เอนทาลปี (อังกฤษ: Enthalpy, /ˈɛnθəlpi/) เป็นสมบัติหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์ (เขียนแทนด้วย H, h) เป็นผลรวมของของระบบกับผลคูณของความดันกับปริมาตรของระบบ เป็น (state function) ที่ถูกใช้ในการวัดที่หลากหลายของระบบทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีที่มีความดันคงที่ พจน์ความดัน-ปริมาตรแสดงถึงงานซึ่งจำเป็นสำหรับการจัดตั้งมิติทางกายภาพของระบบ กล่าวคือสำหรับการหาพื้นที่ว่างให้กับมันด้วยการเข้าแทนที่สิ่งแวดล้อมมัน พจน์ความดัน-ปริมาตรเล็กมากในของแข็งและของเหลวในเงื่อนไขทั่วไป และเล็กพอสมควรในแก๊ส ดังนั้น เอนทาลปีจึงเป็นตัวแทนสำหรับพลังงานที่มีอยู่ในระบบเคมี (Bond energy) (Lattice energy) พลังงาน (Solvation) และ "พลังงาน" อื่น ๆ ในเคมีแท้จริงแล้วคือความแตกต่างของเอนทาลปี เอนทาลปีในฐานะที่เป็นฟังก์ชันสภาวะขึ้นอยู่กับค่ากำหนดในตอนสุดท้ายของพลังงานภายใน ความดัน และปริมาตรเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้องกับวิถีทางที่ใช้เพื่อมาถึงมัน
ในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI) เอนทาลปีมีหน่วยเป็นจูล แต่หน่วยวัดตามธรรมเนียมประวัติศาสตร์อื่น ๆ ก็ยังมีใช้อยู่ เช่นแคลอรีและหน่วยความร้อนอังกฤษ (BTU)
เราไม่สามารถวัดเอนทาลปีทั้งหมดของระบบได้โดยตรง เพราะพลังงานภายในประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ที่ไม่รู้จัก เข้าถึงได้ไม่ง่าย และไม่ได้เป็นความสนใจของวิชาอุณหพลศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีเป็นการแสดงออกที่เป็นที่นิยมกว่าในทางปฏิบัติสำหรับการวัดที่ความดันคงที่ เพราะมันทำให้อธิบายการถ่ายเทพลังงานได้ง่ายขึ้น และเมื่อมีการกันไม่ให้สสารถ่ายเทเข้าหรือออกจากระบบ และไม่มีการทำงานเพลาหรืองานไฟฟ้าด้วย การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่ความดันคงที่จะเท่ากับพลังงานที่แลกเปลี่ยนกับสภาพแวดล้อมผ่านความร้อน
ในวิชาเคมี (standard enthalpy of reaction) คือการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีเมื่อตัวทำปฏิกิริยาที่อยู่ในภาวะมาตรฐาน (p = 1 บาร์ และโดยทั่วไป T = 298 K) เปลี่ยนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในภาวะมาตรฐาน ปริมาณนี้คือที่ความดันและอุณหภูมิคงที่ และแม้อุณหภูมิจะแปรปรวนตลอดช่วงการวัด มันยังสามารถถูกวัดได้ด้วยวิธี (calorimetry) ตราบใดที่ความดันและอุณหภูมิในตอนแรกและตอนท้ายเป็นตามภาวะมาตรฐาน ค่านี้ไม่ขึ้นกับวิถีทางที่ดำเนินไปจากสภาวะแรกสู่สภาวะสุดท้ายเพราะเอนทาลปีเป็น
เอนทาลปีของสารเคมีมักถูกจัดรายการไว้สำหรับในกรณีที่ความดันเท่ากับ 1 บาร์ (100 กิโลปาสกาล) เป็นภาวะมาตรฐาน เอนทาลปีและการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีของปฏิกิริยานั้นแตกต่างกันไปตามฟังก์ชันของอุณหภูมิ แต่ตารางทั่วไปมักจัดรายการแสดงความร้อนมาตรฐานของการก่อตัวของสารที่อุณหภูมิ 25 °C (298 K) ความเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีในกระบวนการดูดความร้อน (heat-absorbing) ΔH จะเป็นค่าบวก ในขณะที่จะเป็นค่าลบในกระบวนการคายความร้อน
