ชีววิทยา (อังกฤษ: biology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับขนาดของสิ่งมีชีวิต เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาด้วยขอบเขตที่กว้างแต่ประกอบด้วยหลายประเด็นที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและสอดคล้องกัน ตัวอย่างเช่น สิ่งมีชีวิตทุกชนิดเกิดขึ้นจากเซลล์หลายเซลล์ที่สามารถประมวลข้อมูลทางกรรมพันธุ์ที่เข้ารหัสในรูปยีน ซึ่งสามารถส่งต่อให้รุ่นถัดไป อีกประเด็นหลักคือวิวัฒนาการซึ่งอธิบายความเป็นเอกภาพและความหลากหลายของชีวิตกระบวนการเกี่ยวกับพลังงานยังมีความสำคัญต่อชีวิตเพื่อให้สิ่งมีชีวิตสามารถ เจริญเติบโตและสืบพันธุ์ สุดท้ายนี้ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องสามารถรักษาดุลยภาพของของสิ่งมีชีวิตเอง
นักชีววิทยาสามารถศึกษาชีวิตได้ในการจำแนกชั้นทางชีววิทยาที่หลากหลาย นับตั้งแต่อณูชีววิทยาของเซลล์จนถึงกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของพืชและสัตว์ และ
วิวัฒนาการของประชากร ดังนั้นสาขาย่อยของชีววิทยามีหลายสาขา แต่ละสาขาถูกกำหนดโดยธรรมชาติของและเครื่องมือที่นักวิจัยใช้ เช่นเดียวกันกับนักวิทยาศาสตร์แขนงอื่น นักชีววิทยาใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการการสังเกต ตั้งคำถาม สร้างสมมติฐาน ทำการทดลองและสรุปเกี่ยวกับโลกรอบตัวพวกเขา
ชีวิตบนโลก ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อ 3.7 พันล้านปีก่อน มีความหลากหลายสูงมาก นักชีววิทยาได้แสวงหา ศึกษาและจัดจำแนกรูปแบบของชีวิตที่หลากหลาย ตั้งแต่สิ่งมีชีวิตกลุ่มโพรแคริโอตเช่น อาร์เคียและแบคทีเรียจนถึงสิ่งมีชีวิตกลุ่มยูแคริโอตเช่น โพรทิสต์ ฟังไจ พืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายนี้ทำให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ ซึ่งมีบทบาทในการหมุนเวียนของสารอาหารและพลังงาน ผ่านสิ่งแวดล้อมชีวกายภาพ
คำว่า ชีววิทยา (biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logia" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล
ประวัติศาสตร์
รากฐานแรกเริ่มของวิทยาศาสตร์ รวมถึงการแพทย์ สามารถย้อนกลับไปในสมัยอียิปต์โบราณและเมโสโปเตเมียในช่วงประมาณ 3000 ถึง 1200 ก่อนคริสตกาล ผลงานของพวกเขาทำให้เกิดปรัชญาธรรมชาติของกรีกโบราณ นักปรัชญาชาวกรีกโบราณเช่น อาริสโตเติล (384–322 ก่อนคริสตกาล) มีส่วนช่วยอย่างยิ่งในการพัฒนาความรู้ด้านชีววิทยา เขาศึกษาสาเหตุของเหตุการณ์ในเชิงชีววิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพ ผู้สืบทอดของอาริสโตเติลเริ่มศึกษาพืชในทางวิทยาศาสตร์ นักวิชาการในได้เขียนเกี่ยวกับชีววิทยา เช่น (ปี ค.ศ. 781–869) (ปี ค.ศ. 828–896) ผู้ที่เขียนเกี่ยวกับพฤกษศาสตร์ และราซีส (ปี ค.ศ. 865–925) ผู้เขียนเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา นักวิชาการในโลกอิสลามศึกษาการแพทย์เป็นอย่างดีบนธรรมเนียมของนักปรัชญาชาวกรีก ในขณะที่ประวัติศาสตร์ธรรมชาติจะเป็นไปตามแนวคิดของอาริสโตเติล
ชีววิทยาเริ่มพัฒนาอย่างรวดเร็วหลังการพัฒนากล้องโดยอันโตนี ฟัน เลเวินฮุก ต่อมานักวิชาการได้ค้นพบตัวอสุจิ แบคทีเรีย และความหลากหลายของจุลชีพ การค้นพบของนำไปสู่ชีววิทยาแขนงใหม่ นั่นคือกีฏวิทยาและช่วยพัฒนาเทคนิคการและ. ความก้าวหน้าในด้านจุลทรรศน์มีผลอย่างมากต่อแนวคิดทางชีววิทยา ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักชีววิทยาชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเซลล์ ในปี ค.ศ. 1838 และเริ่มเสนอแนวคิดใหม่ที่ใช้ได้ทั่วไป นั่นคือ (1) หน่วยย่อยที่สุดของสิ่งมีชีวิตคือเซลล์และ (2) เซลล์แต่ละเซลล์มีคุณสมบัติของชีวิต ถึงแม้ว่าพวกเขาจะคัดค้านแนวคิดที่ว่า (3) เซลล์ทุกเซลล์เกิดจากบางส่วนของเซลล์อื่น นำไปสู่การสนับสนุน เชื่อว่าทฤษฎีการเกิดขึ้นเอง (Spontaneous generation) แต่อย่างไรก็ตามและสามารถยืนยันทฤษฎีที่สาม และในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1860 นักชีววิทยาส่วนใหญ่ยอมรับทฤษฎีทั้งสามนี้และรวบรวมเป็นทฤษฎีเซลล์
ในขณะเดียวกัน อนุกรมวิธานและการจัดจำแนกกลายเป็นจุดสนใจของนักประวัติศาสตร์ธรรมชาติ คาร์ล ลินเนียสตีพิมพ์เกี่ยวกับอนุกรมวิธานพื้นฐานสำหรับการศึกษาธรรมชาติในปี ค.ศ. 1735 และในคริสต์ทศวรรษที่ 1750 เขาตั้งชื่อวิทยาศาสตร์สำหรับสิ่งมีชีวิตที่เขาศึกษาทุกสปีชีส์ถือว่าแนวคิดของสปีชีส์เป็นเพียงการจัดจำแนกที่สมมติขึ้นและไม่ตายตัว—จึงเสนอแนวคิดของการสืบเชื้อสายร่วมกันแทน
แนวคิดเรื่องวิวัฒนาการเริ่มเป็นที่ถกเถียงอย่างจริงจังด้วยงานของ ผู้เสนอทฤษฎีวิวัฒนาการที่สอดคล้องกันชาลส์ ดาร์วิน นักธรรมชาติวิทยาชาวบริติชได้รวบรวมผลการศึกษาทางชีวภูมิศาสตร์ของฮุมบ็อลท์ ภูมิศาสตร์เอกรูปนิยมของ งานเขียนเกี่ยวกับการเติบโตของประชากรของมาลธัส ประกอบกับความเชี่ยวชาญของดาร์วินเองในด้านสัณฐานวิทยาและการสำรวจธรรมชาติอย่างยาวนาน เกิดเป็นทฤษฎีวิวัฒนาการที่ประสบความสำเร็จกว่าคือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ด้วยการให้เหตุผลและหลักฐานเดียวกันทำให้อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซนำไปสู่ข้อสรุปเดียวกัน ถึงแม้จะไม่ได้ทำงานกับดาร์วินก็ตาม
พื้นฐานของพันธุศาสตร์ยุคใหม่เริ่มจากงานของเกรกอร์ เม็นเดิลในปี ค.ศ. 1865 ทำให้เกิดหลักการของการถ่ายทอดในทางชีววิทยา แต่อย่างไรก็ตาม ความสำคัญของงานชิ้นนี้ไม่เป็นที่รู้จักจนเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่วิวัฒนาการกลายเป็นทฤษฎีเดียวกันรู้จักในนาม ที่ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วินรวมกับพันธุศาสตร์คลาสสิก ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1940 และต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1950 การทดลองจำนวนมากโดยอัลเฟรด เฮอร์ชีย์และมาร์ธา เชสค้นพบว่าดีเอ็นเอซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซม บรรจุหน่วยข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะซึ่งเป็นที่รู้จักภายหลังว่ายีน ความสนใจในโมเดลของสิ่งมีชีวิตใหม่เช่น ไวรัสและแบคทีเรีย ประกอบกับการค้นพบโครงสร้างเกลียวคู่ของดีเอ็นเอโดยเจมส์ ดี. วัตสันและฟรานซิส คริกในปี ค.ศ. 1953 เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคอณูพันธุศาสตร์ นับตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1950 เป็นต้นไป ชีววิทยาถูกขยายขอบเขตการศึกษาถึงระดับโมเลกุล รหัสพันธุกรรมถูกถอดรหัสโดย รอเบิร์ต ดับเบิลยู. ฮอลลีย์และมาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์กภายใต้แนวคิดของโคดอน โครงการจีโนมมนุษย์เริ่มในปี ค.ศ. 1990 เพื่อสร้างแผนที่จีโนมของมนุษย์
พื้นฐานทางเคมี
อะตอมและโมเลกุล
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสร้างขึ้นมาจากธาตุเช่นออกซิเจน คาร์บอน ไฮโดรเจนและไนโตรเจน คิดเป็นมวลส่วนใหญ่ (ร้อยละ 96) ของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ยังมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส กำมะถัน โซเดียม คลอรีนและแมกนีเซียม ธาตุที่แตกต่างกันสามารถประกอบกันเป็นสารประกอบเช่น น้ำ ซึ่งเป็นพื้นฐานของชีวิตชีวเคมีคือการศึกษาเกี่ยวกับภายในและเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต อณูชีววิทยาเป็นแขนงหนึ่งในชีววิทยาที่ศึกษาเพื่อเข้าใจพื้นฐานทางโมเลกุลของกิจกรรมทางชีววิทยา ทั้งภายในและระหว่างเซลล์ รวมถึงการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุล การดัดแปลง กลไกและการมีปฏิสัมพันธ์
น้ำ
ชีวิตเกิดขึ้นมาจากมหาสมุทรแห่งแรกของโลก ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน ตั้งแต่สมัยนั้น น้ำค่อย ๆ เป็นโมเลกุลที่พบมากที่สุดในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด น้ำสำคัญกับชีวิตเพราะว่าน้ำเป็นตัวทำละลายที่มีประสิทธิภาพ สามารถละลายสารเช่น โซเดียมและคลอไรด์ไอออนหรือสารโมเลกุลเล็ก เกิดเป็นสารละลายในน้ำ เมื่อละลายในน้ำแล้ว ตัวละลายมักสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับตัวละลายอีกตัวจึงสามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีซึ่งรักษาดุลยภาพของชีวิตได้ ในแง่ของ น้ำเป็น รูปร่างมุมงอเกิดขึ้นพันธะโคเวเลนซ์มีขั้วระหว่างไฮโดรเจนสองอะตอม (H) กับออกซิเจนหนึ่งอะตอม (O) เป็นสูตร H2O เนื่องจากพันธะ O–H มีขั้ว อะตอมออกซิเจนมีประจุลบเล็กน้อยและอะตอมไฮโดรเจนทั้งสองมีประจุบวกเล็กน้อยมีขั้วของน้ำทำให้มันสามารถดึงดูดกับโมเลกุลน้ำโมเลกุลอื่นได้ด้วยพันธะไฮโดรเจน ทำให้น้ำมีคุณสมบัติการ (cohesive)แรงตึงผิวเกิดจากแรงเชื่อมแน่นจากการดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่ผิวของเหลว น้ำยังมีคุณสมบัติการ โดยมันสามารถเกาะกับพื้นผิวของโมเลกุลอื่นที่ไม่ใช่น้ำ ซึ่งอาจมีขั้วหรือมีประจุ น้ำเมื่อเป็น(ของเหลว)มีหนาแน่นกว่าตอนเป็นของแข็ง (หรือน้ำแข็ง) คุณสมบัติเฉพาะตัวนี้ทำให้น้ำแข็งสามารถลอยเหนือน้ำเช่น บ่อน้ำ ทะเลสาบและมหาสมุทร ทำหน้าที่เป็นฉนวนความร้อนให้ของเหลว ป้องกันความเย็นจากอากาศเย็นข้างบน น้ำมีความจุในการดูดซับพลังงาน ทำให้มีความจุความร้อนจำเพาะสูงกว่าตัวทำละลายอื่นเช่น เอทานอล ดังนั้นพลังงานปริมาณมากจึงจำเป็นในการทำลายพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลเพื่อเปลี่ยนสถานะจากน้ำของเหลวเป็นไอน้ำ น้ำมีโมเลกุลที่ไม่เสถียรอย่างสมบูรณ์ เนื่องจากโมเลกุลน้ำแต่ละโมเลกุลแตกตัวเป็นไฮโดรเจนไอออนและไฮดรอกซิลไอออน ก่อนกลับมาเป็นโมเลกุลน้ำอีกครั้ง ใน จำนวนไฮโดรเจนไอออนจะสมดุล (หรือเท่ากับ) จำนวนไฮดรอกซิลไอออน ส่งผลให้มีค่าพีเอชเป็นกลาง
