ในทางเรขาคณิต รูปหลายเหลี่ยม (อังกฤษ: polygon) ตามความหมายดั้งเดิม หมายถึงอย่างหนึ่งที่เป็นรูปปิดหรือรูปครบวงจรบนระนาบ ซึ่งประกอบขึ้นจากลำดับของส่วนของเส้นตรงที่มีจำนวนจำกัด ส่วนของเส้นตรงเหล่านั้นเรียกว่า ขอบ หรือ ด้าน และจุดที่ขอบสองข้างบรรจบกันเรียกว่า จุดยอด หรือ เหลี่ยม (corner) ภายในรูปหลายเหลี่ยมบางครั้งก็เรียกว่า เนื้อที่ (body) รูปหลายเหลี่ยมเป็นวัตถุในสองมิติ ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งของ (polytope) ที่อยู่ใน n มิติ
ด้านสองด้านที่บรรจบกันเป็นเหลี่ยม เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการเกิดมุมที่ไม่เป็นมุมตรง (180°) ถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว ส่วนของเส้นตรงทั้งสองจะถูกพิจารณาว่าเป็นด้านเดียวกันเชกเช่นวงกลม มีหลายเหลี่ยมไม่สิ้นสุดตามจำนวนองศา
ความคิดทางเรขาคณิตพื้นฐานได้ถูกดัดแปลงไปในหลากหลายทาง เพื่อที่จะทำให้เข้ากับจุดประสงค์เฉพาะ ตัวอย่างเช่นในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คำว่า รูปหลายเหลี่ยม ถูกนำไปใช้และมีการเปลี่ยนแปลงความหมายไปโดยเล็กน้อย ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการบันทึกและจัดการรูปร่างภายในคอมพิวเตอร์มากขึ้น
การจัดแบ่งประเภท
แบ่งตามจำนวนด้าน
โดยหลักแล้วรูปหลายเหลี่ยมสามารถจัดแบ่งได้โดยจำนวนด้านที่มี ดูได้จากการตั้งชื่อรูปหลายเหลี่ยมด้านล่าง
ภาวะนูนเว้า
รูปหลายเหลี่ยมอาจแบ่งได้ตามองศาของภาวะนูนเว้า
- รูปหลายเหลี่ยมนูน (convex) เส้นตรงที่ลากผ่านรูปหลายเหลี่ยมชนิดนี้ (โดยไม่สัมผัสกับขอบหรือจุดยอด) จะตัดผ่านเส้นรอบรูปแค่สองครั้ง
- รูปหลายเหลี่ยมไม่นูน (non-convex) เส้นตรงที่ลากผ่านรูปหลายเหลี่ยมชนิดนี้ จะผ่านเส้นรอบรูปมากกว่าสองครั้ง
- (simple) เส้นรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมชนิดนี้ จะไม่เดินทางตัดกันเอง รูปหลายเหลี่ยมนูนทุกรูปเป็นรูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียว
- รูปหลายเหลี่ยมเว้า (concave) เป็นทั้งรูปหลายเหลี่ยมไม่นูนและเป็นรูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียว
- (star-shaped) เนื้อที่ทั้งหมดสามารถมองเห็นได้จากจุดภายในจุดเดียว รูปนี้จะต้องเป็นรูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียว อาจเป็นได้ทั้งรูปหลายเหลี่ยมนูนหรือเว้า
- รูปหลายเหลี่ยมตัดตัวเอง (self-intersecting) เส้นรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมชนิดนี้ จะเดินทางตัดกันเอง เรียกรูปนี้ว่า คอปติก (coptic) ถึงแม้ว่าจะไม่ค่อยมีการใช้ชื่อนี้กันอย่างกว้างขวางนัก และบางครั้งคำว่า เชิงซ้อน (complex) ก็ถูกใช้แทนความหมายที่ตรงข้ามกับ เชิงเดียว แต่ก็อาจก่อให้เกิดความสับสนกับแนวความคิดของ ที่มีอยู่แล้วในเชิงซ้อน ซึ่งประกอบด้วยจำนวนเชิงซ้อนสองมิติ
- (star) เป็นรูปหลายเหลี่ยมตัดตัวเองด้วยวิธีการตัดอย่างสม่ำเสมอ
แบ่งตามความสมมาตร
- รูปหลายเหลี่ยมมุมเท่า (equiangular) มุมทั้งหมดมีขนาดเท่ากัน
- (cyclic) จุดยอดทั้งหมดเรียงตัวอยู่บนรูปวงกลมรูปเดียว
- หรือ vertex-transitive จุดยอดทั้งหมดเรียงตัวอยู่ภายใน รูปนี้เป็นทั้งรูปหลายเหลี่ยมวงกลมล้อมและรูปหลายเหลี่ยมมุมเท่าด้วย
- รูปหลายเหลี่ยมด้านเท่า (equilateral) ด้านทั้งหมดมีขนาดเท่ากัน (รูปหลายเหลี่ยมที่มีตั้งแต่ห้าด้านขึ้นไป สามารถเป็นรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่าได้ โดยไม่ต้องเป็นรูปหลายเหลี่ยมนูน)
- หรือ edge-transitive ด้านทั้งหมดเรียงตัวอยู่ภายใน รูปนี้เป็นรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่าด้วย
- (regular) เป็นทั้งรูปหลายเหลี่ยมวงกลมล้อมและรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่า ส่วนรูปหลายเหลี่ยมปรกติที่ไม่นูน จะเรียกว่า รูปดาวหลายแฉกปรกติ (regular star polygon)
อื่น ๆ
- (rectilinear) ด้านสองด้านบรรจบกันเป็นมุมฉาก นั่นคือมุมภายในทุกมุมจะมีขนาดเป็น 90° หรือไม่ก็ 270°
- รูปหลายเหลี่ยมทางเดียว (monotone) กำหนดเส้นตรง L ขึ้นมาเส้นหนึ่ง ทุกเส้นตรงที่ตั้งฉากกับ L จะตัดกับเส้นรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมชนิดนี้ไม่เกินสองครั้ง
สมบัติ
สมมติว่ารูปหลายเหลี่ยมที่กำลังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ เป็นรูปในเรขาคณิตแบบยุคลิดโดยตลอด
มุม
รูปหลายเหลี่ยมใด ๆ ไม่ว่าจะปรกติหรือไม่ ตัดตัวเองหรือไม่ จะมีจำนวนเหลี่ยมเท่ากับจำนวนจุดยอด แต่ละเหลี่ยมก็มีมุมอยู่หลายมุม แต่มุมที่สำคัญที่สุดสองชนิดได้แก่
- มุมภายใน - ผลบวกของมุมภายในของรูปเชิงเดียว n เหลี่ยม จะรวมเท่ากับ (n − 2) π เรเดียน หรือ (n − 2) 180 องศา ที่เป็นเช่นนี้เพราะรูปเชิงเดียว n เหลี่ยมจะถูกพิจารณาว่าสร้างขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมจำนวน (n − 2) รูป ซึ่งแต่ละรูปมีผลรวมของมุมภายใน π เรเดียน หรือ 180 องศา ขนาดของมุมภายในแต่ละมุมของรูป n เหลี่ยมปรกติที่เป็นรูปนูน จะมีขนาดเท่ากับ (n − 2) π / n เรเดียน หรือ (n − 2) 180 / n องศา มุมภายในของปรกติมีการศึกษาเป็นครั้งแรกโดย (Poinsot) ในงานเขียนเรื่องเดียวกันกับที่เขาอธิบาย
