รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า คือรูปสามเหลี่ยมชนิดหนึ่งที่ด้านทั้งสามมีความยาวเท่ากัน ในเรขาคณิตแบบยุคลิด รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมมุมเท่า (equiangular polygon) กล่าวคือ มุมภายในแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมีขนาดเท่ากันคือ 60° ด้วยคุณสมบัติทั้งสอง รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจึงจัดเป็น (regular polygon) และเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่าเป็น รูปสามเหลี่ยมปรกติ
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า | |
---|---|
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเป็น | |
ชนิด | รูปสามเหลี่ยม, 2-ซิมเพล็กซ์ |
และจุดยอด | 3 |
สัญลักษณ์ชเลฟลี | {3} |
พื้นที่ | |
มุมภายใน (องศา) | 60° |
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่ยาวด้านละ หน่วย จะมี (altitude) เท่ากับ หน่วย และมีพื้นที่เท่ากับ ตารางหน่วย
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสมมาตรมากที่สุด คือมีสามเส้น และที่อันดับสามรอบศูนย์กลาง ของรูปสามเหลี่ยมนี้จัดว่าเป็น (dihedral group of order 6) หรือ D3
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถพบได้ในโครงสร้างทางเรขาคณิตอื่นๆ หลายอย่าง เช่น รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากันสองวงตัดกัน โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่บนเส้นรอบวงของอีกวงหนึ่ง ทำให้เกิดขนาดเท่ากัน และสามารถแสดงได้ด้วยรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างทรงหลายหน้า ทรงตันเพลโตสามในห้าชิ้นประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า หนึ่งในนั้นคือทรงสี่หน้าปรกติ ซึ่งประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งสี่หน้า นอกจากนั้นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถนำมาเรียงติดต่อกันบนระนาบ จนเกิดเป็น (triangular tiling)
การหารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่เกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมใดๆ สามารถหาได้จาก (Morley's trisector theorem)
การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถสร้างขึ้นได้ง่ายด้วยสันตรงและวงเวียน เริ่มต้นจากวาดวงกลมรัศมี r หน่วยด้วยวงเวียน จากนั้นวาดวงกลมอีกวงหนึ่งด้วยรัศมีเท่ากัน โดยให้ของวงใหม่อยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมแรก วงกลมทั้งสองจะตัดกันสองจุด ลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดศูนย์กลางทั้งสอง และลากจากจุดศูนย์กลางทั้งสองไปยังจุดตัดจุดหนึ่งบนเส้นรอบวง ส่วนของเส้นตรงทั้งสามเส้นจะประกอบกันเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ r หน่วย
รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนคล้ายด้านเท่า
รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนหมายถึงรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของด้านและพื้นที่เป็นจำนวนตรรกยะ เนื่องจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่มีความยาวของด้านเป็นจำนวนตรรกยะ จะให้พื้นที่เป็นจำนวนอตรรกยะ ดังนั้นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจึงไม่มีทางเป็นฮีโรเนียน อย่างไรก็ตาม มีลำดับของรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนชุดหนึ่งและเป็นชุดเดียวที่ "คล้ายด้านเท่า" เพราะว่าด้านทั้งสามที่มีความยาวเท่ากับ n − 1, n, n + 1 และเป็นจำนวนเต็ม จากตัวอย่างต่อไปนี้เป็นรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนคล้ายด้านเท่า
ความยาวของด้าน | พื้นที่ | ||
---|---|---|---|
n − 1 | n | n + 1 | |
3 | 4 | 5 | 6 |
13 | 14 | 15 | 84 |
51 | 52 | 53 | 1170 |
193 | 194 | 195 | 16296 |
ลำดับจำนวนของ n สามารถหาได้จากการคูณจำนวนก่อนหน้าด้วย 4 และลบด้วยสองจำนวนก่อนหน้า นั่นคือ
ตัวอย่างเช่น 52 = 4 × 14 − 4 และ 194 = 4 × 52 − 14 เป็นต้น ลำดับจำนวนนี้สามารถสร้างขึ้นจากผลเฉลยของ ซึ่งถูกถ่ายทอดมาจากการขยายเศษส่วนต่อเนื่องของ √3
อ้างอิง
- Takeaki Murasaki (2004) , On the Heronian Triple (n+1, n, n−1) 2009-06-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Sci. Rep. Fac. Educ., Gunma Univ. 52, 9-15.