สารประกอบอินทรีย์
สารประกอบอินทรีย์คือโมเลกุลที่มีคาร์บอนสร้างพันธะกับฮาตุอื่นเช่น ไฮโดรเจน ทุกโมเลกุลที่เป็นส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิตยกเว้นน้ำประกอบด้วยคาร์บอนทั้งสิ้น คาร์บอนสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์กับอะตอมได้สูงสุด 4 อะตอม ทำให้สามารถสร้างเป็นโมเลกุลที่หลากหลาย ขนาดใหญ่และซับซ้อนได้ ตัวอย่างเช่น อะตอมคาร์บอนหนึ่งอะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์ที่เป็นพันธะเดี่ยวสี่พันธะเช่นในมีเทน พันธะคู่สองพันธะเช่นคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) หรือหนึ่งพันธะเช่นคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) นอกจากนี้คาร์บอนสามารถสร้างโครงสร้างโซ่ยาวจากเช่น หรือโครงสร้างคล้ายวงเช่นกลูโคส
โครงสร้างที่ง่ายที่สุดของสารประกอบอินทรีย์คือไฮโดรคาร์บอน ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบด้วยอะตอมไฮโดรเจนที่เชื่อมกับโซ่ของอะตอมคาร์บอน โซ่หลักของไฮโดรคาร์บอนสามารถถูกแทนที่ด้วยธาตุอื่นเช่น ออกซิเจน (O) ไฮโดรเจน (H) ฟอสฟอรัส (P) และกำมะถัน (S) ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงสมบัติของสารประกอบนั้น กลุ่มของอะตอมที่ประกอบด้วยธาตุเหล่านี้ (O-, H-, P- และ S-) และเชื่อมพันธะกับอะตอมคาร์บอนกลางหรือโซ่หลักถูกเรียกว่าหมู่ฟังก์ชัน หมู่ฟังก์ชันที่พบมากในสิ่งมีชีวิตมี 6 หมู่ได้แก่ หมู่อะมิโน หมู่คาร์บอกซิล หมู่ไฮดรอกซิล หมู่ฟอสเฟตและ
ในปี ค.ศ. 1953 แสดงว่าสารประกอบอินทรีย์สามารถสังเคราะห์โดยไม่ต้องเริ่มด้วยสิ่งมีชีวิตภายใต้ระบบปิด โดยเลียนแบบสภาพแวดล้อมของ ดังนั้นสารประกอบอินทรีย์ที่ซับซ้อนสามารถเกิดขึ้นได้เองในโลกยุคแรกเริ่ม (ดูเพิ่มที่กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต
มาโครโมเลกุล
มาโครโมเลกุลคือโมเลกุลขนาดใหญ่ที่สร้างจากหน่วยย่อยหรือมอนอเมอร์ มอนอเมอร์ประกอบด้วยน้ำตาล กรดอะมิโนและนิวคลีโอไทด์คาร์โบไฮเดรตสร้างจากมอนอเมอร์และพอลิเมอร์ของน้ำตาล ลิพิดเป็นมาโครโมเลกุลกลุ่มเดียวที่ไม่ได้ประกอบเป็นพอลิเมอร์ ลิพิดประกอบด้วยสเตอรอยด์ฟอสโฟลิพิดและไขมัน ซึ่งเป็นสารไม่มีขั้วและไฮโดรโฟบิก (ไม่ชอบน้ำ) โปรตีนเป็นมาโครโมเลกุลที่หลากหลายที่สุดเช่น เอนไซม์ โมเลกุลส่งสัญญาณขนาดใหญ่ แอนติบอดีและ หน่วยย่อยของโปรตีนคือกรดอะมิโน กรดอะมิโน 20 ตัวถูกใช้ในการสร้างโปรตีน กรดนิวคลิอิกเป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ หน้าที่ของกรดนิวคลิอิกคือใช้เก็บ ส่งและแสดงข้อมูลพันธุกรรม
เซลล์
ทฤษฎีเซลล์กล่าวว่าเซลล์คือหน่วยย่อยที่สุดของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์หนึ่งเซลล์หรือมากกว่าและเซลล์ทุกเซลล์เกิดจากเซลล์ที่มีอยู่ก่อนโดยอาศัยกระบวนการแบ่งเซลล์ เซลล์ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กมาก มีความยาวผ่าศูนย์กลางระหว่าง 1 ถึง 100 ไมโครเมตรและสามารถมองเห็นภายใต้(กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง)หรือกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนเท่านั้น เซลล์โดยทั่วไปมีสองประเภทได้แก่เซลล์ยูแคริโอต ซึ่งหมายถึงเซลล์ที่มีนิวเคลียส และเซลล์โพรแคริโอต ซึ่งไม่มีนิวเคลียส โพรแคริโอตคือสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเช่นแบคทีเรีย ในขณะที่ยูแคริโอตอาจมีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ก็ได้ ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเกิดจากเซลล์เซลล์เดียวที่เกิดจากเซลล์ไข่ที่ปฏิสนธิแล้ว
โครงสร้างของเซลล์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (กุมภาพันธ์ 2024) |
ระบบการศึกษา
การศึกษาสิ่งมีชีวิตในระดับอะตอมและโมเลกุล จัดอยู่ในสาขาวิชาอณูชีววิทยา ชีวเคมี และอณูพันธุศาสตร์ การศึกษาในระดับเซลล์ จัดอยู่ในสาขาวิชาเซลล์วิทยา และในระดับเนื้อเยื่อ จัดอยู่ในสาขาวิชาสรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และมิญชวิทยา สาขาวิชาคัพภวิทยาเป็นการศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต
สาขาวิชาพันธุศาสตร์เป็นการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง สาขาวิชาพฤติกรรมวิทยาเป็นการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มสิ่งมีชีวิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ประชากรเป็นการศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับประชากรของสิ่งมีชีวิต การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งกับสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง และระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่อาศัย จัดอยู่ในสาขาวิชานิเวศวิทยาและชีววิทยาของวิวัฒนาการปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงจากทางธรรมชาติ เกิดจากการความแตกต่างของสภาพพื้นที่ และการใช้ชีวิตของการดำรงชีวิต เช่น นกนางแอ่น ในทะเล กับ นกนางแอ่น บนภาคพื้นที่อยู่ในวงศ์ตระกูลเดียวกันแต่ แตกต่างในการดำรงชีวิตและลักษณะของสภาพร่างกาย เป็นต้น
การแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต่าง ๆ ในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่าง ๆ นั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ
ปัจจุบันชีววิทยามีแขนงย่อย 3 กลุ่มได้แก่กลุ่มวิชาที่ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มสิ่งมีชีวิต กลุ่มวิชาที่ศึกษาโครงสร้าง หน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิตและกลุ่มวิชาอื่น ๆ ดังนี้
กลุ่มวิชาที่ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มสิ่งมีชีวิต
- สัตววิทยา (zoology) ศึกษาชีววิทยาของสัตว์ ตั้งแต่สัตว์ชั้นต่ำพวก ฟองน้ำ แมงกะพรุน พยาธิตัวแบน พยาธิตัวกลม กลุ่มหนอนปล้อง สัตว์ที่มีข้อปล้อง กลุ่มสัตว์พวกหอย ปลาดาว จนถึงสัตว์มีกระดูกสันหลังเช่น ปลา สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- พฤกษศาสตร์ (Botany) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพืช ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ กระบวนการสร้าง (แอแนบอลิซึม) และสลาย (แคแทบอลิซึม) โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ การกระจายของพืชในส่วนต่าง ๆ ของโลก
- จุลชีววิทยา (Microbiology) คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก ส่วนมากมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย อาร์เคีย ไวรัส เชื้อราและยีสต์
- กีฏวิทยา (Entomology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ในกลุ่มของแมลง การจัดจำแนก สรีรวิทยา สัณฐานวิทยา และนิเวศวิทยาของแมลง
- ปักษีวิทยา (Ornithology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับนก
- หรือ (Mycology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเห็ดและรา
- มีนวิทยา (Ichthyology) ศึกษาปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบต่าง ๆ ภายในตัวปลา การจัดจำแนกปลาออกเป็นกลุ่มหรือประเภทต่าง ๆ และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปลา
- สังขวิทยา (Malacology) ศึกษาหอย โดยเฉพาะหอยน้ำจืดที่เป็นเจ้าบ้านส่งผ่านของพยาธิ
- ปรสิตวิทยา (Parasitology) ศึกษาปรสิต ซึ่งดำรงชีพโดยเป็นตัวเบียนของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น พยาธิตัวกลม พยาธิตัวแบน
กลุ่มวิชาที่ศึกษาจากโครงสร้าง หน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิต
- กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นการศึกษาโครงสร้างและการจัดเรียงตัวของร่างกายมนุษย์ สาขาวิชาหลักของกายวิภาคศาสตร์ได้แก่
- มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ซึ่งเกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
- จุลกายวิภาคศาสตร์ หรือมิญชวิทยา หรือวิทยาเนื้อเยื่อ (Histology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับจุลภาคซึ่งต้องใช้กล้องจุลทรรศน์
- สัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาโครงสร้างและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต
- สรีรวิทยา (Physiology) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของระบบต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต ทั้งในด้านกลศาสตร์ ด้านกายภาพ และด้านชีวเคมี แบ่งเป็น 2 สาขาย่อย คือ สรีรวิทยาของพืช และสรีรวิทยาของสัตว์
- อณูชีววิทยา (Molecular biology) หรือ ชีววิทยาโมเลกุล เป็นสาขาย่อย ที่แตกออกมาจากชีวเคมี เน้นศึกษาโครงสร้างและการทำงานของยีน (gene) ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมบนสายดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอ ตลอดจนการควบคุมการทำงานของยีน ในระดับต่าง ๆ จนออกมาเป็น สาย อาร์เอ็นเอ และ เป็น โปรตีน
- พันธุศาสตร์ (Genetics) คือ สาขาแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ซึ่งว่าด้วยการศึกษาหน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน, กรรมพันธุ์ (heredity) , และวิวัฒนาการในสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต จากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่ง
- เซลล์พันธุศาสตร์ (Cytogenetics) ศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับเซลล์ รูปร่าง ลักษณะ และจำนวนของโครโมโซมในสิ่งมีชีวิต ตำแหน่งที่ตั้งของยีนบนโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ในสิ่งมีชีวิต
- นิเวศวิทยา (Ecology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม
- คัพภวิทยา หรือ วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) เป็นการศึกษาการเจริญของเอ็มบริโอ เอ็มบริโอคือขั้นหนึ่งของการเจริญของสิ่งมีชีวิตก่อนคลอดหรือออกจากไข่ หรือในพืชคือในระยะก่อน (germination)
- ชีววิทยาของเซลล์ (cell biology) หรือ วิทยาเซลล์ (cytology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ ทั้งในด้านคุณสมบัติทางสรีรวิทยา, โครงสร้าง, ออร์แกเนลล์ที่อยู่ภายใน, ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม, วัฎจักรเซลล์, การแบ่งเซลล์, และการตายของเซลล์
- มหพยาธิวิทยา (Gross pathology) หมายถึงลักษณะแสดงในระดับมหัพภาค (หรือระดับตาเปล่า) ของโรคที่เกิดในอวัยวะ, เนื้อเยื่อ และช่องตัว ศัพท์ดังกล่าวใช้กันทั่วไปในวิชาพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology) เพื่อหมายถึงการตรวจเพื่อวินิจฉัยหาข้อมูลในชิ้นเนื้อตัวอย่างหรือการชันสูตรพลิกศพ (autopsy)
กลุ่มวิชาอื่น ๆ
- ชีวเคมี (Biochemistry) เป็นการศึกษาความเป็นไปในระดับชีวโมเลกุลของสิ่งมีชีวิต ทั้งองค์ประกอบทางชีวเคมีของเซลล์หรืออนุภาค รวมถึงไวรัส โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลง การสร้างและทำลายโมเลกุลทั้งสารโมเลกุลเล็กและโมเลกุลใหญ่เช่น โปรตีน ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ การควบคุมการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุล การควบคุมการทำงานในระดับต่าง ๆ การสร้างพลังงานและการใช้พลังงาน อันเป็นปรากฏการณ์ของชีวิต
- สัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษารูปพรรณสัณฐานของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นจุลชีพ สัตว์หรือพืช เพื่อประกอบการระบุชนิด เช่น ลักษณะรูปร่างของดอกไม้หรือการจัดเรียงตัวของใบ
- อนุกรมวิธาน (Taxonomy) ศึกษาการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต ออกเป็นหมวดหมู่ ในทางวิวัฒนาการ (evolution) สมัยก่อนเน้นข้อมูลสัณฐานวิทยา ปัจจุบันใช้ข้อมูลระดับโมเลกุลมากขึ้น กลายเป็นวิชา Molecular Systematics
- บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) ศึกษาฟอสซิล (fossils)
- ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) หรือ ชีววิทยาเชิงคำนวณ (computational biology) เป็นบูรณาการของสหวิชา ศึกษาโดยใช้ความรู้จาก อณูชีววิทยา ชีวเคมี คณิตศาสตร์ประยุกต์, สถิติศาสตร์, สารสนเทศศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ สืบค้น ประมวลผลข้อมูลทางชีววิทยา เพื่อตอบปัญหาทางชีววิทยา หรือทำแบบจำลองเพื่อทำนายความเป็นไปได้ทางชีววิทยา ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ต่อ ๆ มา เช่น จีโนมิกส์ (Genomics) (Proteomics) (Metabolomics) ฯลฯ
- ชีววิทยาระบบ (Systems biology) เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ทางชีวสารสนเทศศาสตร์ คณิตศาสตร์ชั้นสูง วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ ชีวเคมี เพื่อทำแบบจำลองของปราฏการณ์ภายในเซลล์ หรือในสิ่งมีชีวิต บนคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยการคำนวณ จุดมุ่งหมายก็เพื่อทำนายปรากฏการณ์ของชีวิตในเรื่องต่าง ๆ อาทิ การตอบสนองของเซลล์ต่อยา หรือ ต่อสภาวะต่าง ๆ เป็นต้น ก่อนการทำการทดลองจริงในห้องปฏิบัติการ (wet lab)
- ประสาทวิทยาศาสตร์ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง หน้าที่ ชีวเคมี สรีรวิทยา, เภสัชวิทยา และ พยาธิวิทยา ของระบบประสาท นอกจากนี้การศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรม และ การเรียนรู้ ยังถือว่าเป็นสาขาของประสาทวิทยาอีกด้วย
ขอบเขตของชีววิทยา
ชีววิทยาเป็นสาขาวิชาที่ใหญ่มากจนไม่อาจศึกษาเป็นสาขาเดียวได้ จึงต้องแยกออกเป็นสาขาย่อยต่าง ๆ ในหัวข้อนี้จะแบ่งสาขาย่อยออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งเป็นสาขาที่ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อย่างเช่นเซลล์ ยีน เป็นต้น กลุ่มที่สองศึกษาการทำงานของโครงสร้างต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับร่างกาย กลุ่มที่สามศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มที่สี่ศึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตาม การแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต่าง ๆ ในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่าง ๆ นั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ
โครงสร้างของชีวิต
อณูชีววิทยาเป็นสาขาหนึ่งในชีววิทยา ซึ่งศึกษาในระดับโมเลกุล สาขานี้มีความสอดคล้องกับสาขาอื่น ๆ ในชีววิทยา โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยาเป็นการศึกษาปฏิสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในเซลล์ ซึ่งได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ การสังเคราะห์โปรตีน และการควบคุมความสัมพันธ์เหล่านี้
ชีววิทยาของเซลล์เป็นสาขาที่ศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาของเซลล์ รวมไปถึงพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ และสิ่งแวดล้อมของเซลล์ ทั้งระดับจุลภาคและระดับโมเลกุล สาขาวิชานี้จะศึกษาวิจัยทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อย่างเช่นแบคทีเรีย และเซลล์ที่ทำหน้าที่พิเศษในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ อย่างเช่นมนุษย์
พันธุศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษายีน พันธุกรรม และการผันแปรของสิ่งมีชีวิต ในการศึกษาวิจัยสมัยใหม่ มีเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาหน้าที่ของยีน หรือความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม ในสิ่งมีชีวิต ข้อมูลทางพันธุกรรมจะอยู่ในโครโมโซม ซึ่งข้อมูลจะแทนที่ด้วยโครงสร้างทางเคมีของโมเลกุลของดีเอ็นเอ
สรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิต
สรีรวิทยาเป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางกายภาพและทางชีวเคมีในสิ่งมีชีวิต เพื่อให้เข้าใจหน้าที่ของโครงสร้างต่าง ๆ ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในการศึกษาทางชีววิทยา การศึกษาทางสรีรวิทยาสามารถแบ่งออกได้เป็นสรีรวิทยาของพืชและ แต่หลักของสรีรวิทยาในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนแต่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น การศึกษาสรีรวิทยาของเซลล์ยีสต์สามารถประยุกต์ใช้กับการศึกษาในเซลล์มนุษย์ได้ สรีรวิทยาของสัตว์เป็นการศึกษาทั้งในมนุษย์และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ สรีรวิทยาของพืชก็มีวิธีการศึกษาเช่นเดียวกับในสัตว์
กายวิภาคศาสตร์เป็นสาขาที่สำคัญในสรีรวิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่และความสัมพันธ์ของระบบอวัยวะในสิ่งมีชีวิต เช่น ระบบประสาท ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต การศึกษาเกี่ยวกับระบบเหล่านี้สามารถแบ่งออกเป็นสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อีก เช่น ประสาทวิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
ความหลากหลายและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
การศึกษาวิวัฒนาการมีความเกี่ยวข้องกับต้นกำเนิดและการสืบทอดลักษณะของสปีชี่ส์ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ผ่านมา และต้องอาศัยนักวิทยาศาสตร์จากหลายสาขาที่เกี่ยวข้องกับอนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต สาขาวิวิฒนาการมีรากฐานจากสาขาบรรพชีวินวิทยา ซึ่งอาศัยซากดึกดำบรรพ์ในการตอบคำถามเกี่ยวกับรูปแบบและจังหวะของวิวิฒนาการ
สาขาวิชาหลักใหญ่ที่เกี่ยวกับอนุกรมวิธานมี 2 สาขา คือ พฤกษศาสตร์ และสัตววิทยา พฤกษศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวพืช มีเนื้อหาครอบคลุมกว้างขวางตั้งแต่การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และวิวัฒนาการของพืช ส่วนสัตววิทยาจะศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ รวมทั้งลักษณะทางสรีรวิทยาของสัตว์ซึ่งอยู่ในสาขากายวิภาคศาสตร์และคัพภวิทยา กลไกทางพันธุศาสตร์และการเจริญของพืชและสัตว์จะศึกษาในสาขาอณูชีววิทยา อณูพันธุศาสตร์ และชีววิทยาของการเจริญ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
สาขานิเวศวิทยาจะศึกษาการกระจายและความหนาแน่นของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตจะหมายถึงถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งจะรวมไปถึงปัจจัยทางกายภาพอย่างสภาพภูมิอากาศและลักษณะทางภูมิศาสตร์ รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน การศึกษาระบบทางนิเวศวิทยามีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับสิ่งมีชีวิต ระดับประชากร ระดับระบบนิเวศ ไปจนถึงระดับโลกของสิ่งมีชีวิต จึงจะเห็นได้ว่า นิเวศวิทยาเป็นสาขาที่ครอบคลุมถึงสาขาอื่น ๆ อีกมากมาย
สาขาพฤติกรรมวิทยาจะศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ (โดยเฉพาะสัตว์สังคมอย่างสัตว์จำพวกลิงและสัตว์กินเนื้อ) บางครั้งอาจจัดเป็นสาขาหนึ่งในสัตววิทยา นักพฤติกรรมวิทยาจะเน้นศึกษาที่วิวัฒนาการของพฤติกรรม และความเข้าใจในพฤติกรรม โดยตั้งอยู่บนทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
รายการอ้างอิง
- Urry, Lisa; Cain, Michael; Wasserman, Steven; Minorsky, Peter; Reece, Jane (2017). "Evolution, the themes of biology, and scientific inquiry". Campbell Biology (11th ed.). New York: Pearson. pp. 2–26. ISBN .
- Hillis, David M.; Heller, H. Craig; Hacker, Sally D.; Laskowski, Marta J.; Sadava, David E. (2020). "Studying life". Life: The Science of Biology (12th ed.). W. H. Freeman. ISBN .
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "Biology and the three of life". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 1–18. ISBN .
- Modell, Harold; Cliff, William; Michael, Joel; McFarland, Jenny; Wenderoth, Mary Pat; Wright, Ann (December 2015). "A physiologist's view of homeostasis". Advances in Physiology Education. 39 (4): 259–266. doi:10.1152/advan.00107.2015. PMC 4669363. PMID 26628646.
- Davies, PC; Rieper, E; Tuszynski, JA (January 2013). "Self-organization and entropy reduction in a living cell". Bio Systems. 111 (1): 1–10. doi:10.1016/j.biosystems.2012.10.005. PMC 3712629. PMID 23159919.
- Based on definition from: . Texas State University at San Marcos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2004-06-08.
- Craig, Nancy (2014). Molecular Biology, Principles of Genome Function. OUP Oxford. ISBN .
- Mosconi, Francesco; Julou, Thomas; Desprat, Nicolas; Sinha, Deepak Kumar; Allemand, Jean-François; Vincent Croquette; Bensimon, David (2008). "Some nonlinear challenges in biology". Nonlinearity. 21 (8): T131. Bibcode:2008Nonli..21..131M. doi:10.1088/0951-7715/21/8/T03. S2CID 119808230.
- Howell, Elizabeth (8 December 2014). . . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2018. สืบค้นเมื่อ 14 February 2018.
{{}}
: CS1 maint: unfit URL () - Pearce, Ben K.D.; Tupper, Andrew S.; ; และคณะ (March 1, 2018). "Constraining the Time Interval for the Origin of Life on Earth". . 18 (3): 343–364. :1808.09460. Bibcode:2018AsBio..18..343P. doi:10.1089/ast.2017.1674. PMID 29570409. S2CID 4419671.
- Lindberg, David C. (2007). "Science before the Greeks". The beginnings of Western science: the European Scientific tradition in philosophical, religious, and institutional context (2nd ed.). Chicago, Illinois: University of Chicago Press. pp. 1–20. ISBN .
- Grant, Edward (2007). "Ancient Egypt to Plato". A History of Natural Philosophy: From the Ancient World to the Nineteenth Century. New York: Cambridge University Press. pp. 1–26. ISBN .
- Magner, Lois N. (2002). A History of the Life Sciences, Revised and Expanded. CRC Press. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-24.
- Serafini, Anthony (2013). The Epic History of Biology. Springer. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2021. สืบค้นเมื่อ 14 July 2015.
- ประโยคหรือส่วนของบทความก่อนหน้านี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติ: Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.
- Fahd, Toufic (1996). "Botany and agriculture". ใน Morelon, Régis; Rashed, Roshdi (บ.ก.). . Vol. 3. . p. 815. ISBN .
- Magner, Lois N. (2002). A History of the Life Sciences, Revised and Expanded. CRC Press. pp. 133–44. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-24.
- (2003). "7". Genesis: The Evolution of Biology. New York: Oxford University Press. ISBN .
- Coleman, William (1977). Biology in the Nineteenth Century: Problems of Form, Function, and Transformation. New York: Cambridge University Press. ISBN .
- Mayr, Ernst. The Growth of Biological Thought, chapter 4
- Mayr, Ernst. The Growth of Biological Thought, chapter 7
- * , บ.ก. (1909). The foundations of The origin of species, a sketch written in 1842 (PDF). Cambridge: Printed at the University Press. p. 53. LCCN 61057537. OCLC 1184581. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2014.
- . The Structure of Evolutionary Theory. The Belknap Press of Harvard University Press: Cambridge, 2002. ISBN . p. 187.
- Mayr, Ernst. The Growth of Biological Thought, chapter 10: "Darwin's evidence for evolution and common descent"; and chapter 11: "The causation of evolution: natural selection"
- Larson, Edward J. (2006). "Ch. 3". Evolution: The Remarkable History of a Scientific Theory. Random House Publishing Group. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-24.
- Henig (2000). Op. cit. pp. 134–138.
- Miko, Ilona (2008). "Gregor Mendel's principles of inheritance form the cornerstone of modern genetics. So just what are they?". Nature Education. 1 (1): 134. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-19. สืบค้นเมื่อ 2021-05-13.
- Futuyma, Douglas J.; Kirkpatrick, Mark (2017). "Evolutionary Biology". Evolution (4th ed.). Sunderland, Mass.: Sinauer Associates. pp. 3–26.
- Noble, Ivan (2003-04-14). "Human genome finally complete". BBC News. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-14. สืบค้นเมื่อ 2006-07-22.
- Urry, Lisa; Cain, Michael; Wasserman, Steven; Minorsky, Peter; Reece, Jane (2017). "The chemical context of life". Campbell Biology (11th ed.). New York: Pearson. pp. 28–43. ISBN .
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "Water and carbon: The chemical basis of life". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 55–77. ISBN .
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "Water and carbon: The chemical basis of life". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 55–77. ISBN .
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "Water and carbon: The chemical basis of life". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 55–77. ISBN .
- Urry, Lisa; Cain, Michael; Wasserman, Steven; Minorsky, Peter; Reece, Jane (2017). "Carbon and the molecular diversity of life". Campbell Biology (11th ed.). New York: Pearson. pp. 56–65. ISBN .
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อfreeman2017b4
- Hillis, David M.; Sadava, David; Hill, Richard W.; Price, Mary V. (2014). "Carbon and molecular diversity of life". Principles of Life (2nd ed.). Sunderland, Mass.: Sinauer Associates. pp. 56–65. ISBN .
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อfreeman2017b5
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "Protein structure and function". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 78–92. ISBN .
- Urry, Lisa; Cain, Michael; Wasserman, Steven; Minorsky, Peter; Reece, Jane (2017). "The structure and function of large biological molecules". Campbell Biology (11th ed.). New York: Pearson. pp. 66–92. ISBN .
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "An introduction to carbohydrate". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 107–118. ISBN .
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "Lipids, membranes, and the first cells". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 119–141. ISBN .
- Freeman, Scott; Quillin, Kim; Allison, Lizabeth; Black, Michael; Podgorski, Greg; Taylor, Emily; Carmichael, Jeff (2017). "Nucleic acids and the RNA world". Biological Science (6th ed.). Hoboken, N.J.: Pearson. pp. 93–106. ISBN .
- Mazzarello, P. (May 1999). "A unifying concept: the history of cell theory". Nature Cell Biology. 1 (1): E13–15. doi:10.1038/8964. PMID 10559875. S2CID 7338204.
- Campbell, Neil A.; Williamson, Brad; Heyden, Robin J. (2006). Biology: Exploring Life. Boston: Pearson Prentice Hall. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-02. สืบค้นเมื่อ 2021-05-13.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ชีววิทยา ที่เว็บไซต์ Curlie
- OSU's Phylocode 2007-11-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Biology Online - Wiki Dictionary
- MIT video lecture series on biology 2010-05-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Biology and Bioethics 2007-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Biological Systems - Idaho National Laboratory
- The Tree of Life: A multi-authored, distributed Internet project containing information about phylogeny and biodiversity.
