เนื้อเยื่อ (อังกฤษ: Tissue) ในทางชีววิทยาคือกลุ่มของเซลล์ที่ทำหน้าที่ร่วมกันในสิ่งมีชีวิต
วิชาการศึกษาเนื้อเยื่อ เรียกว่า มิญชวิทยา (Histology) หรือ จุลกายวิภาคศาสตร์ (Microanatomy) หรือหากเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโรคเรียกว่า จุลพยาธิวิทยา (histopathology)
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเนื้อเยื่อโดยทั่วไปคือ (wax block) , (tissue stain) , กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (optical microscope) ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็น(กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน) (electron microscopy) , immunofluorescence, และ (frozen section) เป็นเทคนิคและความรู้ใหม่ที่เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ด้วยเครื่องมือต่างๆ เหล่านี้เราสามารถตรวจพยาธิสภาพ เพื่อการวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้
เนื้อเยื่อสัตว์
ในร่างกายของสัตว์ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ชั้นต่ำลงไปเช่นแมลง ต่างประกอบด้วยเนื้อเยื่อพื้นฐาน 4 ประเภท เนื้อเยื่อเหล่านี้รวมตัวกันเป็นโครงสร้างและอวัยวะต่าง ๆ กัน
- เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelium) เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบไปด้วยชั้นของเซลล์ที่ปกคลุมพื้นผิวของอวัยวะต่าง ๆ เช่น พื้นผิวของผิวหนัง และบุผิวทางเดินอาหาร มีหน้าที่ปกป้องจากสิ่งแวดล้อมภายนอก หลั่งสารและดูดซึมสาร
- เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) ทำหน้าที่เป็นโครงร่างยึดส่วนต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน เช่น เลือด หรือ กระดูก
- เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Muscular tissue) เซลล์กล้ามเนื้อประกอบด้วยฟิลาเมนต์ (เส้นใย) หลายเส้นที่หดตัวได้ สามารถเคลื่อนที่ผ่านกันและเปลี่ยนขนาดของเซลล์ได้ เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อแบ่งได้ออกเป็น 3 ประเภทคือ กล้ามเนื้อเรียบ (visceral or smooth muscle) พบอยู่ที่ผนังของอวัยวะภายใน, กล้ามเนื้อโครงร่าง (skeletal muscle) ซึ่งยึดอยู่กับกระดูก ทำหน้าที่ในการเคลื่อนไหว และกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) พบได้ที่หัวใจ
- เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue) ประกอบด้วยเซลล์ที่รวมตัวกันเป็นสมอง (brain) , ไขสันหลัง (spinal cord) , และระบบประสาทนอกส่วนกลาง (peripheral nervous system)
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อที่พบได้ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์อื่น ๆ เช่น เนื้อเยื่อท่อลำเลียง (Vascular tissue) ในพืช เช่น ไซเล็ม (xylem) และ โฟลเอ็ม (phloem) เนื้อเยื่อพืชสามารถแบ่งได้กว้าง ๆ ออกเป็น 3 ระบบ คือ (epidermis) , เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) และเนื้อเยื่อท่อลำเลียง (Vascular tissue) ทั้งหมดนี้เราเรียกรวมกันว่า มวลชีวภาพ (biomass)
- (Epidermis) เป็นกลุ่มของเซลล์ที่รวมตัวกันอยู่พื้นผิวภายนอกของใบไม้และพืชที่มีอายุไม่มาก
- เนื้อเยื่อท่อลำเลียง (Vascular tissue) เนื้อเยื่อท่อลำเลียงหลักที่สำคัญของพืชคือ ไซเล็ม (xylem) และ โฟลเอ็ม (phloem) ทำหน้าที่ขนส่งน้ำ สารละลาย และสารอาหารภายในต้นพืช
- เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่ออื่น ๆ น้อยที่สุด เนื้อเยื่อพื้นทำหน้าที่ผลิตสารอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และเก็บสารอาหารเอาไว้
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Raven, Peter H., Evert, Ray F., & Eichhorn, Susan E. (1986). Biology of Plants (4th ed.). New York: Worth Publishers. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
enuxeyux xngkvs Tissue inthangchiwwithyakhuxklumkhxngesllthithahnathirwmkninsingmichiwit wichakarsuksaenuxeyux eriykwa miychwithya Histology hrux culkaywiphakhsastr Microanatomy hruxhakepnkarsuksathiekiywkhxngkborkheriykwa culphyathiwithya histopathology ekhruxngmuxthiichinkarsuksaenuxeyuxodythwipkhux wax block tissue stain klxngculthrrsnaebbaesng optical microscope sungtxmamikarphthnaepnklxngculthrrsnxielktrxn electron microscopy immunofluorescence aela frozen section epnethkhnikhaelakhwamruihmthiephingkaenidkhunemuximnanmani dwyekhruxngmuxtang ehlanierasamarthtrwcphyathisphaph ephuxkarwinicchyaelaphyakrnorkhidenuxeyuxstwinrangkaykhxngstwimwacaepnmnusyhruxstwchntalngipechnaemlng tangprakxbdwyenuxeyuxphunthan 4 praephth enuxeyuxehlanirwmtwknepnokhrngsrangaelaxwywatang kn enuxeyuxbuphiw Epithelium epnenuxeyuxthiprakxbipdwychnkhxngesllthipkkhlumphunphiwkhxngxwywatang echn phunphiwkhxngphiwhnng aelabuphiwthangedinxahar mihnathipkpxngcaksingaewdlxmphaynxk hlngsaraeladudsumsar enuxeyuxekiywphn Connective tissue thahnathiepnokhrngrangyudswntang ekhaiwdwykn echn eluxd hrux kraduk enuxeyuxklamenux Muscular tissue esllklamenuxprakxbdwyfilaemnt esniy hlayesnthihdtwid samarthekhluxnthiphanknaelaepliynkhnadkhxngesllid enuxeyuxklamenuxaebngidxxkepn 3 praephthkhux klamenuxeriyb visceral or smooth muscle phbxyuthiphnngkhxngxwywaphayin klamenuxokhrngrang skeletal muscle sungyudxyukbkraduk thahnathiinkarekhluxnihw aelaklamenuxhwic cardiac muscle phbidthihwic enuxeyuxprasath Nervous tissue prakxbdwyesllthirwmtwknepnsmxng brain ikhsnhlng spinal cord aelarabbprasathnxkswnklang peripheral nervous system enuxeyuxphuchenuxeyuxthiphbidinsingmichiwithlayesllxun echn enuxeyuxthxlaeliyng Vascular tissue inphuch echn iselm xylem aela oflexm phloem enuxeyuxphuchsamarthaebngidkwang xxkepn 3 rabb khux epidermis enuxeyuxphun ground tissue aelaenuxeyuxthxlaeliyng Vascular tissue thnghmdnieraeriykrwmknwa mwlchiwphaph biomass Epidermis epnklumkhxngesllthirwmtwknxyuphunphiwphaynxkkhxngibimaelaphuchthimixayuimmak enuxeyuxthxlaeliyng Vascular tissue enuxeyuxthxlaeliynghlkthisakhykhxngphuchkhux iselm xylem aela oflexm phloem thahnathikhnsngna sarlalay aelasarxaharphayintnphuch enuxeyuxphun ground tissue epnenuxeyuxthiphthnaepliynaeplngipepnenuxeyuxxun nxythisud enuxeyuxphunthahnathiphlitsarxaharodykrabwnkarsngekhraahdwyaesng aelaekbsarxaharexaiwduephimesll xwywaxangxingRaven Peter H Evert Ray F amp Eichhorn Susan E 1986 Biology of Plants 4th ed New York Worth Publishers ISBN 0 87901 315 X