ดูเพิ่ม
- ตรีโกณมิติ
- (Viviani's theorem)
แหล่งข้อมูลอื่น
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Geometric Construction" จากแมทเวิลด์.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rupsamehliymdanetha khuxrupsamehliymchnidhnungthidanthngsammikhwamyawethakn inerkhakhnitaebbyukhlid rupsamehliymdanethacdepnruphlayehliymmumetha equiangular polygon klawkhux mumphayinaetlamumkhxngrupsamehliymmikhnadethaknkhux 60 dwykhunsmbtithngsxng rupsamehliymdanethacungcdepn regular polygon aelaeriykxikchuxhnungidwaepn rupsamehliymprktirupsamehliymdanetharupsamehliymdanethaepnchnidrupsamehliym 2 simephlksaelacudyxd3sylksnchelfli 3 phunthi34a2 displaystyle tfrac sqrt 3 4 a 2 mumphayin xngsa 60 rupsamehliymdanethathiyawdanla a displaystyle a hnwy cami altitude ethakb 32a displaystyle frac sqrt 3 2 a hnwy aelamiphunthiethakb 34a2 displaystyle frac sqrt 3 4 a 2 taranghnwy rupsamehliymdanethaepnrupsamehliymthimikhwamsmmatrmakthisud khuxmisamesn aelathixndbsamrxbsunyklang khxngrupsamehliymnicdwaepn dihedral group of order 6 hrux D3 thrngsihnaprkti srangkhuncakrupsamehliymdanethasirup rupsamehliymdanethasamarthphbidinokhrngsrangthangerkhakhnitxun hlayxyang echn rupwngklmthimirsmiethaknsxngwngtdkn odymicudsunyklangxyubnesnrxbwngkhxngxikwnghnung thaihekidkhnadethakn aelasamarthaesdngiddwyrupsamehliymdanetha rupsamehliymniyngepnswnhnungkhxngkarsrangthrnghlayhna thrngtnephlotsaminhachinprakxbkhuncakrupsamehliymdanetha hnunginnnkhuxthrngsihnaprkti sungprakxbdwyhnarupsamehliymdanethathngsihna nxkcaknnrupsamehliymdanethasamarthnamaeriyngtidtxknbnranab cnekidepn triangular tiling karharupsamehliymdanethathiekiywkhxngkbrupsamehliymid samarthhaidcak Morley s trisector theorem karsrangrupsamehliymdanethakarsrangrupsamehliymdanetha rupsamehliymdanethasamarthsrangkhunidngaydwysntrngaelawngewiyn erimtncakwadwngklmrsmi r hnwydwywngewiyn caknnwadwngklmxikwnghnungdwyrsmiethakn odyihkhxngwngihmxyubnesnrxbwngkhxngwngklmaerk wngklmthngsxngcatdknsxngcud lakswnkhxngesntrngechuxmcudsunyklangthngsxng aelalakcakcudsunyklangthngsxngipyngcudtdcudhnungbnesnrxbwng swnkhxngesntrngthngsamesncaprakxbknepnrupsamehliymdanethayawdanla r hnwyrupsamehliymhioreniynkhlaydanetharupsamehliymhioreniynhmaythungrupsamehliymthimikhwamyawkhxngdanaelaphunthiepncanwntrrkya enuxngcakrupsamehliymdanethathimikhwamyawkhxngdanepncanwntrrkya caihphunthiepncanwnxtrrkya dngnnrupsamehliymdanethacungimmithangepnhioreniyn xyangirktam miladbkhxngrupsamehliymhioreniynchudhnungaelaepnchudediywthi khlaydanetha ephraawadanthngsamthimikhwamyawethakb n 1 n n 1 aelaepncanwnetm caktwxyangtxipniepnrupsamehliymhioreniynkhlaydanetha khwamyawkhxngdan phunthin 1 n n 13 4 5 613 14 15 8451 52 53 1170193 194 195 16296 ladbcanwnkhxng n samarthhaidcakkarkhuncanwnkxnhnadwy 4 aelalbdwysxngcanwnkxnhna nnkhux qn 4qn 1 qn 2 displaystyle q n 4q n 1 q n 2 dd twxyangechn 52 4 14 4 aela 194 4 52 14 epntn ladbcanwnnisamarthsrangkhuncakphlechlykhxng x2 3y2 1 displaystyle x 2 3y 2 1 sungthukthaythxdmacakkarkhyayessswntxenuxngkhxng 3xangxingTakeaki Murasaki 2004 On the Heronian Triple n 1 n n 1 2009 06 08 thi ewyaebkaemchchin Sci Rep Fac Educ Gunma Univ 52 9 15 duephimtrioknmiti Viviani s theorem aehlngkhxmulxunexrik dbebilyu iwssitn Geometric Construction cakaemthewild