บทความนี้ไม่มีจาก |
ผลึก (อังกฤษ: crystal) เป็นของแข็งที่มีองค์ประกอบเป็นอะตอม โมเลกุล หรือ ไอออน ซึ่งอยู่รวมกันอย่างมีระเบียบ เป็นรูปแบบที่ซ้ำกันและแผ่ขยายออกไปในเนื้อที่สามมิติ โดยทั่วไปสสารที่เป็น ของเหลว จะเกิดผลึกได้เมื่ออยู่ภายใต้กระบวนการโซลิดิฟิเคชัน (solidification) ภายใต้สภาวะที่สมบูรณ์ผลที่ได้จะเป็น (single crystal) ที่ซึ่งทุกอะตอมในของแข็งมีความพอดีที่จะอยู่ใน เดียวกัน หรือ โครงสร้างผลึกเดียวกัน แต่โดยทั่วไปจะเกิดหลายรูปแบบของผลึกในระหว่างโซลิดิฟิเคชัน ทำให้เกิดของแข็งที่เรียกว่า พอลิคริสตัลลีน (polycrystalline solid) ตัวอย่าง เช่น โลหะ ส่วนใหญ่ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันจะเป็น พอลิคริสตัล (polycrystals) ผลึกที่โตคู่กันอย่างสมมาตร จะเกิดเป็นผลึกที่เรียกว่า (crystal twins) โครงสร้างผลึกจะขึ้นอยู่กับสารเคมี สภาวะแวดล้อมขณะเกิดการแข็งตัวและความกดดันขณะนั้น กระบวนการเกิดโครงสร้างผลึกเราเรียกว่า (crystallization)
ความสำคัญของผลึก ผลึก สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติ พบมากในการก่อตัวของหิน เช่น อัญมณีต่างๆ หรือแม้แต่รอบตัวเรา ในรูปของน้ำตาล น้ำแข็ง และเกลือเม็ด เป็นต้น ความงดงามของผลึกเหล่านี้เป็นที่สนใจมาแต่ตั้งแต่ โบราณ ทั้งด้านความสมมาตรของรูปทรงและสีสรรที่หลากหลาย นักผลึกศาสตร์ในอดีต ใช้เรขาคณิตในการศึกษารูปทรงของผลึกที่พบได้ตามธรรมชาติ 5 มีคุณสมบัติเป็นคลื่นแสงพลังงานสูง มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เมื่อรังสีเอกซ์พุ่งกระทบกับวัตถุ อะตอมในวัตถุจะสามารถทำให้รังสีเอกซ์เกิดการกระเจิงได้ นักผลึกศาสตร์พบว่าการเรียงตัวของอะตอมอย่างเป็นระเบียบในผลึก ทำให้รังสีเอกซ์กระเจิงไปในทิศทางที่จำเพาะเท่านั้น จากข้อมูลความเข้มและทิศทางของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงนี้ นักวิทยาศาสตร์สามารถสร้างภาพสามมิติของโครงสร้างของสารในผลึกได้ ผลึกจึงเป็นตัวอย่างที่เหมาะสมสำาหรับการศึกษาโครงสร้างของสารที่ให้ความละเอียดในระดับอะตอม ด้วยคุณสมบัติทั่วไปสามประการได้แก่ คุณสมบัติที่เป็นของแข็ง มีสามมิติ และมีการเรียงตัวของอะตอมอย่างเป็นระเบียบมาก และความสมมาตรสูง นักวิทยาศาสตร์สามารถศึกษาพันธะเคมี ที่ดึงดูดอะตอมเข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่น กราไฟท์หรือถ่านที่ทึบแสงและนิ่ม กับเพชรที่โปร่งแสงและแข็งมาก สารทั้งสองนี้มีส่วนประกอบทางเคมีที่เหมือนกัน คือธาตุคาร์บอนเท่านั้น การที่เพชรสามารถกระเจิงแสงได้ เกิดจากพันธะทางเคมีที่เรียงตัวเป็นระเบียบ ทำาให้เพชรแวววาว เรารู้โครงสร้างและพันธะเคมีของเพชร ได้จากศึกษาโครงสร้างผลึกด้วยรังสีเอก
ผลึกที่ฉีกกฎธรรมชาติ ในปี ค.ศ.1984 ค้นพบผลึกชนิดพิเศษที่มีรูปแบบการเรียงตัวของอะตอมอย่างไม่ต่อเนื่อง รูปแบบนี้ฉีกกฎที่เคยเชื่อกันว่า ผลึกต้องประกอบขึ้นด้วยรูปแบบสมมาตรชนิด 1, 2, 3, 4 และ 6 ด้านเท่านั้น จึงจะเกิดเป็นรูปทรงสามมิติได้ การค้นพบที่เปลี่ยนแปลงความเชื่อครั้งใหญนี้ เกิดจากการศึกษาโลหะผสมระหว่างอะลูมิเนียมและแมงกานีสด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน สังเกตเห็นการจัดเรียงตัวแบบห้าเหลี่ยม ในผลึก และต่อมาผลึกในลักษณะนี้ เป็นที่รู้จักว่าเป็น “ผลึกเสมือน” การค้นพบนี้ทำให้ ได้รับ สาขาเคมี ในปี ค.ศ. 2011การเรียงตัวของอะตอมอย่างจำาเพาะในผลึกเสมือนเหล่านี้ มีผลต่อคุณสมบัติของวัตถุ ที่มักมีความแข็งแต่เปราะ คล้ายกระจก ทนทานต่อการ ผุกร่อน มีการนำผลึกเสมือนเหล่านี้ไปใช้ในอุปกรณ์หลายชนิดเช่น กระทะที่ป้องกันการติดของอาหาร อันที่จริงแล้ว รูปแบบที่พบในผลึกเสมือนนี้ เป็นที่รู้จักกันมานานแล้ว ดังที่เห็นได้จากผลงานอายุหลายร้อยปีของศิลปินชาวโมร็อกโก
อ้างอิง