- มุมภายนอก - ลองจินตนาการว่ากำลังเดินอยู่รอบรูปเชิงเดียว n เหลี่ยมที่เขียนอยู่บนพื้น ปริมาณ "การเลี้ยว" ที่จุดยอดก็คือมุมภายนอกที่กวาดไป และเมื่อเดินครบรอบ ก็หมายความว่าได้เดินหมุนรอบตัวครบหนึ่งรอบ ดังนั้นผลรวมของมุมภายนอกจะต้องเป็น 360° แต่สำหรับการเดินรอบรูป n เหลี่ยมโดยทั่วไป ผลรวมของมุมภายนอกสามารถเป็นพหุคูณจำนวนเต็ม d ของ 360° เช่น 720° สำหรับ (pentagram) และ 0° สำหรับรูปวนคล้ายเลขแปด ซึ่ง d นี้เป็นความหนาแน่นหรือความเป็นแฉกของรูปหลายเหลี่ยม ดูเพิ่มที่ (orbit)
มุมภายนอกเป็นมุมประกอบสองมุมฉาก (supplementary angles) ของมุมภายใน สิ่งนี้ก็ยังเป็นจริงถ้าหากมุมภายในมีขนาดมากกว่า 180° เพราะมุมภายนอกจะมีขนาดเป็นลบ นั่นคือ สมมติให้การเลี้ยวตามเข็มนาฬิกาเป็นบวก และอาจมีบางครั้งที่จะต้องเลี้ยวซ้ายแทนเลี้ยวขวา ซึ่งจะทำให้มุมของการเลี้ยวเป็นปริมาณติดลบ
พื้นที่และเซนทรอยด์
พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมคือเมเชอร์ในบริเวณสองมิติที่ปิดล้อมโดยเส้นขอบของรูปหลายเหลี่ยม สำหรับรูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียว (ที่ไม่ตัดตัวเอง) ที่มีจุดยอด n จุด พื้นที่และเซนทรอยด์ของรูปนี้สามารถหาได้จาก
เพื่อที่จะทำให้รูปหลายเหลี่ยมเป็นรูปปิด จุดยอดแรกและจุดยอดสุดท้ายจะต้องเป็นจุดเดียวกัน นั่นคือ จุดยอดจะต้องเรียงลำดับกันไปตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬิกา ถ้าหากเรียงตามเข็มนาฬิกา พื้นที่จะเป็นจำนวนลบแต่ก็แก้ไขได้ด้วยค่าสัมบูรณ์ สูตรนี้มักจะเรียกกันว่า Surveyor's Formula
สูตรดังกล่าวได้อธิบายไว้โดย (Meister) เมื่อ พ.ศ. 2312 และโดยเกาส์ (Guass) เมื่อ พ.ศ. 2338 ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้โดยการแบ่งรูปหลายเหลี่ยมออกเป็นรูปสามเหลี่ยมหลาย ๆ รูป หรืออาจจะมองได้ว่าเป็นกรณีพิเศษของทฤษฎีบทของกรีน (Green's theorem)
เราสามารถคำนวณพื้นที่ A ของรูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียว ถ้าเราทราบความยาวของด้าน และมุมภายนอก โดยใช้สูตรดังนี้ ซึ่งอธิบายไว้โดย Lopshits เมื่อ พ.ศ. 2506
ถ้าหากรูปหลายเหลี่ยมถูกวาดขึ้นบนกริดหรือช่องตารางที่มีระยะเท่ากัน ซึ่งในกรณีดังกล่าวจุดยอดจะอยู่บนจุดตัดของกริด (Pick's theorem) ได้ให้สูตรอย่างง่ายสำหรับคำนวณพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม โดยคิดจากจำนวนจุดตัดของกริดที่อยู่ภายในและบนเส้นขอบของรูป
ถ้ารูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียวสองรูปมีพื้นที่เท่ากันแล้ว รูปที่หนึ่งจะสามารถตัดแบ่งออกเป็นรูปหลายเหลี่ยมชิ้นเล็ก ๆ ซึ่งสามารถประกอบใหม่ให้เป็นรูปที่สองได้ ดังที่กล่าวไว้ใน (Bolyai-Gerwien theorem)
รูปหลายเหลี่ยมตัดตัวเอง
พื้นที่ของสามารถนิยามด้วยสองแนวทางที่แตกต่างกัน ซึ่งแต่ละแนวทางก็ให้ผลลัพธ์ต่างกันด้วย
- เมื่อใช้วิธีของรูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียว เราจะพบว่ามีบริเวณบางส่วนภายในรูปหลายเหลี่ยมที่อาจมีการทับซ้อนมากกว่าหนึ่งครั้ง พื้นที่ของบริเวณนี้จะเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวตามการทับซ้อน จำนวนการทับซ้อนนี้เรียกว่าความหนาแน่นของบริเวณ ตัวอย่างเช่น บริเวณตรงกลางของรูปดาวห้าแฉกเป็นรูปห้าเหลี่ยมและมีความหนาแน่นเท่ากับ 2 หรือบริเวณรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เกิดจากรูปสี่เหลี่ยมไขว้ (คล้ายเลข 8) จะมีความหนาแน่นเป็นเครื่องหมายตรงข้ามกัน ซึ่งอาจทำให้พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมโดยรวมทั้งหมดเป็นศูนย์ก็ได้
- เมื่อพิจารณาบริเวณที่ถูกปิดเป็นเซตของจุด เราสามารถหาพื้นที่ของบริเวณเหล่านี้ได้ ซึ่งจะสมนัยกับพื้นที่บนระนาบที่ถูกล้อมรอบโดยรูปหลายเหลี่ยม หรือสมนัยกับพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมเชิงเดียวที่มีขอบเขตเดียวกันกับรูปหลายเหลี่ยมตัดตัวเอง ในกรณีเช่นนี้ รูปสี่เหลี่ยมไขว้ก็เป็นเพียงแค่รูปสามเหลี่ยมธรรมดาสองรูป
องศาเสรี
รูป n เหลี่ยมมี (degree of freedom) เท่ากับ 2n ซึ่งรวมทั้ง 2 สำหรับตำแหน่ง 1 สำหรับแนวการหมุน และ 1 สำหรับขนาดทุกขนาด ดังนั้นทั่วไปจะมีองศาเสรีเท่ากับ 2n − 4 ในกรณีของ จำนวนหลังจะลดลงเหลือ n − 2
กำหนดให้ k ≥ 2 สำหรับรูป nk เหลี่ยมที่มีสมมาตรแบบหมุน k ทบ () รูปนี้จะมีองศาเสรีเท่ากับ 2n − 2 ถ้ารวมสมมาตรการสะท้อน () เข้าไปอีก จะเท่ากับ n − 1
การวางนัยทั่วไป
โดยความรู้สึกทั่วไป รูปหลายเหลี่ยมหมายถึงลำดับหรือวงจรที่สลับไปมาโดยไม่สิ้นสุดระหว่างส่วนของเส้นตรง (ด้าน) กับมุม (เหลี่ยม) เหตุผลที่ว่ารูปหลายเหลี่ยมไม่สิ้นสุดก็เพราะลำดับโครงสร้างนั้นวนรอบกลับมาหาจุดเดิมตลอดเวลา ในขณะที่รูปอนันต์เหลี่ยม (apeirogon) ไม่มีขอบเขต เพราะลำดับโครงสร้างของมันเดินทางต่อไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีจุดปลาย การทำความเข้าใจในคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ได้อธิบายลำดับโครงสร้างนี้ว่าเป็นรูปหลายเหลี่ยมแบบ "นามธรรม" ซึ่งเป็นของสมาชิก เนื้อที่ภายในของรูปหลายเหลี่ยมก็คือสมาชิกอันหนึ่ง ว่าง (null polytope) ก็เป็นสมาชิกอันหนึ่งเช่นเดียวกัน (ด้วยเหตุผลทางเทคนิค)
