ตามทฤษฎีของ รูปอนันต์เหลี่ยม (Apeirogon) คือที่มีจำนวนด้านเป็นอนันต์
รูปอนันต์เหลี่ยมปกติ | |
---|---|
และจุดยอด | ∞ |
สัญลักษณ์ชเลฟลี | {∞} |
รูปหลายเหลี่ยมคู่กัน | รูปหลายเหลี่ยมปกติ |
คุณสมบัติเหมือนกับรูปหลายเหลี่ยมอื่นๆ ที่ประกอบไปด้วยลำดับการต่อกันของเส้นที่ลากเชื่อมจุด และมุม แต่ต่างกันตรงที่ รูปหลายเหลี่ยมแบบดั้งเดิมไม่มีจุดสิ้นสุด เพราะนำมาต่อกันเป็นวงจรปิด ส่วนรูปอนันต์เหลี่ยมไม่มีจุดสิ้นสุด เพราะคุณไม่สามารถเอาจุดอนันต์ของปลายทั้งสองด้านของรูปเหลี่ยมอนันต์มาเชื่อมต่อกันได้ รูปเหลี่ยมอนันต์ปิดสามารถเกิดขึ้นได้เมื่อมุมของอนุกรมใดอนุกรมหนึ่งมาบรรจบเข้ามากันที่จุดเดียวกัน (มุมหนึ่งจากแต่ละด้าน เริ่มจากจุดไหนก็ได้) จุดบรรจบดังกล่าวเรียกว่าจุดสะสม และรูปอนันต์เหลี่ยมปิดใดๆ จะมีอย่างน้อยหนึ่งจุดสะสม []
สองรูปอนันต์เหลี่ยมสามารถอยู่บนระนาบเทสเซลเลชันได้ และสัญลักษณ์ชเลฟลีของระนาบเทสเซลเลชันนี้คือ
รูปอนันต์เหลี่ยมปกติ
รูปอนันต์เหลี่ยมปกติ คือรูปเหลี่ยมที่มีด้านเท่ากัน และมุมเท่ากัน เหมือนกับ โดยมีสัญลักษณ์ชเลฟลีเป็น {∞} ถ้ามุมของรูปอนันต์เหลี่ยมมีมุม 180° แล้วจะมันมีรูปลักษณะเหมือน ดังรูป
......
จากเส้นตรงนี้อาจจะมองว่าเป็นรัศมีอนันต์ก็ได้ โดยเปรียบว่าเป็นรูปหลายเหลี่ยมปกติที่มีด้านเป็นจำนวนมหาศาลมาต่อกันจนเป็นวงกลม
รูปแบบความเบ้
เมื่อวาดรูปเหลี่ยมอนันต์ปกติแบบหนึ่งที่มีลักษณะเป็นเกลียวของสามเหลี่ยมด้านเท่า (อังกฤษ: equilateral triangular helix) ด้วยมุมมอง 3 มิติ
บางครั้งคนก็คิดว่ารูปเหลี่ยมอนันต์ก็เป็นตัวอย่างความปกติแบบหนึ่ง จนเมื่อ ค้นพบเพิ่มอีกสองสิ่ง คือถ้ามุมของแต่ละจุดสลับด้านกันไป รูปเหลี่ยนอนันต์จะมีหน้าตาเป็น และเป็นรูปสมมาตร เท่ากับ 2*∞ อย่างไรก็ตามรูปแบบนี้จะเป็นปกติก็ต่อเมื่อด้านหนึ่งไม่ไปทับอีกด้านหนึ่ง และมองว่ามันไม่มีรูปร่าง
......
ถ้าแต่ละมุมถูกแยกออกจากแนวระนาบของมุมก่อนหน้านี้ รูปเหลี่ยมอนันต์จะประกอบออกมาเป็นรูปสามเหลี่ยม รูปหลายเหลี่ยมที่ไม่ได้อยู่บนระนาบเดียวกันแบบนี้ เรียกว่าความ รูปวาดด้านขวาเป็นรูปในมุมสามมิติของรูปเหลี่ยมอนันต์เบ้ปกติอย่างหนึ่ง
รูปหลายเหลี่ยมนี้สร้างขึ้นจากอนุกรมของเซตย่อยของด้านที่ต่อมีการต่อซ้อนอย่างเป็นแอนติปริซึมของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าอย่างไม่สิ้นสุดอย่าง่ แม้จะไม่เหมือนแอนติปริซึมซะทีเดียวก็ตาม มุมที่ถูกบิดไม่ได้จำกัดว่าจะต้องเป็นจำนวนเต็มหารของ 180° รูปหลายเหลี่ยมรูปนี้มี ลำดับอนุกรมของด้านของ สามารถแสดงเป็นรูปเหลี่ยมอนันต์เบ้ปกติได้
เรขาคณิตเชิงไฮเพอร์โบลา
ตาม รูปเหลี่ยมอนันต์ ไม่สามารถลดรูปได้และมีรูปร่างเป็นแผ่น เช่น ที่มีจุดยอดตาม
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- (1973). (3rd ed.). New York: Dover Publications. pp. 121–122. ISBN . p. 296, Table II: Regular honeycombs
- Grünbaum, B. Regular polyhedra - old and new, Aequationes Math. 16 (1977) p. 1-20
- Peter McMullen, Egon Schulte, Abstract Regular Polytopes, Cambridge University Press, 2002. (Page 25)
แหล่งข้อมูลอื่น
- Russell, Robert, "Apeirogon" จากแมทเวิลด์.