- Using the Biological Literature Web Resources
- ลิงก์วารสาร
- PLos Biology A peer-reviewed, open-access journal published by the
- Current Biology General journal publishing from all areas of biology
- Biology Letters A high-impact Royal Society journal publishing Biology papers of general interest
- Science Magazine Internationally Renowned AAAS Science Publication - See Sections of the Life Sciences
- International Journal of Biological Sciences A biological journal publishing significant peer-reviewed scientific papers
- [1] 2003-11-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน An journal publishing of broad relevance
แกลเลอรี
- Animalia - Bos primigenius taurus
- Planta - Triticum sp.
- Fungi - Morchella esculenta
- Stramenopila/Chromista - Fucus serratus
- Bacteria - Gemmatimonas aurantiaca (- = 1 Micrometer)
- Archaea - Halobacteria
- Virus - Gamma phage
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chiwwithya xngkvs biology epnkarsuksaekiywkbkhnadkhxngsingmichiwit epnaekhnnghnungkhxngwithyasastrthrrmchati natural science thisuksadwykhxbekhtthikwangaetprakxbdwyhlaypraednthiechuxmoyngekhadwyknepnxnhnungxnediywknaelasxdkhlxngkn twxyangechn singmichiwitthukchnidekidkhuncakesllhlayesllthisamarthpramwlkhxmulthangkrrmphnthuthiekharhsinrupyin sungsamarthsngtxihrunthdip xikpraednhlkkhuxwiwthnakarsungxthibaykhwamepnexkphaphaelakhwamhlakhlaykhxngchiwitkrabwnkarekiywkbphlngnganyngmikhwamsakhytxchiwitephuxihsingmichiwitsamarth ecriyetibotaelasubphnthu sudthayni singmichiwitthukchnidtxngsamarthrksadulyphaphkhxngkhxngsingmichiwitexngchiwwithyakhuxkarsuksaekiywkbchiwitaelachiwninthriytang bn aebkhthieriy E coli aelakaesll lang aelaefirn nkchiwwithyasamarthsuksachiwitidinkarcaaenkchnthangchiwwithyathihlakhlay nbtngaetxnuchiwwithyakhxngesllcnthungkaywiphakhsastraelasrirwithyakhxngphuchaelastw aela bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha wiwthnakarkhxngprachakr dngnnsakhayxykhxngchiwwithyamihlaysakha aetlasakhathukkahndodythrrmchatikhxngaelaekhruxngmuxthinkwicyich echnediywknkbnkwithyasastraekhnngxun nkchiwwithyaichkrabwnkarthangwithyasastrinkarkarsngekt tngkhatham srangsmmtithan thakarthdlxngaelasrupekiywkbolkrxbtwphwkekha chiwitbnolk sungekidkhuntngaetemux 3 7 phnlanpikxn mikhwamhlakhlaysungmak nkchiwwithyaidaeswngha suksaaelacdcaaenkrupaebbkhxngchiwitthihlakhlay tngaetsingmichiwitklumophraekhrioxtechn xarekhiyaelaaebkhthieriycnthungsingmichiwitklumyuaekhrioxtechn ophrthist fngic phuchaelastw singmichiwitthihlakhlaynithaihekidkhwamhlakhlaythangchiwphaphkhxngrabbniews sungmibthbathinkarhmunewiynkhxngsarxaharaelaphlngngan phansingaewdlxmchiwkayphaph khawa chiwwithya biology macakphasakrik khuxkhawa bios aeplwa singmichiwit aela logia aeplwa wicha hruxkarsuksaxyangmiehtuphlprawtisastrrupphaphkhxngaemlngwncakhnngsux ekhiynodyrxebirt hukrxebirt huk emuxpi kh s 1665 rakthanaerkerimkhxngwithyasastr rwmthungkaraephthy samarthyxnklbipinsmyxiyiptobranaelaemosopetemiyinchwngpraman 3000 thung 1200 kxnkhristkal phlngankhxngphwkekhathaihekidprchyathrrmchatikhxngkrikobran nkprchyachawkrikobranechn xarisotetil 384 322 kxnkhristkal miswnchwyxyangyinginkarphthnakhwamrudanchiwwithya ekhasuksasaehtukhxngehtukarninechingchiwwithyaaelakhwamhlakhlaythangchiwphaph phusubthxdkhxngxarisotetilerimsuksaphuchinthangwithyasastr nkwichakarinidekhiynekiywkbchiwwithya echn pi kh s 781 869 pi kh s 828 896 phuthiekhiynekiywkbphvkssastr aelarasis pi kh s 865 925 phuekhiynekiywkbkaywiphakhsastraelasrirwithya nkwichakarinolkxislamsuksakaraephthyepnxyangdibnthrrmeniymkhxngnkprchyachawkrik inkhnathiprawtisastrthrrmchaticaepniptamaenwkhidkhxngxarisotetil chiwwithyaerimphthnaxyangrwderwhlngkarphthnaklxngodyxnotni fn elewinhuk txmankwichakaridkhnphbtwxsuci aebkhthieriy aelakhwamhlakhlaykhxngculchiph karkhnphbkhxngnaipsuchiwwithyaaekhnngihm nnkhuxkitwithyaaelachwyphthnaethkhnikhkaraela khwamkawhnaindanculthrrsnmiphlxyangmaktxaenwkhidthangchiwwithya inchwngtnkhriststwrrsthi 19 nkchiwwithyachiihehnthungkhwamsakhykhxngesll inpi kh s 1838 aelaerimesnxaenwkhidihmthiichidthwip nnkhux 1 hnwyyxythisudkhxngsingmichiwitkhuxesllaela 2 esllaetlaesllmikhunsmbtikhxngchiwit thungaemwaphwkekhacakhdkhanaenwkhidthiwa 3 esllthukesllekidcakbangswnkhxngesllxun naipsukarsnbsnun echuxwathvsdikarekidkhunexng Spontaneous generation aetxyangirktamaelasamarthyunynthvsdithisam aelainchwngkhristthswrrsthi 1860 nkchiwwithyaswnihyyxmrbthvsdithngsamniaelarwbrwmepnthvsdiesll inkhnaediywkn xnukrmwithanaelakarcdcaaenkklayepncudsnickhxngnkprawtisastrthrrmchati kharl lineniystiphimphekiywkbxnukrmwithanphunthansahrbkarsuksathrrmchatiinpi kh s 1735 aelainkhristthswrrsthi 1750 ekhatngchuxwithyasastrsahrbsingmichiwitthiekhasuksathukspichisthuxwaaenwkhidkhxngspichisepnephiyngkarcdcaaenkthismmtikhunaelaimtaytw cungesnxaenwkhidkhxngkarsubechuxsayrwmknaethn inpi kh s 1842 chals darwinekhiynrangchbbaerkkhxnghnngsux aenwkhideruxngwiwthnakarerimepnthithkethiyngxyangcringcngdwyngankhxng phuesnxthvsdiwiwthnakarthisxdkhlxngknchals darwin nkthrrmchatiwithyachawbritichidrwbrwmphlkarsuksathangchiwphumisastrkhxnghumbxlth phumisastrexkrupniymkhxng nganekhiynekiywkbkaretibotkhxngprachakrkhxngmalths prakxbkbkhwamechiywchaykhxngdarwinexngindansnthanwithyaaelakarsarwcthrrmchatixyangyawnan ekidepnthvsdiwiwthnakarthiprasbkhwamsaerckwakhuxkarkhdeluxkodythrrmchati dwykarihehtuphlaelahlkthanediywknthaihxlefrd rsesl wxlelsnaipsukhxsrupediywkn thungaemcaimidthangankbdarwinktam phunthankhxngphnthusastryukhihmerimcakngankhxngekrkxr emnedilinpi kh s 1865 thaihekidhlkkarkhxngkarthaythxdinthangchiwwithya aetxyangirktam khwamsakhykhxngnganchinniimepnthiruckcnemuxtnkhriststwrrsthi 20 thiwiwthnakarklayepnthvsdiediywknruckinnam thithvsdiwiwthnakarkhxngdarwinrwmkbphnthusastrkhlassik inchwngkhristthswrrsthi 1940 aelatnkhristthswrrsthi 1950 karthdlxngcanwnmakodyxlefrd ehxrchiyaelamartha echskhnphbwadiexnexsungepnswnhnungkhxngokhromosm brrcuhnwykhxmulekiywkblksnasungepnthiruckphayhlngwayin khwamsnicinomedlkhxngsingmichiwitihmechn iwrsaelaaebkhthieriy prakxbkbkarkhnphbokhrngsrangekliywkhukhxngdiexnexodyecms di wtsnaelafransis khrikinpi kh s 1953 epntwbngchithungkarepliynphanekhasuyukhxnuphnthusastr nbtngaetkhristthswrrsthi 1950 epntnip chiwwithyathukkhyaykhxbekhtkarsuksathungradbomelkul rhsphnthukrrmthukthxdrhsody rxebirt dbebilyu hxlliyaelamaraechll wxrern inernebirkphayitaenwkhidkhxngokhdxn okhrngkarcionmmnusyeriminpi kh s 1990 ephuxsrangaephnthicionmkhxngmnusyphunthanthangekhmixatxmaelaomelkul singmichiwitthukchnidsrangkhunmacakthatuechnxxksiecn kharbxn ihodrecnaelainotrecn khidepnmwlswnihy rxyla 96 khxngsingmichiwit nxkcakniyngmiaekhlesiym fxsfxrs kamathn osediym khlxrinaelaaemkniesiym thatuthiaetktangknsamarthprakxbknepnsarprakxbechn na sungepnphunthankhxngchiwitchiwekhmikhuxkarsuksaekiywkbphayinaelaekiywkbsingmichiwit xnuchiwwithyaepnaekhnnghnunginchiwwithyathisuksaephuxekhaicphunthanthangomelkulkhxngkickrrmthangchiwwithya thngphayinaelarahwangesll rwmthungkarsngekhraahsarchiwomelkul karddaeplng klikaelakarmiptismphnth na omedlkhxngphnthaihodrecn 1 rahwangomelkulkhxngna chiwitekidkhunmacakmhasmuthraehngaerkkhxngolk sungekidkhunemuxpraman 3 8 phnlanpikxn tngaetsmynn nakhxy epnomelkulthiphbmakthisudinsingmichiwitthukchnid nasakhykbchiwitephraawanaepntwthalalaythimiprasiththiphaph samarthlalaysarechn osediymaelakhlxirdixxxnhruxsaromelkulelk ekidepnsarlalayinna emuxlalayinnaaelw twlalaymksamarthmiptismphnthkbtwlalayxiktwcungsamarththaihekidptikiriyaekhmisungrksadulyphaphkhxngchiwitid inaengkhxng naepn ruprangmumngxekidkhunphnthaokhewelnsmikhwrahwangihodrecnsxngxatxm H kbxxksiecnhnungxatxm O epnsutr H2O enuxngcakphntha O H mikhw xatxmxxksiecnmipraculbelknxyaelaxatxmihodrecnthngsxngmipracubwkelknxymikhwkhxngnathaihmnsamarthdungdudkbomelkulnaomelkulxuniddwyphnthaihodrecn thaihnamikhunsmbtikar