รูปหลายเหลี่ยมทางเรขาคณิตจึงทำให้เข้าใจว่า เป็นการทำรูปหลายเหลี่ยมนามธรรมให้เป็น "รูปธรรม" ซึ่งสิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจับคู่ของสมาชิกจากนามธรรมไปยังเรขาคณิต รูปหลายเหลี่ยมเช่นนี้จึงไม่จำเป็นว่าจะต้องวางอยู่บนระนาบ หรือมีด้านที่ตรง หรือเป็นพื้นที่ที่ถูกล้อมรอบ และสมาชิกที่ต่างกันก็อาจซ้อนเกยกันหรือแม้แต่ทับกันจนสนิท ตัวอย่างเช่น รูปหลายเหลี่ยมที่ถูกวาดขึ้นบนพื้นผิวของทรงกลม ซึ่งด้านของมันเป็นของเส้นวงกลมใหญ่ ดังนั้นเมื่อเราพูดถึงเรื่องรูปหลายเหลี่ยม เราจะต้องอธิบายอย่างระมัดระวังว่าเรากำลังพูดถึงชนิดใดอยู่
รูปสองเหลี่ยม เป็นรูปหลายเหลี่ยมปิดที่มีสองด้านและสองมุม เราสามารถกำหนดจุดสองจุดที่อยู่ตรงข้ามกันบนทรงกลม (คล้ายขั้วเหนือกับขั้วใต้) เชื่อมถึงกันด้วยครึ่งหนึ่งของเส้นวงกลมใหญ่ และเพิ่มอีกเส้นหนึ่งด้วยมุมที่ต่างกันก็จะได้รูปสองเหลี่ยม การเติมเต็มพื้นผิวทรงกลมด้วยรูปสองเหลี่ยมจะทำให้เกิดทรงหลายหน้าที่เรียกว่า แต่ถ้าหากเดินทางรอบเส้นวงกลมใหญ่จนครบรอบ ซึ่งจะเหลือจุดยอดเพียงจุดเดียวและมีด้านเดียว กลายเป็นรูปหนึ่งเหลี่ยม ถึงแม้ว่าผู้แต่งตำราหลายท่านจะไม่ถือว่ากรณีเช่นนี้เป็นรูปหลายเหลี่ยมที่สมบูรณ์
การวางนัยแบบอื่นของรูปหลายเหลี่ยมเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได้บนพื้นผิวอื่น ๆ แต่ในระนาบแบบยุคลิดที่ราบแบน เนื้อที่ของรูปหลายเหลี่ยมไม่สามารถเกิดขึ้นเป็นรูปธรรมได้โดยสามัญสำนึก เราจึงเรียกกรณีเช่นนี้ว่าเป็นภาวะลดรูป (degenerate)
เนื่องจากแนวความคิดที่ใช้ในการวางนัยทั่วไปของรูปหลายเหลี่ยมมีหลากหลายทาง ตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นกรณีลดรูป (หรือกรณีพิเศษ) บางส่วนของรูปหลายเหลี่ยม
- รูปสองเหลี่ยม มีมุมภายใน 0° บนระนาบแบบยุคลิด ส่วนบนพื้นผิวทรงกลมก็ดังที่กล่าวไว้แล้วด้านบน
- มุมภายใน 180° บนระนาบแบบยุคลิดคือรูปอนันต์เหลี่ยม ส่วนบนพื้นผิวทรงกลมคือ
- (skew) คือรูปหลายเหลี่ยมที่ไม่วางตัวอยู่ในระนาบแบน แต่ซิกแซกในปริภูมิสามมิติหรือสูงกว่า (Petrie polygon) ของทรงหลายหน้าปรกติก็เป็นตัวอย่างดั้งเดิมอย่างหนึ่ง
- (spherical) คือรูปหลายเหลี่ยมที่มีด้านและมุมอยู่บนพื้นผิวทรงกลม
- รูปอนันต์เหลี่ยม ลำดับของด้านและมุมเป็นอนันต์ ซึ่งไม่เป็นรูปปิด แต่ก็ไม่มีจุดปลายเพราะว่ามันขยายตัวไปถึงอนันต์
- (complex) เป็นรูปร่างที่คล้ายกับรูปหลายเหลี่ยมธรรมดา แต่วางตัวอยู่บนเชิงซ้อน
การตั้งชื่อรูปหลายเหลี่ยม
ปกติแล้วในภาษาไทย รูปหลายเหลี่ยมจะมีกี่ด้านกี่มุม ก็เรียกชื่อไปตามนั้นโดยตรงเช่น รูปที่มีห้าด้านห้ามุม ก็เรียกรูปห้าเหลี่ยม แต่ในภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาสากลจะมีหลักการตั้งชื่อที่ต่างออกไป คำว่า polygon ในภาษาอังกฤษมีที่มาภาษากรีก แล้วถ่ายทอดไปยังภาษาละตินดังนี้
- πολύγωνον (polygōnon/polugōnon) → polygōnum → polygon
ซึ่งแปลว่า หลายมุม ดังนั้นการตั้งชื่อจะใช้การประสมคำอุปสรรคเชิงตัวเลขในภาษากรีกเป็นหลัก แล้วตามด้วย "-gon" เช่น pentagon หมายถึงรูปห้าเหลี่ยม แต่สำหรับจำนวนขนาดใหญ่ นักคณิตศาสตร์ก็มักเขียนเป็นตัวเลขแทนเช่น 257-gon และในรูปของพจน์ทั่วไปก็เขียนเป็น n-gon ซึ่งมีประโยชน์ในการอ้างถึงตัวแปร n ที่อยู่ในสูตร
รูปหลายเหลี่ยมพิเศษบางรูปมีชื่อของมันเอง ตัวอย่างเช่น รูปห้าเหลี่ยมดาวปรกติ (regular star pentagon) มันก็คือ (pentagram) เป็นต้น
ชื่อ | ด้าน | หมายเหตุ |
---|---|---|
henagon (หรือ monogon) | 1 | ในระนาบแบบยุคลิด ลดรูปเหลือเส้นโค้งปิดที่มี 1 จุดยอด |
digon | 2 | ในระนาบแบบยุคลิด ลดรูปเหลือเส้นโค้งปิดที่มี 2 จุดยอด |
triangle (หรือ trigon) | 3 | รูปหลายเหลี่ยมแรกที่มีเนื้อที่ในระนาบแบบยุคลิด |
quadrilateral (หรือ quadrangle หรือ tetragon) | 4 | รูปหลายเหลี่ยมแรกที่สามารถตัดตัวเองได้ |
pentagon | 5 | รูปหลายเหลี่ยมแรกที่สามารถทำเป็นรูปดาวได้ |
hexagon | 6 | |
heptagon | 7 | หลีกเลี่ยง septagon เพราะ sept- เป็นภาษาละติน |
octagon | 8 | |
enneagon (หรือ nonagon) | 9 | |
decagon | 10 | |
hendecagon | 11 | หลีกเลี่ยง undecagon เพราะ un- เป็นภาษาละติน |
dodecagon | 12 | หลีกเลี่ยง duodecagon เพราะ duo- เป็นภาษาละติน |
tridecagon (หรือ triskaidecagon) | 13 | |
tetradecagon (หรือ tetrakaidecagon) | 14 | |
pentadecagon (หรือ quindecagon หรือ pentakaidecagon) | 15 | |
(หรือ hexakaidecagon) | 16 | |
heptadecagon (หรือ heptakaidecagon) | 17 | |
octadecagon (หรือ octakaidecagon) | 18 | |
enneadecagon (หรือ enneakaidecagon หรือ nonadecagon) | 19 | |
icosagon | 20 | |
ไม่มีชื่อในภาษาอังกฤษ | 100 | มุมภายในของรูปปรกติเท่ากับ 176.4° hectogon เป็นชื่อในภาษากรีก ในขณะที่ centagon เป็นคำประสมระหว่างละตินกับกรีก ซึ่งก็ไม่มีชื่อไหนที่นิยมใช้ |
chiliagon | 1,000 | มุมภายในของรูปปรกติเท่ากับ 179.64° René Descartes used the chiliagon and myriagon (see below) as examples in his to demonstrate a distinction which he made between pure intellection and imagination. He cannot imagine all thousand sides [of the chiliagon], as he can for a triangle. However, he clearly understands what a chiliagon is, just as he understands what a triangle is, and he is able to distinguish it from a myriagon. Thus, he claims, the intellect is not dependent on imagination. |