- , Apeirogon at Glossary for Hyperspace.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
tamthvsdikhxng rupxnntehliym Apeirogon khuxthimicanwndanepnxnntrupxnntehliympktiaelacudyxd sylksnchelfli ruphlayehliymkhuknruphlayehliympkti khunsmbtiehmuxnkbruphlayehliymxun thiprakxbipdwyladbkartxknkhxngesnthilakechuxmcud aelamum aettangkntrngthi ruphlayehliymaebbdngedimimmicudsinsud ephraanamatxknepnwngcrpid swnrupxnntehliymimmicudsinsud ephraakhunimsamarthexacudxnntkhxngplaythngsxngdankhxngrupehliymxnntmaechuxmtxknid rupehliymxnntpidsamarthekidkhunidemuxmumkhxngxnukrmidxnukrmhnungmabrrcbekhamaknthicudediywkn mumhnungcakaetladan erimcakcudihnkid cudbrrcbdngklaweriykwacudsasm aelarupxnntehliympidid camixyangnxyhnungcudsasm txngkarxangxing sxngrupxnntehliymsamarthxyubnranabethseslelchnid aelasylksnchelflikhxngranabethseslelchnnikhuxrupxnntehliympktirupxnntehliympktikhuxrupehliymthimidanethakn aelamumethakn ehmuxnkb odymisylksnchelfliepn thamumkhxngrupxnntehliymmimum 180 aelwcamnmiruplksnaehmuxn dngrup cakesntrngnixaccamxngwaepnrsmixnntkid odyepriybwaepnruphlayehliympktithimidanepncanwnmhasalmatxkncnepnwngklm rupaebbkhwameb phaphwadmummxng 3 mitikhxngrupehliymxnntpktiaebbhnungthimilksnaepnkhxng emuxwadrupehliymxnntpktiaebbhnungthimilksnaepnekliywkhxngsamehliymdanetha xngkvs equilateral triangular helix dwymummxng 3 miti bangkhrngkhnkkhidwarupehliymxnntkepntwxyangkhwampktiaebbhnung cnemux khnphbephimxiksxngsing khuxthamumkhxngaetlacudslbdanknip rupehliynxnntcamihnataepn aelaepnrupsmmatr ethakb 2 xyangirktamrupaebbnicaepnpktiktxemuxdanhnungimipthbxikdanhnung aelamxngwamnimmiruprang thaaetlamumthukaeykxxkcakaenwranabkhxngmumkxnhnani rupehliymxnntcaprakxbxxkmaepnrupsamehliym ruphlayehliymthiimidxyubnranabediywknaebbni eriykwakhwam rupwaddankhwaepnrupinmumsammitikhxngrupehliymxnntebpktixyanghnung ruphlayehliymnisrangkhuncakxnukrmkhxngestyxykhxngdanthitxmikartxsxnxyangepnaexntiprisumkhxngrupsamehliymdanethaxyangimsinsudxyang aemcaimehmuxnaexntiprisumsathiediywktam mumthithukbidimidcakdwacatxngepncanwnetmharkhxng 180 ruphlayehliymrupnimi ladbxnukrmkhxngdankhxng samarthaesdngepnrupehliymxnntebpktiiderkhakhnitechingihephxroblatam rupehliymxnntimsamarthldrupidaelamiruprangepnaephn echn thimicudyxdtam duephimxangxing 1973 3rd ed New York Dover Publications pp 121 122 ISBN 0 486 61480 8 p 296 Table II Regular honeycombs Grunbaum B Regular polyhedra old and new Aequationes Math 16 1977 p 1 20 Peter McMullen Egon Schulte Abstract Regular Polytopes Cambridge University Press 2002 ISBN 0 521 81496 0 Page 25 aehlngkhxmulxunRussell Robert Apeirogon cakaemthewild Apeirogon at Glossary for Hyperspace