เอนทาลปีของ (ideal gas) เป็นอิสระจากความดันหรือปริมาตรของมัน และขึ้นอยู่กับอุณหภูมิเพียงอย่างเดียว ซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานความร้อนของมัน แก๊สจริงที่มีอุณหภูมิและความดันทั่ว ๆ ไปมักมีพฤติกรรมประมาณได้ใกล้เคียงนี้ จึงทำให้การออกแบบและวิเคราะห์ทางอุณหพลศาสตร์ในทางปฏิบัติเรียบง่ายขึ้น
นิยาม
เอนทาลปี H ของระบบทางอุณหพลศาสตร์ถูกให้นิยามไว้ว่าคือผลรวมของพลังงานภายในกับผลคูณของความดันกับปริมาตร:
- H = U + pV,
โดยที่ U คือ p คือความดัน และ V คือ (volume (thermodynamics)) ของระบบ
เอนทาลปีเป็น (extensive property) และเป็นสัดส่วนกับขนาดของระบบ (สำหรับระบบเอกพันธุ์) ส่วนสมบัติที่ไม่ขึ้นกับปริมาณเช่นเอนทาลปีจำเพาะ (specific enthalpy) h = Hm อ้างอิงถึงมวล m ของระบบ และเอนทาลปีโมลาร์ (molar enthalpy) Hm = Hn อ้างอิงถึงจำนวนโมล n ของระบบ เอนทาลปีในระบบวิวิธพันธุ์จะเท่ากับผลรวมของเอนทาลปีของแต่ละระบบย่อยที่เป็นองค์ประกอบของมัน:
- H คือเอนทาลปีรวมของระบบย่อยทั้งหมด
- k หมายถึงระบบย่อยแต่ละระบบ
- Hk หมายถึงเอนทาลปีของระบบย่อยแต่ละระบบ
ระบบปิดระบบหนึ่งอาจอยู่ในสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ข้างในสถิต (gravitational field) ความดัน p ของมันจึงแปรเปลี่ยนอย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับ (altitude) ในขณะที่อุณหภูมิ T ไม่เปลี่ยนตามระดับความสูงเนื่องด้วยข้อกำหนดของสมดุล (ความหนาแน่นของ (gravitational potential energy) ของระบบก็เปลี่ยนตามระดับความสูงด้วย) จากการบวกรวมเอนทาลปีจึงกลายเป็นปริพันธ์:
- ρ ("โร") คือความหนาแน่น (มวลต่อหน่วยปริมาตร)
- h คือเอนทาลปีจำเพาะ (เอนทาลปีต่อหน่วยมวล)
- (ρh) แทน (Energy density) (เอนทาลปีต่อหน่วยปริมาตร)
- dV หมายถึงชิ้นส่วนปริมาตรขนาดเล็กกณิกนันต์ข้างในระบบ เช่นปริมาตรของชั้นแนวนอนที่บางเป็นกณิกนันต์
ปริพันธ์นี้จึงเป็นตัวแทนของผลรวมของเอนทาลปีของชิ้นส่วนปริมาตรแต่ละชิ้นทุก ๆ ชิ้น
เอนทาลปีของระบบเอกพันธุ์ที่เป็นระบบปิดจะเป็นฟังก์ชันพลังงานของมัน H(S,p) โดยมีเอนโทรปี S[p] และความดัน p ของมันเป็นตัวแปรสภาวะธรรมชาติ (Thermodynamic potential) ซึ่งให้ความสัมพันธ์เชิงอนุพันธ์ของ dH ในรูปที่เรียบง่ายที่สุด ได้มาดังต่อไปนี้ เราเริ่มจากกฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์สำหรับระบบปิดสำหรับกระบวนการกณิกนันต์:
- 𝛿Q คือปริมาณความร้อนขนาดเล็กที่ถูกเพิ่มเข้าไปในระบบ
- 𝛿W คือปริมาณของงานขนาดเล็กที่ระบบกระทำ
