อักษรศารทา เป็นระบบการเขียนอักษรสระประกอบในตระกูลอักษรพราหมี อักษรนี้เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตและภาษากัศมีร์อย่างแพร่หลายในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอนุทวีปอินเดีย (ในพื้นที่กัศมีร์และบริเวณรอบ ๆ) ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในอดีตเคยมีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ภายหลังใช้กันเฉพาะบริเวณกัศมีร์ และปัจจุบันแทบไม่มีใครใช้นอกจากสังคมที่ใช้กันในทางศาสนา
อักษรศารทา 𑆯𑆳𑆫𑆢𑆳 | |
---|---|
ศัพท์ ศารทา ในอักษรศารทา | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ค.ศ. 700 -ปัจจุบัน (เกือบสูญหาย) |
ทิศทาง | Left-to-right |
ภูมิภาค | อินเดีย, ปากีสถาน, เอเชียกลาง |
ภาษาพูด | สันสกฤต, กัศมีร์ |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | ฏากรี, ลัณฑา |
ระบบพี่น้อง | สิทธัม, ไภกษุกี, ทิเบต |
ISO 15924 | |
Shrd (319), Sharada, Śāradā | |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Sharada |
ช่วงยูนิโคด | U+11180-U+111DF |
[a] ต้นกำเนิดอักษรพราหมีจากเซมิติกไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป |
อักษรนี้เป็นอักษรพื้นเมืองของกัศมีร์และตั้งชื่อตามเทพีศารทาหรือพระสุรัสวดี เทพีแห่งการเรียนรู้และเทพีหลักในวิหารศารทาปีฐ
ตัวอักษร
สระ
ทับศัพท์ | สัทอักษรสากล | ตำแหน่ง เดี่ยว | เชื่อม | ||
---|---|---|---|---|---|
รูปอักษร | ตัวอย่าง | รูปพิเศษ | |||
a | [ɐ] | 𑆃 | (ไม่มี) | (𑆥 pa) | |
ā | [aː] | 𑆄 | 𑆳 | 𑆥𑆳 pā | 𑆕 → 𑆕𑆳; 𑆘 → 𑆘𑆳; 𑆛 → 𑆛𑆳; 𑆟 → 𑆟𑆳 |
i | [ɪ] | 𑆅 | 𑆴 | 𑆥𑆴 pi | |
ī | [iː] | 𑆆 | 𑆵 | 𑆥𑆵 pī | |
u | [ʊ] | 𑆇 | 𑆶 | 𑆥𑆶 pu | 𑆑 → 𑆑𑆶; 𑆓 → 𑆓𑆶; 𑆙 → 𑆙𑆶; 𑆚 → 𑆚𑆶; 𑆝 → 𑆝𑆶; 𑆠 → 𑆠𑆶; 𑆨 → 𑆨𑆶; 𑆫 → 𑆫𑆶; 𑆯 → 𑆯𑆶 |
ū | [uː] | 𑆈 | 𑆷 | 𑆥𑆷 pū | 𑆑 → 𑆑𑆷; 𑆓 → 𑆓𑆷; 𑆙 → 𑆙𑆷; 𑆚 → 𑆚𑆷; 𑆝 → 𑆝𑆷; 𑆠 → 𑆠𑆷; 𑆨 → 𑆨𑆷; 𑆫 → 𑆫𑆷; 𑆯 → 𑆯𑆷 |
r̥ | [r̩] | 𑆉 | 𑆸 | 𑆥𑆸 pr̥ | 𑆑 → 𑆑𑆸 |
r̥̄ | [r̩ː] | 𑆊 | 𑆹 | 𑆥𑆹 pr̥̄ | 𑆑 → 𑆑𑆹 |
l̥ | [l̩] | 𑆋 | 𑆺 | 𑆥𑆺 pl̥ | |
l̥̄ | [l̩ː] | 𑆌 | 𑆻 | 𑆥𑆻 pl̥̄ | |
ē | [eː] | 𑆍 | 𑆼 | 𑆥𑆼 pē | |
ai | [aːi̯], [ai], [ɐi], [ɛi] | 𑆎 | 𑆽 | 𑆥𑆽 pai | |
ō | [oː] | 𑆏 | 𑆾 | 𑆥𑆾 pō | |
au | [aːu̯], [au], [ɐu], [ɔu] | 𑆐 | 𑆿 | 𑆥𑆿 pau | |
am̐ | [◌̃] | 𑆃𑆀 | 𑆀 | 𑆥𑆀 pam̐ | |
aṃ | [n], [m] | 𑆃𑆁 | 𑆁 | 𑆥𑆁 paṃ | |
aḥ | [h] | 𑆃𑆂 | 𑆂 | 𑆥𑆂 paḥ |
พยัญชนะ
รูปอักขระเดี่ยว | ทับศัพท์ | สัทอักษรสากล |
---|---|---|