http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci2/metal/metal1.htm 2013-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci3/snow/index.html 2015-09-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phluk xngkvs crystal epnkhxngaekhngthimixngkhprakxbepnxatxm omelkul hrux ixxxn sungxyurwmknxyangmiraebiyb epnrupaebbthisaknaelaaephkhyayxxkipinenuxthisammiti odythwipssarthiepn khxngehlw caekidphlukidemuxxyuphayitkrabwnkaroslidifiekhchn solidification phayitsphawathismburnphlthiidcaepn single crystal thisungthukxatxminkhxngaekhngmikhwamphxdithicaxyuin ediywkn hrux okhrngsrangphlukediywkn aetodythwipcaekidhlayrupaebbkhxngphlukinrahwangoslidifiekhchn thaihekidkhxngaekhngthieriykwa phxlikhristllin polycrystalline solid twxyang echn olha swnihythiphbehninchiwitpracawncaepn phxlikhristl polycrystals phlukthiotkhuknxyangsmmatr caekidepnphlukthieriykwa crystal twins okhrngsrangphlukcakhunxyukbsarekhmi sphawaaewdlxmkhnaekidkaraekhngtwaelakhwamkddnkhnann krabwnkarekidokhrngsrangphlukeraeriykwa crystallization Quartz crystalBismuth CrystalInsulincrystals khwamsakhykhxngphluk phluk samarthphbidthwipinthrrmchati phbmakinkarkxtwkhxnghin echn xymnitang hruxaemaetrxbtwera inrupkhxngnatal naaekhng aelaekluxemd epntn khwamngdngamkhxngphlukehlaniepnthisnicmaaettngaet obran thngdankhwamsmmatrkhxngrupthrngaelasisrrthihlakhlay nkphluksastrinxdit icherkhakhnitinkarsuksarupthrngkhxngphlukthiphbidtamthrrmchati 5 mikhunsmbtiepnkhlunaesngphlngngansung mxngimehndwytaepla emuxrngsiexksphungkrathbkbwtthu xatxminwtthucasamarththaihrngsiexksekidkarkraecingid nkphluksastrphbwakareriyngtwkhxngxatxmxyangepnraebiybinphluk thaihrngsiexkskraecingipinthisthangthicaephaaethann cakkhxmulkhwamekhmaelathisthangkhxngrngsiexksthikraecingni nkwithyasastrsamarthsrangphaphsammitikhxngokhrngsrangkhxngsarinphlukid phlukcungepntwxyangthiehmaasmsaahrbkarsuksaokhrngsrangkhxngsarthiihkhwamlaexiydinradbxatxm dwykhunsmbtithwipsamprakaridaek khunsmbtithiepnkhxngaekhng misammiti aelamikareriyngtwkhxngxatxmxyangepnraebiybmak aelakhwamsmmatrsung nkwithyasastrsamarthsuksaphnthaekhmi thidungdudxatxmekhadwykn twxyangechn kraifthhruxthanthithubaesngaelanim kbephchrthioprngaesngaelaaekhngmak sarthngsxngnimiswnprakxbthangekhmithiehmuxnkn khuxthatukharbxnethann karthiephchrsamarthkraecingaesngid ekidcakphnthathangekhmithieriyngtwepnraebiyb thaaihephchraewwwaw eraruokhrngsrangaelaphnthaekhmikhxngephchr idcaksuksaokhrngsrangphlukdwyrngsiexk phlukthichikkdthrrmchati inpi kh s 1984 khnphbphlukchnidphiessthimirupaebbkareriyngtwkhxngxatxmxyangimtxenuxng rupaebbnichikkdthiekhyechuxknwa phluktxngprakxbkhundwyrupaebbsmmatrchnid 1 2 3 4 aela 6 danethann cungcaekidepnrupthrngsammitiid karkhnphbthiepliynaeplngkhwamechuxkhrngihyni ekidcakkarsuksaolhaphsmrahwangxalumieniymaelaaemngkanisdwyklxngculthrrsnxielktrxn sngektehnkarcderiyngtwaebbhaehliym inphluk aelatxmaphlukinlksnani epnthiruckwaepn phlukesmuxn karkhnphbnithaih idrb sakhaekhmi inpi kh s 2011kareriyngtwkhxngxatxmxyangcaaephaainphlukesmuxnehlani miphltxkhunsmbtikhxngwtthu thimkmikhwamaekhngaetepraa khlaykrack thnthantxkar phukrxn mikarnaphlukesmuxnehlaniipichinxupkrnhlaychnidechn krathathipxngknkartidkhxngxahar xnthicringaelw rupaebbthiphbinphlukesmuxnni epnthiruckknmananaelw dngthiehnidcakphlnganxayuhlayrxypikhxngsilpinchawomrxkokxangxinghttp www rmutphysics com charud naturemystery sci2 metal metal1 htm 2013 06 21 thi ewyaebkaemchchin http www rmutphysics com charud naturemystery sci3 snow index html 2015 09 06 thi ewyaebkaemchchinduephimkhwxsikhristlbthkhwamwsdusastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk