Inc. pp. 25, 80. ISBN – โดยทาง Google Books.
- Rowlett, Russ (2004-07-04), Roman and "Arabic" Numerals, University of North Carolina at Chapel Hill, สืบค้นเมื่อ 2019-04-12
- "Esther / เอสเธอร์ 1 : พระคัมภีร์ไบเบิล - พันธสัญญาเดิม". Wordproject. สืบค้นเมื่อ July 5, 2023.
- Flegg (2002), pp. 6ff.
- Pearce, Ian (May 2002). "The Bakhshali manuscript". The MacTutor History of Mathematics archive. สืบค้นเมื่อ 2007-07-24.
- J. J. O'Connor; E. F. Robertson (November 2000). "A history of zero". . สืบค้นเมื่อ 24 July 2022.
{{}}
: CS1 maint: url-status () - "Carbon dating finds Bakhshali manuscript contains oldest recorded origins of the symbol 'zero'". Bodleian Libraries. 14 September 2017. สืบค้นเมื่อ 2023-01-13.
- . Algebra, with Arithmetic and Mensuration, from the Sanscrit of Brahmegupta and Bháscara, London 1817, p. 339 (online)
- Keith Devlin (2012). The Man of Numbers: Fibonacci's Arithmetic Revolution. Walker Books. ISBN .
- "Fibonacci Numbers". www.halexandria.org.
- HLeonardo Pisano: "Contributions to number theory". Encyclopædia Britannica Online, 2006. p. 3. Retrieved 18 September 2006.
- Qian, Baocong (1964), Zhongguo Shuxue Shi (The history of Chinese mathematics), Beijing: Kexue Chubanshe
- Wáng, Qīngxiáng (1999), Sangi o koeta otoko (The man who exceeded counting rods), Tokyo: Tōyō Shoten, ISBN
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rabbelkhhindu xahrb xngkvs Hindu Arabic numeral system hrux rabbelkhxinediy xahrb xngkvs Indo Arabic numeral system epnrabbelkhthansibaebbthiichaephrhlaythisudinolk bangkhrngrabbelkhhindu xahrberiykwa rabbelkhhindu Hindu numeral system hruxrabbelkhxahrb Arabic numeral system aepnothrsphthkhxngxahrbpccubnmitwelkhxahrbsxngaebb twelkhxahrbtawntkxyudansay twelkhxahrbtawnxxkxyudankhwa rabbelkhnikhidkhnodyrahwangkhriststwrrsthi 1 4 txmanaipichinkhriststwrrsthi 9 rabbelkhhindu xahrbruckaephrhlaycakphlngankhxngmuhmmd xibn musa xlekhaawarismi nkkhnitsastrchawepxresiy wadwykarkhanwndwyelkhhindu praman kh s 825 aela nkkhnitsastrchawxahrb wadwykarichelkhhindu praman kh s 830 kxncaekhasuyuorpsmyklangchwng rabbelkhhindu xahrbichrupxkkhra 10 tw edimmi 9 tw twelkhehlaniphthnamacaksungaeykyxyepntwelkhhlayaebbinchwngsmyklang odysamarthaebngidepn 3 klumihy idaek twelkhxahrbtawntkichinyuorpaelaxlmkhrib twelkhxahrbtawnxxkichintawnxxkklang aelatwelkhxinediythiichkhukbchudtwxksrtang inxnuthwipxinediytnkaenidrabbelkhhindu xahrbhruxrabbelkhxinediy xahrbkhidkhnodynkkhnitsastrinxinediy nkkhnitsastrchawepxresiyaelaxahrberiykrabbelkhniwa elkhhindu txmainyuorperiykwa elkhxahrb enuxngcakrabbelkhniekhasuyuorpphanthangphxkhachawxahrbsykrntaaehnngrabbelkhhindu xahrbthukxxkaebbephuxaesdngkhapracakhxngtwelkhaetlatwaelakhahlkintaaehnngthitwelkhnnprakt txmamikarichsylksnaebngelkhthansib edimthaepnsylksnehnuxtwelkh aetpccubnichekhruxnghmaymhphphakh hruxculphakh nxkcakniyngmisylksnsahrbthsniymsa