𑆑 | ka | [kɐ] |
𑆒 | kha | [kʰɐ] |
𑆓 | ga | [ɡɐ] |
𑆔 | gha | [ɡʱɐ] |
𑆕 | ṅa | [ŋɐ] |
𑆖 | ca | [tɕɐ] |
𑆗 | cha | [tɕʰɐ] |
𑆘 | ja | [dʑɐ] |
𑆙 | jha | [dʑʱɐ] |
𑆚 | ña | [ɲɐ] |
𑆛 | ṭa | [ʈɐ] |
𑆜 | ṭha | [ʈʰɐ] |
𑆝 | ḍa | [ɖɐ] |
𑆞 | ḍha | [ɖʱɐ] |
𑆟 | ṇa | [ɳɐ] |
𑆠 | ta | [tɐ] |
𑆡 | tha | [tʰɐ] |
𑆢 | da | [dɐ] |
𑆣 | dha | [dʱɐ] |
𑆤 | na | [nɐ] |
𑆥 | pa | [pɐ] |
𑆦 | pha | [pʰɐ] |
𑆧 | ba | [bɐ] |
𑆨 | bha | [bʱɐ] |
𑆩 | ma | [mɐ] |
𑆪 | ya | [jɐ] |
𑆫 | ra | [rɐ] , [ɾɐ], [ɽɐ], [ɾ̪ɐ] |
𑆬 | la | [lɐ] |
𑆭 | ḷa | [ɭɐ] |
𑆮 | va | [ʋɐ] |
𑆯 | śa | [ɕɐ] |
𑆰 | ṣa | [ʂɐ] |
𑆱 | sa | [sɐ] |
𑆲 | ha | [ɦɐ] |
ตัวเลข
ศารทา | อารบิก |
---|---|
𑇐 | 0 |
𑇑 | 1 |
𑇒 | 2 |
𑇓 | 3 |
𑇔 | 4 |
𑇕 | 5 |
𑇖 | 6 |
𑇗 | 7 |
𑇘 | 8 |
𑇙 | 9 |
อักษรศารทาใช้สัญลักษณ์ระบบตัวเลขฐานสิบของตนเอง
ภาพ
- สระศารทา
- พยัญชนะศารทา
- ภาษาสันสกฤต (บน; อักษรเทวนาครี) และภาษากัศมีร์ (ล่าง; อักษรศารทา)
ยูนิโคด
อักษรศารทาถูกเพิ่มในยูนิโคดเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2012 ในรุ่น 6.1
บล็อกยูนิโคดสำหรับอักษรศารทาอยู่ในช่อง U+11180-U+111DF:
อ้างอิง
- Singh, Upinder (2008). A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century (ภาษาอังกฤษ). Pearson Education India. p. 43. ISBN .
- Daniels, P.T. (January 2008). "Writing systems of major and minor languages".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Masica, Colin (1993). The Indo-Aryan languages. p. 143.
- Selin, Helaine (2008). Encyclopaedia of the History of Science, Technology, and Medicine in Non-Western Cultures (ภาษาอังกฤษ). Springer Science & Business Media. p. Bakhshali Manuscript entry. Bibcode:2008ehst.book.....S. ISBN .
- Sir George Grierson. (1916). "On the Sharada Alphabet". Journal of the Royal Asiatic Society, 17.
- . . 17 May 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2007. สืบค้นเมื่อ 13 August 2012.
- Pandey, Anshuman (2009-08-05). "L2/09-074R2: Proposal to encode the Sharada Script in ISO/IEC 10646" (PDF).
แหล่งข้อมูลอื่น
- Aksharamukha: Sharada script
- Saerji. (2009). Śāradā script: Akṣara List of the Manuscript of Abhidharmadīpa (ca. the 11th Century). Research Institute of Sanskrit Manuscripts & Buddhist Literature, Peking University.