myriagon | 10,000 | มุมภายในของรูปปรกติเท่ากับ 179.964° ดูหมายเหตุข้างบน |
megagon | 1,000,000 | มุมภายในของรูปปรกติเท่ากับ 179.99964° |
สำหรับการตั้งชื่อรูปหลายเหลี่ยมที่มีด้านอยู่ระหว่าง 20-100 ด้าน จะใช้การประสมของคำอุปสรรคดังนี้
หลักสิบ | และ | หลักหน่วย | คำปัจจัย | ||
---|---|---|---|---|---|
-kai- | 1 | -hena- | -gon | ||
20 | icosi- | 2 | -di- | ||
30 | triaconta- | 3 | -tri- | ||
40 | tetraconta- | 4 | -tetra- | ||
50 | pentaconta- | 5 | -penta- | ||
60 | hexaconta- | 6 | -hexa- | ||
70 | heptaconta- | 7 | -hepta- | ||
80 | octaconta- | 8 | -octa- | ||
90 | enneaconta- | 9 | -ennea- |
อย่างไรก็ตาม คำว่า "-kai-" ก็ไม่ได้มีการใช้ทุกครั้ง (ดังเช่นในตารางข้างบน) ตัวอย่างเช่น รูป 42 เหลี่ยม เรียกว่า tetracontakaidigon หรือ tetracontadigon ในขณะที่รูป 50 เหลี่ยม เรียกว่า pentacontagon
ประวัติ
รูปหลายเหลี่ยมเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่สมัยโบราณ ชาวกรีกโบราณรู้จักรูปหลายเหลี่ยมปรกติซึ่งอธิบายไว้โดยนักคณิตศาสตร์หลายท่าน รูปดาวห้าแฉก ซึ่งเป็นรูปหลายเหลี่ยมปรกติไม่นูน (รูปดาวหลายแฉก) ปรากฏเป็นครั้งแรกบนแจกันของ Aristophonus ในเมือง Caere ซึ่งระบุว่าสร้างขึ้นในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล สำหรับรูปหลายเหลี่ยมไม่นูน ยังไม่มีการศึกษาอย่างเป็นระบบจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 14 โดย Thomas Bredwardine
ในปี ค.ศ. 1952 Shephard ได้ขยายแนวความคิดของรูปหลายเหลี่ยมไปบนระนาบจำนวนเชิงซ้อน ที่ซึ่งมิติส่วนจริงแต่ละส่วนประกอบกับมิติส่วนจินตภาพ เพื่อสร้างรูปหลายเหลี่ยมเชิงซ้อน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รูปหลายเหลี่ยมในธรรมชาติ
รูปหลายเหลี่ยมจำนวนมากสามารถพบได้ในธรรมชาติ ในโลกของธรณีวิทยา ผลึกของแร่ธาตุต่าง ๆ จะมีผิวหน้าหรือหน้าตัดที่เป็นรูปหลายเหลี่ยม โครงสร้างผลึกแบบ quasicrystal ก็สามารถมีหน้าเป็นรูปห้าเหลี่ยมปรกติได้ หรืออีกตัวอย่างหนึ่งคือ เมื่อหินหลอมเหลวเย็นตัวลงในพื้นที่ที่ถูกจำกัดอย่างแน่นหนา จะกลายเป็นหินบะซอลต์แท่งหกเหลี่ยม ดังเช่นที่ Giant's Causeway ในไอร์แลนด์ หรือที่ ที่รัฐแคลิฟอร์เนีย
รูปหลายเหลี่ยมก็พบได้ในอาณาจักรสัตว์ เช่นแต่ละช่องเป็นรูปหกเหลี่ยม ใช้สำหรับการเก็บน้ำผึ้งและ และเป็นสถานที่เจริญเติบโตของตัวอ่อน นอกจากนี้ก็ยังมีสัตว์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับรูปหลายเหลี่ยมปรกติ หรืออย่างน้อยก็มีความสมมาตรเหมือน ๆ กัน สัตว์ในไฟลัมเอไคโนดอร์มาทา เช่นดาวทะเลจะมีลักษณะเป็นรูปห้าเหลี่ยมหรือรูปดาวห้าแฉก หรือพบได้ยากกว่าคือรูปเจ็ดเหลี่ยม ส่วนพวกเม่นทะเลบางครั้งก็ปรากฏความสมมาตรให้เห็น ถึงแม้ว่าสัตว์ในไฟลัมเอไคโนดอร์มาทาไม่ได้มีพฤติกรรมที่เหมือนพวกแมงกะพรุน
ความสมมาตรตามรัศมี (หรือความสมมาตรแบบอื่น) ก็สามารถสังเกตได้จากอาณาจักรพืช โดยเฉพาะดอกไม้ และผลไม้ รูปแบบทั่วไปมักจะสมมาตรแบบห้าเหลี่ยม ซึ่งเห็นได้ชัดจากมะเฟือง ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวน้อยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อผ่าตามขวางจะได้รูปดาวห้าแฉก
ชาวคณิตศาสตร์สมัยก่อนที่ทำการคำนวณโดยใช้กฎแรงโน้มถ่วงของนิวตัน ได้ค้นพบว่าถ้าหากเทหวัตถุสองชนิด (เช่นดวงอาทิตย์กับโลก) โคจรรอบกันแล้ว จะมีจุดจุดหนึ่งที่แน่นอนในอวกาศ ที่ซึ่งเทหวัตถุขนาดเล็ก (อย่างเช่นดาวเคราะห์น้อยหรือสถานีอวกาศ) สามารถคงอยู่ในแนวโคจรที่เสถียร จุดนี้เรียกว่า (Lagrangian points) ระหว่างดวงอาทิตย์กับโลกนั้นมีจุดลากรานจ์จำนวน 5 จุด ซึ่งมี 2 จุดในแนวโคจรของโลกที่ทำมุม 60 องศากับดวงอาทิตย์และโลกพอดี นั่นคือเมื่อเชื่อมจุดศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ โลก และจุดหนึ่งในสองจุดนั้น จะได้เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบแล้วว่ามีดาวเคราะห์น้อยจำนวนหนึ่งอยู่ที่จุดเหล่านี้ แต่การทำให้สถานีอวกาศรักษาตำแหน่งอยู่ที่จุดลากรานจ์ในทางปฏิบัติยังเป็นข้อถกเถียงกันอยู่ ด้วยเหตุผลที่ว่า ถึงแม้ว่ามันจะไม่จำเป็นที่จะต้องปรับแต่งเส้นทาง มันก็อาจจะชนเข้ากับดาวเคราะห์น้อยที่มีอยู่ ณ ตำแหน่งนั้นโดยบ่อยครั้ง แต่ปัจจุบันนี้ก็มีดาวเทียมและเครื่องสังเกตการณ์อวกาศโคจรอยู่บนจุดลากรานจ์อื่นที่เสถียรน้อยกว่า
อ้างอิง
- Grünbaum, B.; Are your polyhedra the same as my polyhedra? Discrete and comput. geom: the Goodman-Pollack festschrift, ed. Aronov et al. Springer (2003) pp. 461-488. (pdf เก็บถาวร 2016-08-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
- http://mathworld.wolfram.com/EquilateralPolygon.html
- "Polygon Area and Centroid". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-16. สืบค้นเมื่อ 2009-02-01.