sungsmyihmniymkhidaenwnxnehnuxklumtwelkhthisakn dngnninrabbelkhnicungichsylksnephiyng 13 tw twelkh 10 tw sylksnaebngelkhthansib khidaenwnxnaelaekhruxnghmaylbsahrbcanwnlb aemwarabbelkhhindu xahrbcaichrwmkbxksrirsra sungthwipekhiyncakkhwaipsay aettwelkhthimikhamakthisudcaxyuthidansay dngnncungepnkarxancaksayipkhwa aetkrannimcaepntxngxantwelkhcakkhamakipkhanxyesmxip karekhiynlksnaniphbidinexksarthiichrabbkarekhiyncaksay khwaphsmkbkhwa saysylksnrabbelkhhindu xahrbmichudsylksnephuxichaesdngepntwelkhhlayaebb sylksnniswnihyphthnamacakthiichinxnuthwipxinediychwngstwrrsthi 3 kxnkhristkal kxncaaeykyxyepnsylksnthihlakhlayinsmyklang chudsylksnnisamarthaebngidepn 3 klumihy idaek twelkhxahrbhruxtwelkhxahrbtawntk ichkbxksrlatin xksrsirillikaelachudtwxksrkrik twelkhxahrbtawnxxkhruxtwelkhxahrb xinediy ichkbchudtwxksrxahrb twelkhxinediy ichkbtrakulxksrphrahmikarepriybethiybrupxkkhra sylksn ichkbchudtwxksr elkh0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 chudtwxksrxahrb xksrlatin xksrsirillik aelachudtwxksrkrik twelkhxahrb xksrebrll twelkhebrll𑁦 𑁧 𑁨 𑁩 𑁪 𑁫 𑁬 𑁭 𑁮 𑁯 xksrphrahmi० १ २ ३ ४ ५ ६ ७ ८ ९ xksrethwnakhri௦ ௧ ௨ ௩ ௪ ௫ ௬ ௭ ௮ ௯ xksrthmil০ ১ ২ ৩ ৪ ৫ ৬ ৭ ৮ ৯੦ ੧ ੨ ੩ ੪ ੫ ੬ ੭ ੮ ੯ xksrkhurmukhi twelkhkhurmukhi૦ ૧ ૨ ૩ ૪ ૫ ૬ ૭ ૮ ૯ xksrkhuchrat𑙐 𑙑 𑙒 𑙓 𑙔 𑙕 𑙖 𑙗 𑙘 𑙙 xksromthi twelkhomthi୦ ୧ ୨ ୩ ୪ ୫ ୬ ୭ ୮ ୯ xksroxriya᱐ ᱑ ᱒ ᱓ ᱔ ᱕ ᱖ ᱗ ᱘ ᱙ xksrsnthali twelkhsnthali𑇐 𑇑 𑇒 𑇓 𑇔 𑇕 𑇖 𑇗 𑇘 𑇙 xksrsartha twelkhsartha౦ ౧ ౨ ౩ ౪ ౫ ౬ ౭ ౮ ౯ xksretluku twelkhetluku೦ ೧ ೨ ೩ ೪ ೫ ೬ ೭ ೮ ೯ xksrknnada twelkhknnada൦ ൧ ൨ ൩ ൪ ൫ ൬ ൭ ൮ ൯ xksrmlyalm twelkhmlyalm꯰ ꯱ ꯲ ꯳ ꯴ ꯵ ꯶ ꯷ ꯸ ꯹ xksrmnipura twelkhmnipura෦ ෧ ෨ ෩ ෪ ෫ ෬ ෭ ෮ ෯ xksrsinghl𑓐 𑓑 𑓒 𑓓 𑓔 𑓕 𑓖 𑓗 𑓘 𑓙 ༠ ༡ ༢ ༣ ༤ ༥ ༦ ༧ ༨ ༩ xksrthiebt၀ ၁ ၂ ၃ ၄ ၅ ၆ ၇ ၈ ၉᠐ ᠑ ᠒ ᠓ ᠔ ᠕ ᠖ ᠗ ᠘ ᠙ xksrmxngokeliy០ ១ ២ ៣ ៤ ៥ ៦ ៧ ៨ ៩ xksrekhmr twelkhekhmr0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 xksrithy twelkhithy໐ ໑ ໒ ໓ ໔ ໕ ໖ ໗ ໘ ໙ xksrlaw twelkhlaw꧐ ꧑ ꧒ ꧓ ꧔ ꧕ ꧖ ꧗ ꧘ ꧙ xksrchwa٠ ١ ٢ ٣ ٤ ٥ ٦ ٧ ٨ ٩ phasaxahrb twelkhxahrbtawnxxk۰ ۱ ۲ ۳ ۴ ۵ ۶ ۷ ۸ ۹ chudtwxksrepxresiy phasadari ۰ ۱ ۲ ۳ ۴ ۵ ۶ ۷ ۸ ۹ chudtwxksrxurdu xksrchahmukhi 零 一 二 三 四 五 六 七 八 九 exechiytawnxxk twelkhcin twelkhyipunaelao ō Aʹ Bʹ Gʹ Dʹ Eʹ Ϛʹ Zʹ Hʹ 8ʹprawtisastrrabbelkhhindu xahrbmithimacaksungichmakxnsaklskrach twelkhphrahmiaethnthitwelkhkhorsthithiichmatngaetstwrrsthi 4 kxnkhristkal twelkhphrahmiaelatwelkhkhorsthiichkhwbkhukninckrwrrdiemarya aelapraktinchwngstwrrsthi 3 kxnkhristkal phbsylksnincaruksasnaphuththsmy 300 pikxnkhristkalthitxmaklayepnelkh 1 4 aela 6 nxkcaknimibnthukkarichsylksnthitxmaepnelkh 2 4 6 7 aela 9 inhnungstwrrstxma xyangirktamtwelkhphrahmiimichrabbelkhthansibthiaesdngkhapracatwelkhaelakhahlkintaaehnngtwelkh rwmthungimmielkh 0 dngnnaenwkhidkhapracahlkaelakarichelkh 0 cungepnkarphthnakhuninphayhlng phthnakar phthnakarkhxngelkhhindu xahrb raw kh s 224 383 epntwxyangaerk thiklawthungkhapracahlkaelakarichelkhsuny aenwkhidekiywkbelkhsunyidrbkarephimetimintara Brahmasphuta Siddhanta