cohesive aerngtungphiwekidcakaerngechuxmaenncakkardungdudrahwangomelkulthiphiwkhxngehlw nayngmikhunsmbtikar odymnsamarthekaakbphunphiwkhxngomelkulxunthiimichna sungxacmikhwhruxmipracu naemuxepnkhxngehlwmihnaaennkwatxnepnkhxngaekhng hruxnaaekhng khunsmbtiechphaatwnithaihnaaekhngsamarthlxyehnuxnaechn bxna thaelsabaelamhasmuthr thahnathiepnchnwnkhwamrxnihkhxngehlw pxngknkhwameyncakxakaseynkhangbn namikhwamcuinkardudsbphlngngan thaihmikhwamcukhwamrxncaephaasungkwatwthalalayxunechn exthanxl dngnnphlngnganprimanmakcungcaepninkarthalayphnthaihodrecnrahwangomelkulephuxepliynsthanacaknakhxngehlwepnixna namiomelkulthiimesthiyrxyangsmburn enuxngcakomelkulnaaetlaomelkulaetktwepnihodrecnixxxnaelaihdrxksilixxxn kxnklbmaepnomelkulnaxikkhrng in canwnihodrecnixxxncasmdul hruxethakb canwnihdrxksilixxxn sngphlihmikhaphiexchepnklang sarprakxbxinthriy sarprakxbxinthriyechnkluokhsmikhwamsakhytxsingmichiwit sarprakxbxinthriykhuxomelkulthimikharbxnsrangphnthakbhatuxunechn ihodrecn thukomelkulthiepnswnprakxbkhxngsingmichiwitykewnnaprakxbdwykharbxnthngsin kharbxnsamarthsrangphnthaokhewelntkbxatxmidsungsud 4 xatxm thaihsamarthsrangepnomelkulthihlakhlay khnadihyaelasbsxnid twxyangechn xatxmkharbxnhnungxatxmsamarthsrangphnthaokhewelntthiepnphnthaediywsiphnthaechninmiethn phnthakhusxngphnthaechnkharbxnidxxkisd CO2 hruxhnungphnthaechnkharbxnmxnxkisd CO nxkcaknikharbxnsamarthsrangokhrngsrangosyawcakechn hruxokhrngsrangkhlaywngechnkluokhs okhrngsrangthingaythisudkhxngsarprakxbxinthriykhuxihodrkharbxn sungepnsarprakxbxinthriythiprakxbdwyxatxmihodrecnthiechuxmkboskhxngxatxmkharbxn oshlkkhxngihodrkharbxnsamarththukaethnthidwythatuxunechn xxksiecn O ihodrecn H fxsfxrs P aelakamathn S sungsamarthepliynaeplngsmbtikhxngsarprakxbnn klumkhxngxatxmthiprakxbdwythatuehlani O H P aela S aelaechuxmphnthakbxatxmkharbxnklanghruxoshlkthukeriykwahmufngkchn hmufngkchnthiphbmakinsingmichiwitmi 6 hmuidaek hmuxamion hmukharbxksil hmuihdrxksil hmufxseftaela inpi kh s 1953 aesdngwasarprakxbxinthriysamarthsngekhraahodyimtxngerimdwysingmichiwitphayitrabbpid odyeliynaebbsphaphaewdlxmkhxng dngnnsarprakxbxinthriythisbsxnsamarthekidkhunidexnginolkyukhaerkerim duephimthikaenidchiwitcaksingirchiwit maokhromelkul oprtinhiomoklbinokhrngsrang a pthmphumi b thutiyphumi c ttiyphumiaela d ctutthphumi maokhromelkulkhuxomelkulkhnadihythisrangcakhnwyyxyhruxmxnxemxr mxnxemxrprakxbdwynatal krdxamionaelaniwkhlioxithdkharobihedrtsrangcakmxnxemxraelaphxliemxrkhxngnatal liphidepnmaokhromelkulklumediywthiimidprakxbepnphxliemxr liphidprakxbdwysetxrxydfxsofliphidaelaikhmn sungepnsarimmikhwaelaihodrofbik imchxbna oprtinepnmaokhromelkulthihlakhlaythisudechn exnism omelkulsngsyyankhnadihy aexntibxdiaela hnwyyxykhxngoprtinkhuxkrdxamion krdxamion 20 twthukichinkarsrangoprtin krdniwkhlixikepnphxliemxrkhxngniwkhlioxithd hnathikhxngkrdniwkhlixikkhuxichekb sngaelaaesdngkhxmulphnthukrrmesllthvsdiesllklawwaesllkhuxhnwyyxythisudkhxngsingmichiwit singmichiwitthukchnidprakxbdwyesllhnungesllhruxmakkwaaelaesllthukesllekidcakesllthimixyukxnodyxasykrabwnkaraebngesll esllswnihymikhnadelkmak mikhwamyawphasunyklangrahwang 1 thung 100 imokhremtraelasamarthmxngehnphayitklxngculthrrsnaebbichaesnghruxklxngculthrrsnxielktrxnethann esllodythwipmisxngpraephthidaekesllyuaekhrioxt sunghmaythungesllthiminiwekhliys aelaesllophraekhrioxt sungimminiwekhliys ophraekhrioxtkhuxsingmichiwitesllediywechnaebkhthieriy inkhnathiyuaekhrioxtxacmiesllediywhruxhlayesllkid insingmichiwithlayesll esllthukesllinrangkaykhxngsingmichiwitekidcakesllesllediywthiekidcakesllikhthiptisnthiaelw okhrngsrangkhxngesll swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid kumphaphnth 2024 rabbkarsuksakarsuksasingmichiwitinradbxatxmaelaomelkul cdxyuinsakhawichaxnuchiwwithya chiwekhmi aelaxnuphnthusastr karsuksainradbesll cdxyuinsakhawichaesllwithya aelainradbenuxeyux cdxyuinsakhawichasrirwithya kaywiphakhsastr aelamiychwithya sakhawichakhphphwithyaepnkarsuksakarecriyetibotaelaphthnakarkhxngtwxxnkhxngsingmichiwit sakhawichaphnthusastrepnkarsuksakarthaythxdlksnathangphnthukrrmkhxngsingmichiwitcakrunhnungipsuxikrunhnung sakhawichaphvtikrrmwithyaepnkarsuksaphvtikrrmkhxngklumsingmichiwit sakhawichaphnthusastrprachakrepnkarsuksaphnthusastrinradbprachakrkhxngsingmichiwit karsuksakhwamsmphnthrahwangsingmichiwitchnidhnungkbsingmichiwitxikchnidhnung aelarahwangsingmichiwitkbthinthixyuxasy cdxyuinsakhawichaniewswithyaaelachiwwithyakhxngwiwthnakarpraktkarnkarepliynaeplngcakthangthrrmchati ekidcakkarkhwamaetktangkhxngsphaphphunthi aelakarichchiwitkhxngkardarngchiwit echn nknangaexn inthael kb nknangaexn bnphakhphunthixyuinwngstrakulediywknaet aetktanginkardarngchiwitaelalksnakhxngsphaphrangkay epntn karaebngklumniepnephiyngkarcdhmwdhmuihsakhatang inchiwwithyaihepnraebiybaelaekhaicngay aetkhwamcringaelw khxbekhtkhxngsakhatang nnimaennxn aelasakhawichaswnihykcaepntxngichkhwamrucaksakhaxundwy twxyangechn sakhachiwwithyakhxngwiwthnakar txngichkhwamrucaksakhaxnuwithya ephuxcdladbkhxngdiexnex sungcachwyihekhaickhwamaeprphnthangphnthukrrmkhxngprachakr hruxsakhawichasrirwithya txngichkhwamrucaksakhachiwwithyakhxngesll ephuxxthibaykarthangankhxngrabbxwywa pccubnchiwwithyamiaekhnngyxy 3 klumidaekklumwichathisuksasingmichiwitaetlaklumsingmichiwit klumwichathisuksaokhrngsrang hnathiaelakarthangankhxngsingmichiwitaelaklumwichaxun dngni klumwichathisuksasingmichiwitaetlaklumsingmichiwit stwwithya zoology suksachiwwithyakhxngstw tngaetstwchntaphwk fxngna aemngkaphrun phyathitwaebn phyathitwklm klumhnxnplxng stwthimikhxplxng klumstwphwkhxy pladaw cnthungstwmikraduksnhlngechn pla stweluxykhlan stweliynglukdwynm phvkssastr Botany epnsakhawichathisuksaekiywkbphuch suksathngindanokhrngsrang karecriyetibot karsubphnthu krabwnkarsrang aexaenbxlisum aelaslay aekhaethbxlisum orkh aelakhunsmbtithangekhmiaelakhwamsmphnthrahwangklumtang karkracaykhxngphuchinswntang khxngolk culchiwwithya Microbiology khuxkarsuksaekiywkbsingmichiwitthimikhnadelk swnmakmxngimehndwytaeplasungeriykwaculinthriy idaek aebkhthieriy xarekhiy iwrs echuxraaelayist kitwithya Entomology epnsakhawichathisuksaekiywkbstwinklumkhxngaemlng karcdcaaenk srirwithya snthanwithya aelaniewswithyakhxngaemlng pksiwithya Ornithology epnsakhawichathisuksaekiywkbnk hrux Mycology epnsakhawichathisuksaekiywkbehdaelara minwithya Ichthyology suksapla lksnaruprangphaynxkkhxngpla rabbtang phayintwpla karcdcaaenkplaxxkepnklumhruxpraephthtang aelaeruxngxun thiekiywkhxngkbpla sngkhwithya Malacology suksahxy odyechphaahxynacudthiepnecabansngphankhxngphyathi prsitwithya Parasitology suksaprsit sungdarngchiphodyepntwebiynkhxngsingmichiwitchnidxun echn phyathitwklm phyathitwaebnklumwichathisuksacakokhrngsrang hnathiaelakarthangankhxngsingmichiwit kaywiphakhsastr Anatomy epnkarsuksaokhrngsrangaelakarcderiyngtwkhxngrangkaymnusy sakhawichahlkkhxngkaywiphakhsastridaek mhkaywiphakhsastr Gross anatomy sungekiywkhxngkbokhrngsrangthisamarthmxngehniddwytaepla culkaywiphakhsastr hruxmiychwithya hruxwithyaenuxeyux Histology sungekiywkhxngkbkarsuksakaywiphakhsastrinradbculphakhsungtxngichklxngculthrrsn snthanwithya Morphology suksaokhrngsrangaelaruprangkhxngsingmichiwit srirwithya Physiology epnsakhawichathisuksaekiywkbkarthangankhxngrabbtang insingmichiwit thngindanklsastr dankayphaph aeladanchiwekhmi aebngepn 2 sakhayxy khux srirwithyakhxngphuch aelasrirwithyakhxngstw xnuchiwwithya Molecular biology hrux chiwwithyaomelkul epnsakhayxy thiaetkxxkmacakchiwekhmi ennsuksaokhrngsrangaelakarthangankhxngyin gene sungepnrhsphnthukrrmbnsaydiexnex hrux xarexnex tlxdcnkarkhwbkhumkarthangankhxngyin inradbtang cnxxkmaepn say xarexnex aela epn oprtin phnthusastr Genetics khux sakhaaekhnnghnungkhxngwithyasastr sungwadwykarsuksahnwyphnthukrrm hrux yin krrmphnthu heredity aelawiwthnakarinsingmichiwittang lksnathangphnthukrrm