- Prevalence of the Śāradā Script in Afghanistan 2010-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xksrsartha epnrabbkarekhiynxksrsraprakxbintrakulxksrphrahmi xksrniekhyichekhiynphasasnskvtaelaphasaksmirxyangaephrhlayinphakhtawntkechiyngehnuxkhxngxnuthwipxinediy inphunthiksmiraelabriewnrxb chwngkhriststwrrsthi 8 thungkhriststwrrsthi 12 inxditekhymikarichknxyangaephrhlay phayhlngichknechphaabriewnksmir aelapccubnaethbimmiikhrichnxkcaksngkhmthiichkninthangsasnaxksrsartha 𑆯 𑆫𑆢 sphth sartha inxksrsarthachnidxksrsraprakxbchwngyukhkh s 700 pccubn ekuxbsuyhay thisthangLeft to right phumiphakhxinediy pakisthan exechiyklangphasaphudsnskvt ksmirxksrthiekiywkhxngrabbaem a chudtwxksrfiniechiy a chudtwxksraexraemxik a phrahmikhuptaxksrsartharabbluktakri lntharabbphinxngsiththm iphksuki thiebtISO 15924Shrd 319 Sharada SaradayuniokhdyuniokhdaefngSharadachwngyuniokhdU 11180 U 111DF a tnkaenidxksrphrahmicakesmitikimkhxyepnthiyxmrbodythwip xksrniepnxksrphunemuxngkhxngksmiraelatngchuxtamethphisarthahruxphrasurswdi ethphiaehngkareriynruaelaethphihlkinwiharsarthapithtwxksrsra thbsphth sthxksrsakl taaehnng ediyw echuxmrupxksr twxyang rupphiessa ɐ 𑆃 immi 𑆥 pa a aː 𑆄 𑆥 pa 𑆕 𑆕 𑆘 𑆘 𑆛 𑆛 𑆟 𑆟 i ɪ 𑆅 𑆥 pii iː 𑆆 𑆥 piu ʊ 𑆇 𑆥 pu 𑆑 𑆑 𑆓 𑆓 𑆙 𑆙 𑆚 𑆚 𑆝 𑆝 𑆠 𑆠 𑆨 𑆨 𑆫 𑆫 𑆯 𑆯 u uː 𑆈 𑆥 pu 𑆑 𑆑 𑆓 𑆓 𑆙 𑆙 𑆚 𑆚 𑆝 𑆝 𑆠 𑆠 𑆨 𑆨 𑆫 𑆫 𑆯 𑆯 r r 𑆉 𑆥 pr 𑆑 𑆑 r r ː 𑆊 𑆥 pr 𑆑 𑆑 l l 𑆋 𑆥 pl l l ː 𑆌 𑆥 pl e eː 𑆍 𑆥 peai aːi ai ɐi ɛi 𑆎 𑆥 paiō oː 𑆏 𑆥 pōau aːu au ɐu ɔu 𑆐 𑆥 pauam 𑆃 𑆥 pam aṃ n m 𑆃 𑆥 paṃaḥ h 𑆃 𑆥 paḥphyychna rupxkkhraediyw thbsphth sthxksrsakl𑆑 ka kɐ 𑆒 kha kʰɐ 𑆓 ga ɡɐ 𑆔 gha ɡʱɐ 𑆕 ṅa ŋɐ 𑆖 ca tɕɐ 𑆗 cha tɕʰɐ 𑆘 ja dʑɐ 𑆙 jha dʑʱɐ 𑆚 na ɲɐ 𑆛 ṭa ʈɐ 𑆜 ṭha ʈʰɐ 𑆝 ḍa ɖɐ 𑆞 ḍha ɖʱɐ 𑆟 ṇa ɳɐ 𑆠 ta tɐ 𑆡 tha tʰɐ 𑆢 da dɐ 𑆣 dha dʱɐ 𑆤 na nɐ 𑆥 pa pɐ 𑆦 pha pʰɐ 𑆧 ba bɐ 𑆨 bha bʱɐ 𑆩 ma mɐ 𑆪 ya jɐ 𑆫 ra rɐ ɾɐ ɽɐ ɾ ɐ 𑆬 la lɐ 𑆭 ḷa ɭɐ 𑆮 va ʋɐ 𑆯 sa ɕɐ 𑆰 ṣa ʂɐ 𑆱 sa sɐ 𑆲 ha ɦɐ twelkhsartha xarbik𑇐 0𑇑 1𑇒 2𑇓 3𑇔 4𑇕 5𑇖 6𑇗 7𑇘 8𑇙 9 xksrsarthaichsylksnrabbtwelkhthansibkhxngtnexngphaphsrasartha phyychnasartha phasasnskvt bn xksrethwnakhri aelaphasaksmir lang xksrsartha yuniokhdxksrsarthathukephiminyuniokhdemuxeduxnmkrakhm kh s 2012 inrun 6 1 blxkyuniokhdsahrbxksrsarthaxyuinchxng U 11180 U 111DF xangxingSingh Upinder 2008 A History of Ancient and Early Medieval India From the Stone Age to the 12th Century phasaxngkvs Pearson Education India p 43 ISBN 9788131711200 Daniels P T January 2008 Writing systems of major and minor languages a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Masica Colin 1993 The Indo Aryan languages p 143 Selin Helaine 2008 Encyclopaedia of the History of Science Technology and Medicine in Non Western Cultures phasaxngkvs Springer Science amp Business Media p Bakhshali Manuscript entry Bibcode 2008ehst book S ISBN 9781402045592 Sir George Grierson 1916 On the Sharada Alphabet Journal of the Royal Asiatic Society 17 17 May 2006 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 4 February 2007 subkhnemux 13 August 2012 Pandey Anshuman 2009 08 05 L2 09 074R2 Proposal to encode the Sharada Script in ISO IEC 10646 PDF aehlngkhxmulxunAksharamukha Sharada script Saerji 2009 Sarada script Akṣara List of the Manuscript of Abhidharmadipa ca the 11th Century Research Institute of Sanskrit Manuscripts amp Buddhist Literature Peking University Prevalence of the Sarada Script in Afghanistan 2010 09 20 thi ewyaebkaemchchin