- A.M. Lopshits (1963). Computation of areas of oriented figures. D C Heath and Company: Boston, MA.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|translators=
ถูกละเว้น ((help)) - Meditation VI by Descartes (English translation).
- Stan Gibilisco. Geometry Demystified: A Self-teaching Guide. McGraw-Hill Professional, 2003.
บรรณานุกรม
- ; , (Methuen and Co., 1948).
- Cromwell, P.;Polyhedra, CUP hbk (1997), pbk. (1999).
- Grünbaum, B.; Are your polyhedra the same as my polyhedra? Discrete and comput. geom: the Goodman-Pollack festschrift, ed. Aronov et al. Springer (2003) pp. 461-488. (pdf เก็บถาวร 2016-08-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangerkhakhnit ruphlayehliym xngkvs polygon tamkhwamhmaydngedim hmaythungxyanghnungthiepnruppidhruxrupkhrbwngcrbnranab sungprakxbkhuncakladbkhxngswnkhxngesntrngthimicanwncakd swnkhxngesntrngehlanneriykwa khxb hrux dan aelacudthikhxbsxngkhangbrrcbkneriykwa cudyxd hrux ehliym corner phayinruphlayehliymbangkhrngkeriykwa enuxthi body ruphlayehliymepnwtthuinsxngmiti sungepntwxyanghnungkhxng polytope thixyuin n miti dansxngdanthibrrcbknepnehliym epnsingthicaepnsahrbkarekidmumthiimepnmumtrng 180 thaimechnnnaelw swnkhxngesntrngthngsxngcathukphicarnawaepndanediywknechkechnwngklm mihlayehliymimsinsudtamcanwnxngsa khwamkhidthangerkhakhnitphunthanidthukddaeplngipinhlakhlaythang ephuxthicathaihekhakbcudprasngkhechphaa twxyangechninsakhawichakhxmphiwetxrkrafiks khawa ruphlayehliym thuknaipichaelamikarepliynaeplngkhwamhmayipodyelknxy sungekiywkhxngkbwithikarbnthukaelacdkarruprangphayinkhxmphiwetxrmakkhun ruphlayehliym hlaychnidkarcdaebngpraephthaebngtamcanwndan odyhlkaelwruphlayehliymsamarthcdaebngidodycanwndanthimi duidcakkartngchuxruphlayehliymdanlang phawanunewa ruphlayehliymxacaebngidtamxngsakhxngphawanunewa ruphlayehliymnun convex esntrngthilakphanruphlayehliymchnidni odyimsmphskbkhxbhruxcudyxd catdphanesnrxbrupaekhsxngkhrng ruphlayehliymimnun non convex esntrngthilakphanruphlayehliymchnidni caphanesnrxbrupmakkwasxngkhrng simple esnrxbrupkhxngruphlayehliymchnidni caimedinthangtdknexng ruphlayehliymnunthukrupepnruphlayehliymechingediyw ruphlayehliymewa concave epnthngruphlayehliymimnunaelaepnruphlayehliymechingediyw star shaped enuxthithnghmdsamarthmxngehnidcakcudphayincudediyw rupnicatxngepnruphlayehliymechingediyw xacepnidthngruphlayehliymnunhruxewa ruphlayehliymtdtwexng self intersecting esnrxbrupkhxngruphlayehliymchnidni caedinthangtdknexng eriykrupniwa khxptik coptic thungaemwacaimkhxymikarichchuxniknxyangkwangkhwangnk aelabangkhrngkhawa echingsxn complex kthukichaethnkhwamhmaythitrngkhamkb echingediyw aetkxackxihekidkhwamsbsnkbaenwkhwamkhidkhxng thimixyuaelwinechingsxn sungprakxbdwycanwnechingsxnsxngmiti star epnruphlayehliymtdtwexngdwywithikartdxyangsmaesmxaebngtamkhwamsmmatr ruphlayehliymmumetha equiangular mumthnghmdmikhnadethakn cyclic cudyxdthnghmderiyngtwxyubnrupwngklmrupediyw hrux vertex transitive cudyxdthnghmderiyngtwxyuphayin rupniepnthngruphlayehliymwngklmlxmaelaruphlayehliymmumethadwy ruphlayehliymdanetha equilateral danthnghmdmikhnadethakn ruphlayehliymthimitngaethadankhunip samarthepnruphlayehliymdanethaid odyimtxngepnruphlayehliymnun hrux edge transitive danthnghmderiyngtwxyuphayin rupniepnruphlayehliymdanethadwy regular epnthngruphlayehliymwngklmlxmaelaruphlayehliymdanetha swnruphlayehliymprktithiimnun caeriykwa rupdawhlayaechkprkti regular star polygon xun rectilinear dansxngdanbrrcbknepnmumchak nnkhuxmumphayinthukmumcamikhnadepn 90 hruximk 270 ruphlayehliymthangediyw monotone kahndesntrng L khunmaesnhnung thukesntrngthitngchakkb L catdkbesnrxbrupkhxngruphlayehliymchnidniimekinsxngkhrngsmbtismmtiwaruphlayehliymthikalngcaklawthungtxipni epnrupinerkhakhnitaebbyukhlidodytlxd mum ruphlayehliymid imwacaprktihruxim tdtwexnghruxim camicanwnehliymethakbcanwncudyxd aetlaehliymkmimumxyuhlaymum aetmumthisakhythisudsxngchnididaek mumphayin phlbwkkhxngmumphayinkhxngrupechingediyw n ehliym carwmethakb n 2 p erediyn hrux n 2 180 xngsa thiepnechnniephraarupechingediyw n ehliymcathukphicarnawasrangkhuncakrupsamehliymcanwn n 2 rup sungaetlarupmiphlrwmkhxngmumphayin p erediyn hrux 180 xngsa khnadkhxngmumphayinaetlamumkhxngrup n ehliymprktithiepnrupnun camikhnadethakb n 2 p n erediyn hrux n 2 180 n xngsa mumphayinkhxngprktimikarsuksaepnkhrngaerkody Poinsot innganekhiyneruxngediywknkbthiekhaxthibay mumphaynxk lxngcintnakarwakalngedinxyurxbrupechingediyw n ehliymthiekhiynxyubnphun