khxngsmykhriststwrrsthi 7 rabbelkhhindu xahrbekhasuolkxislamphanphlngankhxngnkkhnitsastrtawnxxkklanghlaykhn echn On the Calculation with Hindu Numerals wadwykarkhanwndwyelkhhindu khxngmuhmmd xibn musa xlekhaawarismi kh s 825 On the Use of the Hindu Numerals wadwykarichelkhhindu khxng kh s 830 The Arithmetics of India elkhkhnitaehngxinediy khxng praman kh s 952 aela Principles of Hindu Reckoning hlkkarkhanwnhindu khxng khriststwrrsthi 10 11 ekhasuyuorp hnahnungkhxng Liber Abaci cak emuxngflxerns ladbelkhdankhwa 1 2 3 5 8 13 21 34 55 89 144 233 377 khuxladbfiobnchchi elkh 2 8 aela 9 khlaytwelkhxahrbmakkwatwelkhxahrbtawnxxkhruxtwelkhxinediy phbkarichelkhhindu xahrbinyuorpkhrngaerkin Codex Vigilanus exksartwekhiynsiwicitrthirwbrwmbnthukehtukarninhisepeniytngaetsmyobranthungkhriststwrrsthi 10 txmachwngplaykhriststwrrsthi 10 aekraebraehngxxrilaelkidkhnphbaelasuksaxngkhkhwamrukhxngchawxahrbthiaexbbiyinkhatalnkxncaphthnalukkhidthiichelkhhindu xahrb 1 9 hlngekhaidrbeluxkepnsmedcphrasntapapasilewsetxrthi 2 inpi kh s 999 eloxnarod fiobnchchi nkkhnitsastrchawxitaliepnbukhkhlthisngesrimkarichrabbelkhhindu xahrbihaephrhlayinyuorp inhnngsux Liber Abaci tarakarkhanwn khxngekhaklawthungelkhhindu xahrbwa Modus Indorum withikhxngchawxinediy aelabrryaythungkarnaipich prasiththiphaphaelapraoychnthangkhnitsastraelakarkha xyangirktam karaenanaelkhhindu xahrbkhxngfiobnchchiyngcakdxyuinwngphumikarsuksa cnkrathng nkkhnitsastrchaweyxrmnephyaephr Calculating on the Lines and with a Quill karkhanwnesndwypakkakhnnk inpi kh s 1522 odymungepathilukmuxfukhdkhxngnkthurkicaelachangfimux elkhxahrb chuxthichawyuorpinsmynnicheriyk ichinthangkhnitsastrinkhriststwrrsthi 12 aelaaethnthitwelkhormninkarichthwipinkhriststwrrsthi 15 karichinexechiytawnxxk in kh s 690 phranangbuechkethiynprakasichxksrcinphranangbuechkethiyn hnunginnnmitwxksr sungtxmaichepnelkhsunyintwelkhcin nkkhnitsastrcakxinediyaenanaelkhhinduthimielkhsunyincininpi kh s 718 aetimprasbkhwamsaercenuxngcaknkkhnitsastrcinmi counting rods thisamarthkhanwnelkhthansibthimikhapracahlkid mikarichsylksn aethnelkhsunyinsungepntwelkhthiichincinkxntwelkhhindu xahrb nkprawtisastrbangswnsnnisthanwaepnkarrbmacakkaraenanakhxngokhtma siththainpi kh s 718 aetbangswnechuxwamacaksylksn cinaelayipunelikichimkhanwnaelaepliynmaichelkhhindu xahrbinkhriststwrrsthi 19 karaephrhlaykhxngtwelkhxahrbtawntk twelkhxahrbtawntkichthwipinyuorptngaetyukhbarxk kxncaaephrhlayipthwolkphrxm kbkaraephkhyaykhxngkarichxksrlatin twelkhxahrbtawntkyngidrbkhwamniymaelaekhaaethnthitwelkhxahrbaebbxunthiekhyichinhlayphunthi hruxepnhnungintwelkhthiichkhwbkhuipkbtwelkhthiichinpraeths duthitwelkhcinaelatwelkhyipun duephimtwelkhxahrb elkhthansib rabbelkh 0hmayehtu emuxckrwrrdixahrbaephkhyayaelatidtxkbxinediy chawxahrbidrbexarabbelkhhinduaelakhntxnwithichwngtn When the Arabian empire was expanding and contact was made with India the Hindu numeral