บทความนี้ไม่มีจาก |
ในทางเคมี ฟอสเฟต (อังกฤษ: phosphate) เป็น เกลือ หมู่ฟังก์ชัน หรือเอสเทอร์ที่ได้รับมาจากกรดฟอสฟอริก โดยทั่วไปแล้วหมายถึงออร์โธฟอสเฟต สารสังเคราะห์ของกรดออร์โธฟอสฟอริก H
3PO
4
ฟอสเฟต หรือ ออร์โธฟอสเฟต ion [PO
4]3−
ได้รับมาจากกรดฟอสฟอริกโดยการกำจัดโปรตอนสามตัว H+
การกำจัดหนึ่งหรือสองโปรตอนจะได้ออกมาเป็นไดไฮโดรเจนฟอสเฟต ion [H
2PO
4]−
และ ไฮโดรเจนฟอสเฟต ion [HPO
4]2−
ion, ตามลำดับ ชื่อเหล่านี้ยังถูกใช้สำหรับเกลือของแอนไอออน เช่น และ
-
H
3PO
4 -
H
2PO−
4 -
HPO2−
4 -
PO3−
4
ในทางเคมีอินทรีย์ ฟอสเฟต หรือ ออร์โธฟอสเฟต เป็น เป็นเอสเทอร์ของกรดออร์โธฟอสฟอริกในรูปแบบของ PO
4RR′R″ ซึ่งไฮโดเจนอะตอมหนึ่งหรือมากกว่าจะถูกแทนที่โดยกลุ่มอินทรีย์ ตัวอย่างคือ (CH
3)
3PO
4. คำนี้ยังถูกเรียกว่า กลุ่มฟังก์ชันไตรเวเลนซ์ OP(O-)
3 ในเอสเทอร์ดังกล่าว
ออร์โธฟอสเฟตมีความสำคัญอย่างยิ่งในหมู่ฟอสเฟตหลายชนิด เนื่องจากมีบทบาทสำคัญในชีวเคมี ชีวธรณีเคมี นิเวศวิทยา และความสำคัญทางเศรษฐกิจต่อเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม นอกจากนี้การเพิ่มหรือการกำจัดกลุ่มฟอสเฟต(ฟอสฟอรีเลชันและ) เป็นขั้นตอนที่สำคัญในเมแทบอลิซึมของเซลล์
ออร์โธฟอสเฟตสามารถควบแน่นเพื่อสร้าง
แหล่งฟอสเฟต
ในไทย สามารถแบ่งแหล่งกำเนิดฟอสเฟตได้ 3 ประเภท ดังนี้
1.แบบกัวโน - เกิดจากการสะสมของมูลสัตว์ปีก พบเห็นได้หลายที่ เช่น , ประจวบคีรีขันธ์ ฯลฯ
2.แบบอะลูมิเนียมฟอสเฟต - เกิดจากการสะสมตัวของฟอสฟอรัสในชั้นหินทราย พบเห็นได้ที่ ร้อยเอ็ด
3.แบบหินชั้น - เกิดจากฟอสฟอรัสแทรกอยู่ใน หินดินดาน พบเห็นได้ที่ เชียงใหม่
ฟอสเฟตในอาหาร
สารประกอบฟอสเฟตเป็นสารที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายๆชนิดเช่น อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ อุตสาหกรรมการผลิตนม ผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็ง และผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ โดยการผลิตสารประกอบฟอสเฟตนั้นสามารถผลิตได้จากกระดูกสัตว์ หินฟอสเฟต หรือปฏิกิริยาระหว่างไอออนของโลหะกับกรดฟอสฟอริก ซึ่งสารประกอบฟอสเฟตนั้นได้รับการรับรองในเป็นส่วนประกอบของอาหารที่ปลอดภัย(GRAS; Generally Recognized as Safe) จากประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในประเทศไทยตามประการของกระทรวงสาธารณสุข (2547) นั้นได้มีการกำหนดปริมาณของสารประกอบฟอสเฟตสูงสุดที่สามารถใส่ในผลิตภัณฑ์เนื้อหมัก เช่น ไส้กรอก กุนเชียง แฮม และขาหมูรมควันไว้ที่ 3000 มิลลิกรัม ต่อผลิตภัณฑ์ 1กิโลกรัม โดยวัตถุประสงค์ของการใส่สารประกอบฟอสเฟตในผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ เพื่อ
1. ทำสีของผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ให้มีความคงตัว
2. เพิ่มความสามารถในการอุ้มน้ำของเนื้อสัตว์ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ที่ได้นั้นมี รสสัมผัสที่นุ่มและมีความชุ่มฉ่ำมากขึ้น
3. ป้องกันการเกิดกลิ่นและรสชาติที่น่ารับประทาน โดยสารประกอบฟอสเฟตนั้นจะมีฤทธิ์ในการช่วยกันการหืนของอาหาร
4. ยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
5. ลดปริมาณของโซเดียมคลอไรด์ที่ใช้ในกระบวนการแปรรูป
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inthangekhmi fxseft xngkvs phosphate epn eklux hmufngkchn hruxexsethxrthiidrbmacakkrdfxsfxrik odythwipaelwhmaythungxxrothfxseft sarsngekhraahkhxngkrdxxrothfxsfxrik H3 PO4 fxseft hrux xxrothfxseft ion PO4 3 idrbmacakkrdfxsfxrikodykarkacdoprtxnsamtw H karkacdhnunghruxsxngoprtxncaidxxkmaepnidihodrecnfxseft ion H2 PO4 aela ihodrecnfxseft ion HPO4 2 ion tamladb chuxehlaniyngthukichsahrbekluxkhxngaexnixxxn echn aela H3 PO4 H2 PO 4 HPO2 4 PO3 4 inthangekhmixinthriy fxseft hrux xxrothfxseft epn epnexsethxrkhxngkrdxxrothfxsfxrikinrupaebbkhxng PO4 RR R sungihodecnxatxmhnunghruxmakkwacathukaethnthiodyklumxinthriy twxyangkhux CH3 3 PO4 khaniyngthukeriykwa klumfngkchnitrewelns OP O 3 inexsethxrdngklaw xxrothfxseftmikhwamsakhyxyangyinginhmufxsefthlaychnid enuxngcakmibthbathsakhyinchiwekhmi chiwthrniekhmi niewswithya aelakhwamsakhythangesrsthkictxekstrkrrmaelaxutsahkrrm nxkcaknikarephimhruxkarkacdklumfxseft fxsfxrielchnaela epnkhntxnthisakhyinemaethbxlisumkhxngesll xxrothfxseftsamarthkhwbaennephuxsrangaehlngfxseftinithy samarthaebngaehlngkaenidfxseftid 3 praephth dngni 1 aebbkwon ekidcakkarsasmkhxngmulstwpik phbehnidhlaythi echn pracwbkhirikhnth l 2 aebbxalumieniymfxseft ekidcakkarsasmtwkhxngfxsfxrsinchnhinthray phbehnidthi rxyexd 3 aebbhinchn ekidcakfxsfxrsaethrkxyuin hindindan phbehnidthi echiyngihm bthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhkfxseftinxaharsarprakxbfxseftepnsarthiniymichinxutsahkrrmxaharhlaychnidechn xutsahkrrmenuxstw xutsahkrrmkarphlitnm phlitphnthxaharaechaekhng aelaphlitphnthebekxri odykarphlitsarprakxbfxseftnnsamarthphlitidcakkradukstw hinfxseft hruxptikiriyarahwangixxxnkhxngolhakbkrdfxsfxrik sungsarprakxbfxseftnnidrbkarrbrxnginepnswnprakxbkhxngxaharthiplxdphy GRAS Generally Recognized as Safe cakpraethsshrthxemrika odyinpraethsithytamprakarkhxngkrathrwngsatharnsukh 2547 nnidmikarkahndprimankhxngsarprakxbfxseftsungsudthisamarthisinphlitphnthenuxhmk echn iskrxk kunechiyng aehm aelakhahmurmkhwniwthi 3000 millikrm txphlitphnth 1kiolkrm odywtthuprasngkhkhxngkarissarprakxbfxseftinphlitphnthenuxstw ephux 1 thasikhxngphlitphnthenuxstwihmikhwamkhngtw 2 ephimkhwamsamarthinkarxumnakhxngenuxstw ephuxihphlitphnthenuxstwthiidnnmi rssmphsthinumaelamikhwamchumchamakkhun 3 pxngknkarekidklinaelarschatithinarbprathan odysarprakxbfxseftnncamivththiinkarchwyknkarhunkhxngxahar 4 ybyngkarecriykhxngechuxculinthriyinphlitphnthenuxstw 5 ldprimankhxngosediymkhlxirdthiichinkrabwnkaraeprrup