priman kareliyw thicudyxdkkhuxmumphaynxkthikwadip aelaemuxedinkhrbrxb khmaykhwamwaidedinhmunrxbtwkhrbhnungrxb dngnnphlrwmkhxngmumphaynxkcatxngepn 360 aetsahrbkaredinrxbrup n ehliymodythwip phlrwmkhxngmumphaynxksamarthepnphhukhuncanwnetm d khxng 360 echn 720 sahrb pentagram aela 0 sahrbrupwnkhlayelkhaepd sung d niepnkhwamhnaaennhruxkhwamepnaechkkhxngruphlayehliym duephimthi orbit mumphaynxkepnmumprakxbsxngmumchak supplementary angles khxngmumphayin singnikyngepncringthahakmumphayinmikhnadmakkwa 180 ephraamumphaynxkcamikhnadepnlb nnkhux smmtiihkareliywtamekhmnalikaepnbwk aelaxacmibangkhrngthicatxngeliywsayaethneliywkhwa sungcathaihmumkhxngkareliywepnprimantidlb phunthiaelaesnthrxyd kartngchuxcudyxdkhxngruphlayehliymsxngmiti phunthikhxngruphlayehliymkhuxemechxrinbriewnsxngmitithipidlxmodyesnkhxbkhxngruphlayehliym sahrbruphlayehliymechingediyw thiimtdtwexng thimicudyxd n cud phunthiaelaesnthrxydkhxngrupnisamarthhaidcak A 12 i 0n 1 xiyi 1 xi 1yi displaystyle A frac 1 2 sum i 0 n 1 x i y i 1 x i 1 y i Cx 16A i 0n 1 xi xi 1 xiyi 1 xi 1yi displaystyle C x frac 1 6A sum i 0 n 1 x i x i 1 x i y i 1 x i 1 y i Cy 16A i 0n 1 yi yi 1 xiyi 1 xi 1yi displaystyle C y frac 1 6A sum i 0 n 1 y i y i 1 x i y i 1 x i 1 y i ephuxthicathaihruphlayehliymepnruppid cudyxdaerkaelacudyxdsudthaycatxngepncudediywkn nnkhux xn yn x0 y0 displaystyle x n y n x 0 y 0 cudyxdcatxngeriyngladbkniptamekhmhruxthwnekhmnalika thahakeriyngtamekhmnalika phunthicaepncanwnlbaetkaekikhiddwykhasmburn sutrnimkcaeriykknwa Surveyor s Formula sutrdngklawidxthibayiwody Meister emux ph s 2312 aelaodyekas Guass emux ph s 2338 sungsamarthphisucnidodykaraebngruphlayehliymxxkepnrupsamehliymhlay rup hruxxaccamxngidwaepnkrniphiesskhxngthvsdibthkhxngkrin Green s theorem erasamarthkhanwnphunthi A khxngruphlayehliymechingediyw thaerathrabkhwamyawkhxngdan a1 a2 an displaystyle a 1 a 2 a n aelamumphaynxk 81 82 8n displaystyle theta 1 theta 2 theta n odyichsutrdngni sungxthibayiwody Lopshits emux ph s 2506 A 12 a1 a2sin 81 a3sin 81 82 an 1sin 81 82 8n 2 a2 a3sin 82 a4sin 82 83 an 1sin 82 8n 2 an 2 an 1sin 8n 2 displaystyle begin aligned A frac 1 2 a 1 a 2 sin theta 1 a 3 sin theta 1 theta 2 cdots a n 1 sin theta 1 theta 2 cdots theta n 2 a 2 a 3 sin theta 2 a 4 sin theta 2 theta 3 cdots a n 1 sin theta 2 cdots theta n 2 cdots a n 2 a n 1 sin theta n 2 end aligned thahakruphlayehliymthukwadkhunbnkridhruxchxngtarangthimirayaethakn sunginkrnidngklawcudyxdcaxyubncudtdkhxngkrid Pick s theorem idihsutrxyangngaysahrbkhanwnphunthikhxngruphlayehliym odykhidcakcanwncudtdkhxngkridthixyuphayinaelabnesnkhxbkhxngrup tharuphlayehliymechingediywsxngrupmiphunthiethaknaelw rupthihnungcasamarthtdaebngxxkepnruphlayehliymchinelk sungsamarthprakxbihmihepnrupthisxngid dngthiklawiwin Bolyai Gerwien theorem ruphlayehliymtdtwexng phunthikhxngsamarthniyamdwysxngaenwthangthiaetktangkn sungaetlaaenwthangkihphllphthtangkndwy emuxichwithikhxngruphlayehliymechingediyw eracaphbwamibriewnbangswnphayinruphlayehliymthixacmikarthbsxnmakkwahnungkhrng phunthikhxngbriewnnicaephimkhunepnethatwtamkarthbsxn canwnkarthbsxnnieriykwakhwamhnaaennkhxngbriewn twxyangechn briewntrngklangkhxngrupdawhaaechkepnruphaehliymaelamikhwamhnaaennethakb 2 hruxbriewnrupsamehliymsxngrupthiekidcakrupsiehliymikhw khlayelkh 8 camikhwamhnaaennepnekhruxnghmaytrngkhamkn sungxacthaihphunthikhxngrupsiehliymodyrwmthnghmdepnsunykid emuxphicarnabriewnthithukpidepnestkhxngcud erasamarthhaphunthikhxngbriewnehlaniid sungcasmnykbphunthibnranabthithuklxmrxbodyruphlayehliym hruxsmnykbphunthikhxngruphlayehliymechingediywthimikhxbekhtediywknkbruphlayehliymtdtwexng inkrniechnni rupsiehliymikhwkepnephiyngaekhrupsamehliymthrrmdasxngrupxngsaesri rup n ehliymmi degree of freedom ethakb 2n sungrwmthng 2 sahrbtaaehnng 1 sahrbaenwkarhmun aela 1 sahrbkhnadthukkhnad dngnnthwipcamixngsaesriethakb 2n 4 inkrnikhxng canwnhlngcaldlngehlux n 2 kahndih k 2 sahrbrup nk ehliymthimismmatraebbhmun k thb Ck displaystyle C k rupnicamixngsaesriethakb 2n 2 tharwmsmmatrkarsathxn Dk displaystyle D k ekhaipxik caethakb n 1karwangnythwipodykhwamrusukthwip ruphlayehliymhmaythungladbhruxwngcrthislbipmaodyimsinsudrahwangswnkhxngesntrng dan kbmum ehliym ehtuphlthiwaruphlayehliymimsinsudkephraaladbokhrngsrangnnwnrxbklbmahacudedimtlxdewla inkhnathirupxnntehliym apeirogon immikhxbekht ephraaladbokhrngsrangkhxngmnedinthangtxiperuxy odyimmicudplay