karthaythxdlksnaphnthukrrminsingmichiwit cakchwchiwithnungipxikchwchiwithnung esllphnthusastr Cytogenetics suksaphnthusastrinradbesll ruprang lksna aelacanwnkhxngokhromosminsingmichiwit taaehnngthitngkhxngyinbnokhromosm aelakaraebngesllinsingmichiwit niewswithya Ecology khux wichathisuksaekiywkbkhwamsmphnthrahwangsingmichiwitkbthinthixyuaelasingaewdlxm khphphwithya hrux withyaexmbriox Embryology epnkarsuksakarecriykhxngexmbriox exmbrioxkhuxkhnhnungkhxngkarecriykhxngsingmichiwitkxnkhlxdhruxxxkcakikh hruxinphuchkhuxinrayakxn germination chiwwithyakhxngesll cell biology hrux withyaesll cytology epnwichathisuksaekiywkbesll thngindankhunsmbtithangsrirwithya okhrngsrang xxraekenllthixyuphayin ptismphnthkbsingaewdlxm wdckresll karaebngesll aelakartaykhxngesll mhphyathiwithya Gross pathology hmaythunglksnaaesdnginradbmhphphakh hruxradbtaepla khxngorkhthiekidinxwywa enuxeyux aelachxngtw sphthdngklawichknthwipinwichaphyathikaywiphakh anatomical pathology ephuxhmaythungkartrwcephuxwinicchyhakhxmulinchinenuxtwxyanghruxkarchnsutrphliksph autopsy klumwichaxun chiwekhmi Biochemistry epnkarsuksakhwamepnipinradbchiwomelkulkhxngsingmichiwit thngxngkhprakxbthangchiwekhmikhxngesllhruxxnuphakh rwmthungiwrs okhrngsrangaelakarepliynaeplng karsrangaelathalayomelkulthngsaromelkulelkaelaomelkulihyechn oprtin diexnex xarexnex karkhwbkhumkarepliynaeplngkhxngomelkul karkhwbkhumkarthanganinradbtang karsrangphlngnganaelakarichphlngngan xnepnpraktkarnkhxngchiwit snthanwithya Morphology suksarupphrrnsnthankhxngsingmichiwit imwacaepnculchiph stwhruxphuch ephuxprakxbkarrabuchnid echn lksnaruprangkhxngdxkimhruxkarcderiyngtwkhxngib xnukrmwithan Taxonomy suksakarcdcaaenksingmichiwit xxkepnhmwdhmu inthangwiwthnakar evolution smykxnennkhxmulsnthanwithya pccubnichkhxmulradbomelkulmakkhun klayepnwicha Molecular Systematics brrphchiwinwithya Paleontology suksafxssil fossils chiwsarsnethssastr Bioinformatics hrux chiwwithyaechingkhanwn computational biology epnburnakarkhxngshwicha suksaodyichkhwamrucak xnuchiwwithya chiwekhmi khnitsastrprayukt sthitisastr sarsnethssastr aelawithyakarkhxmphiwetxr ephuxcdekbkhxmulxyangepnrabb subkhn pramwlphlkhxmulthangchiwwithya ephuxtxbpyhathangchiwwithya hruxthaaebbcalxngephuxthanaykhwamepnipidthangchiwwithya thaihekidsastrihmtx ma echn cionmiks Genomics Proteomics Metabolomics l chiwwithyarabb Systems biology epnsastrthixasykhwamruthangchiwsarsnethssastr khnitsastrchnsung withyakarkhxmphiwetxr aela chiwekhmi ephuxthaaebbcalxngkhxngpratkarnphayinesll hruxinsingmichiwit bnkhxmphiwetxr odyxasykarkhanwn cudmunghmaykephuxthanaypraktkarnkhxngchiwitineruxngtang xathi kartxbsnxngkhxngeslltxya hrux txsphawatang epntn kxnkarthakarthdlxngcringinhxngptibtikar wet lab prasathwithyasastr epnkarsuksaekiywkb okhrngsrang hnathi chiwekhmi srirwithya ephschwithya aela phyathiwithya khxngrabbprasath nxkcaknikarsuksaekiywkb phvtikrrm aela kareriynru yngthuxwaepnsakhakhxngprasathwithyaxikdwykhxbekhtkhxngchiwwithyachiwwithyaepnsakhawichathiihymakcnimxacsuksaepnsakhaediywid cungtxngaeykxxkepnsakhayxytang inhwkhxnicaaebngsakhayxyxxkepn 4 klum klumthihnungepnsakhathisuksaokhrngsrangphunthankhxngsingmichiwit xyangechnesll yin epntn klumthisxngsuksakarthangankhxngokhrngsrangtang tngaetradbenuxeyux radbxwywa cnthungradbrangkay klumthisamsuksaprawtisastrkhxngsingmichiwit klumthisisuksakhwamsmphnthinrahwangsingmichiwit xyangirktam karaebngklumniepnephiyngkarcdhmwdhmuihsakhatang inchiwwithyaihepnraebiybaelaekhaicngay aetkhwamcringaelw khxbekhtkhxngsakhatang nnimaennxn aelasakhawichaswnihykcaepntxngichkhwamrucaksakhaxundwy twxyangechn sakhachiwwithyakhxngwiwthnakar txngichkhwamrucaksakhaxnuwithya ephuxcdladbkhxngdiexnex sungcachwyihekhaickhwamaeprphnthangphnthukrrmkhxngprachakr hruxsakhawichasrirwithya txngichkhwamrucaksakhachiwwithyakhxngesll ephuxxthibaykarthangankhxngrabbxwywa okhrngsrangkhxngchiwit aephnphaphkhxngesllstw aesdngokhrngsrangaelaxxraekenlltang xnuchiwwithyaepnsakhahnunginchiwwithya sungsuksainradbomelkul sakhanimikhwamsxdkhlxngkbsakhaxun inchiwwithya odyechphaasakhaphnthusastraelachiwekhmi xnuchiwwithyaepnkarsuksaptismphnthkhxngrabbtang inesll sungidaek khwamsmphnthrahwang diexnex xarexnex karsngekhraahoprtin aelakarkhwbkhumkhwamsmphnthehlani chiwwithyakhxngesllepnsakhathisuksalksnathangsrirwithyakhxngesll rwmipthungphvtikrrm ptismphnth aelasingaewdlxmkhxngesll thngradbculphakhaelaradbomelkul sakhawichanicasuksawicythngsingmichiwitesllediyw xyangechnaebkhthieriy aelaesllthithahnathiphiessinsingmichiwithlayesll xyangechnmnusy phnthusastrepnsakhathisuksayin phnthukrrm aelakarphnaeprkhxngsingmichiwit inkarsuksawicysmyihm miekhruxngmuxthisakhyinkarsuksahnathikhxngyin hruxkhwamsmphnththangphnthukrrm insingmichiwit khxmulthangphnthukrrmcaxyuinokhromosm sungkhxmulcaaethnthidwyokhrngsrangthangekhmikhxngomelkulkhxngdiexnex srirwithyakhxngsingmichiwit srirwithyaepnsakhathisuksaekiywkbkrabwnkarthangkayphaphaelathangchiwekhmiinsingmichiwit ephuxihekhaichnathikhxngokhrngsrangtang sungepnhlkkarsakhyinkarsuksathangchiwwithya karsuksathangsrirwithyasamarthaebngxxkidepnsrirwithyakhxngphuchaela aethlkkhxngsrirwithyainsingmichiwitthukchnidlwnaetehmuxnkn twxyangechn karsuksasrirwithyakhxngesllyistsamarthprayuktichkbkarsuksainesllmnusyid srirwithyakhxngstwepnkarsuksathnginmnusyaelasingmichiwitchnidxun srirwithyakhxngphuchkmiwithikarsuksaechnediywkbinstw kaywiphakhsastrepnsakhathisakhyinsrirwithya sungsuksaekiywkbhnathiaelakhwamsmphnthkhxngrabbxwywainsingmichiwit echn rabbprasath rabbphumikhumkn rabbtxmirthx rabbhayic rabbihlewiynolhit karsuksaekiywkbrabbehlanisamarthaebngxxkepnsakhawichatang idxik echn prasathwithya withyaphumikhumkn khwamhlakhlayaelawiwthnakarkhxngsingmichiwit karsuksawiwthnakarmikhwamekiywkhxngkbtnkaenidaelakarsubthxdlksnakhxngspichis rwmthungkarepliynaeplnglksnathiphanma aelatxngxasynkwithyasastrcakhlaysakhathiekiywkhxngkbxnukrmwithankhxngsingmichiwit sakhawiwithnakarmirakthancaksakhabrrphchiwinwithya sungxasysakdukdabrrphinkartxbkhathamekiywkbrupaebbaelacnghwakhxngwiwithnakar sakhawichahlkihythiekiywkbxnukrmwithanmi 2 sakha khux phvkssastr aelastwwithya phvkssastrepnsakhathisuksaekiywphuch mienuxhakhrxbkhlumkwangkhwangtngaetkarecriyetibot karsubphnthu emaethbxlisum orkh aelawiwthnakarkhxngphuch swnstwwithyacasuksaekiywkbstw rwmthnglksnathangsrirwithyakhxngstwsungxyuinsakhakaywiphakhsastraelakhphphwithya klikthangphnthusastraelakarecriykhxngphuchaelastwcasuksainsakhaxnuchiwwithya xnuphnthusastr aelachiwwithyakhxngkarecriy khwamsmphnthrahwangsingmichiwit sayiyxahar prakxbkhuncakhwngosxaharhlayhwngos aesdngthungkhwamsmphnththislbsbsxnkhxngsingmichiwitinrabbniews sakhaniewswithyacasuksakarkracayaelakhwamhnaaennkhxngsingmichiwit rwmthngkhwamsmphnthrahwangsingmichiwitkbsingaewdlxm singaewdlxmkhxngsingmichiwitcahmaythungthinthixyuxasy sungcarwmipthungpccythangkayphaphxyangsphaphphumixakasaelalksnathangphumisastr rwmthngsingmichiwitxun thixasyxyuinbriewnediywkn karsuksarabbthangniewswithyamihlayradb tngaetradbsingmichiwit radbprachakr radbrabbniews ipcnthungradbolkkhxngsingmichiwit cungcaehnidwa niewswithyaepnsakhathikhrxbkhlumthungsakhaxun xikmakmay sakhaphvtikrrmwithyacasuksaphvtikrrmkhxngstw odyechphaastwsngkhmxyangstwcaphwklingaelastwkinenux bangkhrngxaccdepnsakhahnunginstwwithya nkphvtikrrmwithyacaennsuksathiwiwthnakarkhxngphvtikrrm aelakhwamekhaicinphvtikrrm odytngxyubnthvsdikarkhdeluxkodythrrmchatiraykarxangxingUrry Lisa Cain Michael Wasserman Steven Minorsky Peter Reece Jane 2017 Evolution the themes of biology and scientific inquiry Campbell Biology 11th ed New York Pearson pp 2 26 ISBN 978 0134093413 Hillis David M Heller H Craig Hacker Sally D Laskowski Marta J Sadava David E 2020 Studying life Life The Science of Biology 12th ed W H Freeman ISBN 978 1319017644 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 