system and the early algorithms were adopted by the Arabs hindu epnchuxphasaepxresiythihmaythungchawxinediyinkhriststwrrsthi 10 sungepnchwngthichawxahrberimichrabbelkhni karichkhawa hindu ephuxbrryaythungsasnaepnkarphthnakhunphayhlng ineyxrmnxantwelkhxyang 21 wa 1 aela 20 one and twenty sungepnkarxancakkhwaipsay inphasahibruibebilbangkhrngichwithiniinkarxantwelkhthimikhamak dngpraktinexsethxr 1 1 Ahasuerus which reigned from India even unto Ethiopia over seven and twenty and a hundred provinces xahsuexrsphuthrngkhrxbkhrxngtngaetpraethsxinediythungpraethsexthioxepiy ehnuxhnungrxyyisibecdmnthlnn xangxingwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb rabbelkhhindu xahrb Geometry Our Cultural Heritage 2000 cite book url https books google com books id uIgxAQAAIAAJ amp q 22empire was expanding and contact was made with India 22 7Ctitle Collier s Encyclopedia with bibliography and index author William Darrach Halsey Emanuel Friedman year 1983 Brezina Corona 2006 Al Khwarizmi The Inventor of Algebra The Rosen Publishing Group pp 39 40 ISBN 978 1 4042 0513 0 nkprawtisastrkhadedathungphasaaemkhxngxlekhaawarismi xlekhaawarismixacphudphasaepxresiyenuxngcakekhaekidindinaednedimkhxngepxresiy epnipidechnknwaekhaphudphasakhwarsm sungepnphasasuyaelwinphumiphakhnn Historians have speculated on al Khwarizmi s native language Since he was born in a former Persian province he may have spoken the Persian language It is also possible that he spoke Khwarezmian a language of the region that is now extinct Klein Felix 2009 Elementary Mathematics from an Advanced Standpoint Arithmetic Algebra Analysis Cosimo Inc pp 25 80 ISBN 978 1605209319 odythang Google Books Rowlett Russ 2004 07 04 Roman and Arabic Numerals University of North Carolina at Chapel Hill subkhnemux 2019 04 12 Esther exsethxr 1 phrakhmphiribebil phnthsyyaedim Wordproject subkhnemux July 5 2023 Flegg 2002 pp 6ff Pearce Ian May 2002 The Bakhshali manuscript The MacTutor History of Mathematics archive subkhnemux 2007 07 24 J J O Connor E F Robertson November 2000 A history of zero subkhnemux 24 July 2022 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk Carbon dating finds Bakhshali manuscript contains oldest recorded origins of the symbol zero Bodleian Libraries 14 September 2017 subkhnemux 2023 01 13 Algebra with Arithmetic and Mensuration from the Sanscrit of Brahmegupta and Bhascara London 1817 p 339 online Keith Devlin 2012 The Man of Numbers Fibonacci s Arithmetic Revolution Walker Books ISBN 978 0802779083 Fibonacci Numbers www halexandria org HLeonardo Pisano Contributions to number theory Encyclopaedia Britannica Online 2006 p 3 Retrieved 18 September 2006 Qian Baocong 1964 Zhongguo Shuxue Shi The history of Chinese mathematics Beijing Kexue Chubanshe Wang Qingxiang 1999 Sangi o koeta otoko The man who exceeded counting rods Tokyo Tōyō Shoten ISBN 4 88595 226 3