karthakhwamekhaicinkhnitsastrsmyihm idxthibayladbokhrngsrangniwaepnruphlayehliymaebb namthrrm sungepnkhxngsmachik enuxthiphayinkhxngruphlayehliymkkhuxsmachikxnhnung wang null polytope kepnsmachikxnhnungechnediywkn dwyehtuphlthangethkhnikh ruphlayehliymthangerkhakhnitcungthaihekhaicwa epnkartharuphlayehliymnamthrrmihepn rupthrrm sungsingniekiywkhxngkbkarcbkhukhxngsmachikcaknamthrrmipyngerkhakhnit ruphlayehliymechnnicungimcaepnwacatxngwangxyubnranab hruxmidanthitrng hruxepnphunthithithuklxmrxb aelasmachikthitangknkxacsxnekyknhruxaemaetthbkncnsnith twxyangechn ruphlayehliymthithukwadkhunbnphunphiwkhxngthrngklm sungdankhxngmnepnkhxngesnwngklmihy dngnnemuxeraphudthungeruxngruphlayehliym eracatxngxthibayxyangramdrawngwaerakalngphudthungchnididxyu rupsxngehliym epnruphlayehliympidthimisxngdanaelasxngmum erasamarthkahndcudsxngcudthixyutrngkhamknbnthrngklm khlaykhwehnuxkbkhwit echuxmthungkndwykhrunghnungkhxngesnwngklmihy aelaephimxikesnhnungdwymumthitangknkcaidrupsxngehliym karetimetmphunphiwthrngklmdwyrupsxngehliymcathaihekidthrnghlayhnathieriykwa aetthahakedinthangrxbesnwngklmihycnkhrbrxb sungcaehluxcudyxdephiyngcudediywaelamidanediyw klayepnruphnungehliym thungaemwaphuaetngtarahlaythancaimthuxwakrniechnniepnruphlayehliymthismburn karwangnyaebbxunkhxngruphlayehliymehlanisamarthekidkhunidbnphunphiwxun aetinranabaebbyukhlidthirabaebn enuxthikhxngruphlayehliymimsamarthekidkhunepnrupthrrmidodysamysanuk eracungeriykkrniechnniwaepnphawaldrup degenerate enuxngcakaenwkhwamkhidthiichinkarwangnythwipkhxngruphlayehliymmihlakhlaythang twxyangtxipnicaepnkrnildrup hruxkrniphiess bangswnkhxngruphlayehliym rupsxngehliym mimumphayin 0 bnranabaebbyukhlid swnbnphunphiwthrngklmkdngthiklawiwaelwdanbn mumphayin 180 bnranabaebbyukhlidkhuxrupxnntehliym swnbnphunphiwthrngklmkhux skew khuxruphlayehliymthiimwangtwxyuinranabaebn aetsikaeskinpriphumisammitihruxsungkwa Petrie polygon khxngthrnghlayhnaprktikepntwxyangdngedimxyanghnung spherical khuxruphlayehliymthimidanaelamumxyubnphunphiwthrngklm rupxnntehliym ladbkhxngdanaelamumepnxnnt sungimepnruppid aetkimmicudplayephraawamnkhyaytwipthungxnnt complex epnruprangthikhlaykbruphlayehliymthrrmda aetwangtwxyubnechingsxnkartngchuxruphlayehliympktiaelwinphasaithy ruphlayehliymcamikidankimum keriykchuxiptamnnodytrngechn rupthimihadanhamum keriykruphaehliym aetinphasaxngkvssungepnphasasaklcamihlkkartngchuxthitangxxkip khawa polygon inphasaxngkvsmithimaphasakrik aelwthaythxdipyngphasalatindngni polygwnon polygōnon polugōnon polygōnum polygon sungaeplwa hlaymum dngnnkartngchuxcaichkarprasmkhaxupsrrkhechingtwelkhinphasakrikepnhlk aelwtamdwy gon echn pentagon hmaythungruphaehliym aetsahrbcanwnkhnadihy nkkhnitsastrkmkekhiynepntwelkhaethnechn 257 gon aelainrupkhxngphcnthwipkekhiynepn n gon sungmipraoychninkarxangthungtwaepr n thixyuinsutr ruphlayehliymphiessbangrupmichuxkhxngmnexng twxyangechn ruphaehliymdawprkti regular star pentagon mnkkhux pentagram epntn chuxruphlayehliym chux dan hmayehtuhenagon hrux monogon 1 inranabaebbyukhlid ldrupehluxesnokhngpidthimi 1 cudyxddigon 2 inranabaebbyukhlid ldrupehluxesnokhngpidthimi 2 cudyxdtriangle hrux trigon 3 ruphlayehliymaerkthimienuxthiinranabaebbyukhlidquadrilateral hrux quadrangle hrux tetragon 4 ruphlayehliymaerkthisamarthtdtwexngidpentagon 5 ruphlayehliymaerkthisamarththaepnrupdawidhexagon 6heptagon 7 hlikeliyng septagon ephraa sept epnphasalatinoctagon 8enneagon hrux nonagon 9decagon 10hendecagon 11 hlikeliyng undecagon ephraa un epnphasalatindodecagon 12 hlikeliyng duodecagon ephraa duo epnphasalatintridecagon hrux triskaidecagon 13tetradecagon hrux tetrakaidecagon 14pentadecagon hrux quindecagon hrux pentakaidecagon 15 hrux hexakaidecagon 16heptadecagon hrux heptakaidecagon 17octadecagon hrux octakaidecagon 18enneadecagon hrux enneakaidecagon hrux nonadecagon 19icosagon 20immichuxinphasaxngkvs 100 mumphayinkhxngrupprktiethakb 176 4 hectogon epnchuxinphasakrik inkhnathi centagon epnkhaprasmrahwanglatinkbkrik sungkimmichuxihnthiniymichchiliagon 1 000 mumphayinkhxngrupprktiethakb 179 64 Rene Descartes used the chiliagon and myriagon see below as examples in his to demonstrate a distinction which he made between pure intellection and imagination He cannot imagine all thousand sides of the chiliagon as he can for a triangle However he clearly understands what a chiliagon is just as he understands what a triangle is and