Biology and the three of life Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 1 18 ISBN 978 0321976499 Modell Harold Cliff William Michael Joel McFarland Jenny Wenderoth Mary Pat Wright Ann December 2015 A physiologist s view of homeostasis Advances in Physiology Education 39 4 259 266 doi 10 1152 advan 00107 2015 PMC 4669363 PMID 26628646 Davies PC Rieper E Tuszynski JA January 2013 Self organization and entropy reduction in a living cell Bio Systems 111 1 1 10 doi 10 1016 j biosystems 2012 10 005 PMC 3712629 PMID 23159919 Based on definition from Texas State University at San Marcos khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2004 06 08 Craig Nancy 2014 Molecular Biology Principles of Genome Function OUP Oxford ISBN 978 0 19 965857 2 Mosconi Francesco Julou Thomas Desprat Nicolas Sinha Deepak Kumar Allemand Jean Francois Vincent Croquette Bensimon David 2008 Some nonlinear challenges in biology Nonlinearity 21 8 T131 Bibcode 2008Nonli 21 131M doi 10 1088 0951 7715 21 8 T03 S2CID 119808230 Howell Elizabeth 8 December 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 17 August 2018 subkhnemux 14 February 2018 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint unfit URL Pearce Ben K D Tupper Andrew S aelakhna March 1 2018 Constraining the Time Interval for the Origin of Life on Earth 18 3 343 364 1808 09460 Bibcode 2018AsBio 18 343P doi 10 1089 ast 2017 1674 PMID 29570409 S2CID 4419671 Lindberg David C 2007 Science before the Greeks The beginnings of Western science the European Scientific tradition in philosophical religious and institutional context 2nd ed Chicago Illinois University of Chicago Press pp 1 20 ISBN 978 0 226 48205 7 Grant Edward 2007 Ancient Egypt to Plato A History of Natural Philosophy From the Ancient World to the Nineteenth Century New York Cambridge University Press pp 1 26 ISBN 978 052 1 68957 1 Magner Lois N 2002 A History of the Life Sciences Revised and Expanded CRC Press ISBN 978 0 203 91100 6 cakaehlngedimemux 2015 03 24 Serafini Anthony 2013 The Epic History of Biology Springer ISBN 978 1 4899 6327 7 cakaehlngedimemux 15 April 2021 subkhnemux 14 July 2015 praoykhhruxswnkhxngbthkhwamkxnhnani prakxbdwykhxkhwamcaksingphimphsungpccubnepnsatharnsmbti Chisholm Hugh b k 1911 Theophrastus saranukrmbritanika kh s 1911 11 ed sankphimphmhawithyalyekhmbridc Fahd Toufic 1996 Botany and agriculture in Morelon Regis Rashed Roshdi b k Vol 3 p 815 ISBN 978 0 415 12410 2 Magner Lois N 2002 A History of the Life Sciences Revised and Expanded CRC Press pp 133 44 ISBN 978 0 203 91100 6 cakaehlngedimemux 2015 03 24 2003 7 Genesis The Evolution of Biology New York Oxford University Press ISBN 978 0 19 515618 8 Coleman William 1977 Biology in the Nineteenth Century Problems of Form Function and Transformation New York Cambridge University Press ISBN 978 0 521 29293 1 Mayr Ernst The Growth of Biological Thought chapter 4 Mayr Ernst The Growth of Biological Thought chapter 7 b k 1909 The foundations of The origin of species a sketch written in 1842 PDF Cambridge Printed at the University Press p 53 LCCN 61057537 OCLC 1184581 PDF cakaehlngedimemux 4 March 2016 subkhnemux 27 November 2014 The Structure of Evolutionary Theory The Belknap Press of Harvard University Press Cambridge 2002 ISBN 0 674 00613 5 p 187 Mayr Ernst The Growth of Biological Thought chapter 10 Darwin s evidence for evolution and common descent and chapter 11 The causation of evolution natural selection Larson Edward J 2006 Ch 3 Evolution The Remarkable History of a Scientific Theory Random House Publishing Group ISBN 978 1 58836 538 5 cakaehlngedimemux 2015 03 24 Henig 2000 Op cit pp 134 138 Miko Ilona 2008 Gregor Mendel s principles of inheritance form the cornerstone of modern genetics So just what are they Nature Education 1 1 134 cakaehlngedimemux 2019 07 19 subkhnemux 2021 05 13 Futuyma Douglas J Kirkpatrick Mark 2017 Evolutionary Biology Evolution 4th ed Sunderland Mass Sinauer Associates pp 3 26 Noble Ivan 2003 04 14 Human genome finally complete BBC News cakaehlngedimemux 2006 06 14 subkhnemux 2006 07 22 Urry Lisa Cain Michael Wasserman Steven Minorsky Peter Reece Jane 2017 The chemical context of life Campbell Biology 11th ed New York Pearson pp 28 43 ISBN 978 0134093413 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 Water and carbon The chemical basis of life Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 55 77 ISBN 978 0321976499 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 Water and carbon The chemical basis of life Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 55 77 ISBN 978 0321976499 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 Water and carbon The chemical basis of life Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 55 77 ISBN 978 0321976499 Urry Lisa Cain Michael Wasserman Steven Minorsky Peter Reece Jane 2017 Carbon and the molecular diversity of life Campbell Biology 11th ed New York Pearson pp 56 65 ISBN 978 0134093413 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux freeman2017b4 Hillis David M Sadava David Hill Richard W Price Mary V 2014 Carbon and molecular diversity of life Principles of Life 2nd ed Sunderland Mass Sinauer Associates pp 56 65 ISBN 978 1464175121 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux freeman2017b5 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 Protein structure and function Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 78 92 ISBN 978 0321976499 Urry Lisa Cain Michael Wasserman Steven Minorsky Peter Reece Jane 2017 The structure and function of large biological molecules Campbell Biology 11th ed New York Pearson pp 66 92 ISBN 978 0134093413 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 An introduction to carbohydrate Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 107 118 ISBN 978 0321976499 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 Lipids membranes and the first cells Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 119 141 ISBN 978 0321976499 Freeman Scott Quillin Kim Allison Lizabeth Black Michael Podgorski Greg Taylor Emily Carmichael Jeff 2017 Nucleic acids and the RNA world Biological Science 6th ed Hoboken N J Pearson pp 93 106 ISBN 978 0321976499 Mazzarello P May 1999 A unifying concept the history of cell theory Nature Cell Biology 1 1 E13 15 doi 10 1038 8964 PMID 10559875 S2CID 7338204 Campbell Neil A Williamson Brad Heyden Robin J 2006 Biology Exploring Life Boston Pearson Prentice Hall ISBN 978 0132508827 cakaehlngedimemux 2014 11 02 subkhnemux 2021 05 13 aehlngkhxmulxunchiwwithya thiewbist Curlie OSU s Phylocode 2007 11 14 thi ewyaebkaemchchin Biology Online Wiki Dictionary MIT video lecture series on biology 2010 05 29 thi ewyaebkaemchchin Biology and Bioethics 2007 06 26 thi ewyaebkaemchchin Biological Systems Idaho National Laboratory The Tree of Life A multi authored distributed Internet project containing information about phylogeny and biodiversity Using the Biological Literature Web ResourceslingkwarsarPLos Biology A peer reviewed open access journal published by the Current Biology General journal publishing from all areas of biology Biology Letters A high impact Royal Society journal publishing Biology papers of general interest Science Magazine Internationally Renowned AAAS Science Publication See Sections of the Life Sciences International Journal of Biological Sciences A biological journal publishing significant peer reviewed scientific papers 1 2003 11 10 thi ewyaebkaemchchin An journal publishing of broad relevanceaeklelxriAnimalia Bos primigenius taurus Planta Triticum sp Fungi Morchella esculenta Stramenopila Chromista Fucus serratus Bacteria Gemmatimonas aurantiaca 1 Micrometer Archaea Halobacteria Virus Gamma phage