he is able to distinguish it from a myriagon Thus he claims the intellect is not dependent on imagination myriagon 10 000 mumphayinkhxngrupprktiethakb 179 964 duhmayehtukhangbnmegagon 1 000 000 mumphayinkhxngrupprktiethakb 179 99964 sahrbkartngchuxruphlayehliymthimidanxyurahwang 20 100 dan caichkarprasmkhxngkhaxupsrrkhdngni hlksib aela hlkhnwy khapccy kai 1 hena gon20 icosi 2 di 30 triaconta 3 tri 40 tetraconta 4 tetra 50 pentaconta 5 penta 60 hexaconta 6 hexa 70 heptaconta 7 hepta 80 octaconta 8 octa 90 enneaconta 9 ennea xyangirktam khawa kai kimidmikarichthukkhrng dngechnintarangkhangbn twxyangechn rup 42 ehliym eriykwa tetracontakaidigon hrux tetracontadigon inkhnathirup 50 ehliym eriykwa pentacontagonprawtiruphlayehliymepnthiruckmatngaetsmyobran chawkrikobranruckruphlayehliymprktisungxthibayiwodynkkhnitsastrhlaythan rupdawhaaechk sungepnruphlayehliymprktiimnun rupdawhlayaechk praktepnkhrngaerkbnaecknkhxng Aristophonus inemuxng Caere sungrabuwasrangkhuninstwrrsthi 7 kxnkhristkal sahrbruphlayehliymimnun yngimmikarsuksaxyangepnrabbcnkrathngkhriststwrrsthi 14 ody Thomas Bredwardine inpi kh s 1952 Shephard idkhyayaenwkhwamkhidkhxngruphlayehliymipbnranabcanwnechingsxn thisungmitiswncringaetlaswnprakxbkbmitiswncintphaph ephuxsrangruphlayehliymechingsxn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidruphlayehliyminthrrmchatiGiant s Causeway inixraelnd ruphlayehliymcanwnmaksamarthphbidinthrrmchati inolkkhxngthrniwithya phlukkhxngaerthatutang camiphiwhnahruxhnatdthiepnruphlayehliym okhrngsrangphlukaebb quasicrystal ksamarthmihnaepnruphaehliymprktiid hruxxiktwxyanghnungkhux emuxhinhlxmehlweyntwlnginphunthithithukcakdxyangaennhna caklayepnhinbasxltaethnghkehliym dngechnthi Giant s Causeway inixraelnd hruxthi thirthaekhlifxreniy ruphlayehliymkphbidinxanackrstw echnaetlachxngepnruphkehliym ichsahrbkarekbnaphungaela aelaepnsthanthiecriyetibotkhxngtwxxn nxkcaknikyngmistwthimilksnaiklekhiyngkbruphlayehliymprkti hruxxyangnxykmikhwamsmmatrehmuxn kn stwiniflmexikhondxrmatha echndawthaelcamilksnaepnruphaehliymhruxrupdawhaaechk hruxphbidyakkwakhuxrupecdehliym swnphwkemnthaelbangkhrngkpraktkhwamsmmatrihehn thungaemwastwiniflmexikhondxrmathaimidmiphvtikrrmthiehmuxnphwkaemngkaphrun maefuxng phliminexechiytawnxxkechiyngit khwamsmmatrtamrsmi hruxkhwamsmmatraebbxun ksamarthsngektidcakxanackrphuch odyechphaadxkim aelaphlim rupaebbthwipmkcasmmatraebbhaehliym sungehnidchdcakmaefuxng phlimthimirsepriywnxyinexechiytawnxxkechiyngit emuxphatamkhwangcaidrupdawhaaechk chawkhnitsastrsmykxnthithakarkhanwnodyichkdaerngonmthwngkhxngniwtn idkhnphbwathahakethhwtthusxngchnid echndwngxathitykbolk okhcrrxbknaelw camicudcudhnungthiaennxninxwkas thisungethhwtthukhnadelk xyangechndawekhraahnxyhruxsthanixwkas samarthkhngxyuinaenwokhcrthiesthiyr cudnieriykwa Lagrangian points rahwangdwngxathitykbolknnmicudlakranccanwn 5 cud sungmi 2 cudinaenwokhcrkhxngolkthithamum 60 xngsakbdwngxathityaelaolkphxdi nnkhuxemuxechuxmcudsunyklangkhxngdwngxathity olk aelacudhnunginsxngcudnn caidepnrupsamehliymdanetha nkdarasastridkhnphbaelwwamidawekhraahnxycanwnhnungxyuthicudehlani aetkarthaihsthanixwkasrksataaehnngxyuthicudlakrancinthangptibtiyngepnkhxthkethiyngknxyu dwyehtuphlthiwa thungaemwamncaimcaepnthicatxngprbaetngesnthang mnkxaccachnekhakbdawekhraahnxythimixyu n taaehnngnnodybxykhrng aetpccubnnikmidawethiymaelaekhruxngsngektkarnxwkasokhcrxyubncudlakrancxunthiesthiyrnxykwaxangxingGrunbaum B Are your polyhedra the same as my polyhedra Discrete and comput geom the Goodman Pollack festschrift ed Aronov et al Springer 2003 pp 461 488 pdf ekbthawr 2016 08 03 thi ewyaebkaemchchin http mathworld wolfram com EquilateralPolygon html Polygon Area and Centroid khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 10 16 subkhnemux 2009 02 01 A M Lopshits 1963 Computation of areas of oriented figures D C Heath and Company Boston MA a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr translators thuklaewn help Meditation VI by Descartes English translation Stan Gibilisco Geometry Demystified A Self teaching Guide McGraw Hill Professional 2003 ISBN 978 0 07 141650 4brrnanukrm Methuen and Co 1948 Cromwell P Polyhedra CUP hbk 1997 pbk 1999 Grunbaum B Are your polyhedra the same as my polyhedra Discrete and comput geom the Goodman Pollack festschrift ed Aronov et al Springer 2003 pp 461 488 pdf ekbthawr 2016 08 03 thi ewyaebkaemchchin