ในระบบเอกพันธุ์ที่พิจารณาเฉพาะกระบวนการผันกลับได้หรือการถ่ายเทความร้อนโดยบริสุทธิ์เท่านั้น จะได้จากกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์มาว่า 𝛿Q = T dS โดยที่ T คืออุณหภูมิสัมบูรณ์ และ dS คือการเปลี่ยนแปลงแบบกณิกนันต์ของเอนโทรปี S ของระบบ ต่อจากนั้น หากงานที่ถูกกระทำมี pV เท่านั้น 𝛿W = p dV ผลลัพธ์ก็คือ:
การแสดงออกแบบอื่น
การแสดงออก dH ในแบบที่แสดงไว้ก่อนหน้านี้อาจไม่คุ้นเคยสำหรับผู้อ่านบางคน นอกจากนั้นยังมีการแสดงออกด้วยตัวแปรที่วัดได้โดยตรงกว่านี้ เช่นอุณหภูมิและความดัน:
ฟังก์ชันลักษณะเฉพาะและตัวแปรสภาวะธรรมชาติ
เอนทาลปี H(S[p], p, {Ni}) แสดงออกถึงอุณหพลศาสตร์ของระบบในแบบการแสดงแทนพลังงาน (energy representation) ตัวแปรของมันในประกอบด้วย (state variable) ที่ไม่ขึ้นกับปริมาณหนึ่งและที่ขึ้นกับปริมาณอีกสอง ตัวแปรสภาวะ S[p], p และ {Ni} เป็นตัวแปรสภาวะธรรมชาติ (natural state variable) ในการแสดงแทนรูปแบบนี้ โดยพวกมันเหมาะสำหรับการอธิบายกระบวนการต่าง ๆ ที่พวกมันถูกกำหนดโดยปัจจัยแวดล้อม เช่นเมื่อก้อนมวลอากาศในชั้นบรรยากาศเคลื่อนที่ไปยังระดับความสูงอีกระดับหนึ่ง ความดันแวดล้อมก็เปลี่ยน และกระบวนการก็มักเกิดขึ้นเร็วเสียจนไม่มีเวลาที่เพียงพอให้ความร้อนถ่ายเท นี่คือพื้นฐานของสิ่งที่เรียกว่าการประมาณแบบอะเดียแบติกหรือแบบความร้อนคงที่ที่ถูกใช้ในอุตุนิยมวิทยา
ฟังก์ชันสภาวะลักษณะเฉพาะอีกหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์ที่เป็นสังยุคของเอนทาลปีที่มีตัวแปรเหล่านี้คือเอนโทรปี มีฟังก์ชันเป็น S[p](H, p, {Ni}) โดยมีตัวแปรสภาวะที่เหมือนกันยกว้นเอนโทรปี S[p] ซึ่งถูกแทนด้วยเอนทาลปี H นี่เป็นการแสดงออกของการแสดงแทนเอนโทรปี (entropy representation) ตัวแปรสภาวะ H, p และ {Ni} เป็นตัวแปรสภาวะธรรมชาติในการแสดงแทนรูปแบบนี้ โดยพวกมันเหมาะสำหรับการอธิบายกระบวนการต่าง ๆ ที่พวกมันถูกควบคุมโดยการทดลอง เช่นค่าของ H และ p สามารถถูกควบคุมได้ด้วยการให้ความร้อนถ่ายเท และการปรับเฉพาะความดันภายนอกบนลูกสูบที่เป็นตัวกำหนดปริมาตรของระบบ
การตีความทางกายภาพ
พจน์ U คือพลังงานของระบบ และพจน์ pV สามารถถูกตีความได้ว่าเป็น (work (thermodynamics)) ซึ่งจำเป็นสำหรับการหา "พื้นที่ว่าง" ให้กับระบบหากความดันของสภาพแวดล้อมมีค่าคงที่ อาทิ เมื่อระบบของแก๊ส n โมลที่มี V ที่ความดัน p และอุณหภูมิ T ถูกสร้างขึ้นหรือถูกนำพามายังสภาวะปัจจุบันจากศูนย์สัมบูรณ์ พลังงานจะต้องได้มาเท่ากับพลังงานภายใน U บวก pV โดยที่ pV คืองานที่ถูกกระทำในการดันต้านกับความดันโดยรอบ (ของบรรยากาศ)
ในวิชาฟิสิกส์และ การศึกษาถึงสมบัติภายในของระบบที่มีปริมาตรคงที่อาจเป็นที่สนใจมากกว่า และจึงอาจใช้พลังงานภายใน ในวิชาเคมี การทดลองมักทำที่ความกดอากาศคงที่ และงานความดัน-ปริมาตรแสดงถึงการแลกเปลี่ยนพลังงานกับบรรยากาศที่มีนิยามดีแล้วและมีขนาดเล็ก ΔH จึงเป็นค่าประมาณของที่ใช้ได้ ส่วนการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีของเครื่องจักรความร้อนหลังหนึ่งรอบวัฏจักรสมบูรณ์จะเท่ากับศูนย์ เพราะสภาวะตอนต้นและตอนสุดท้ายจะเท่ากัน
ความสัมพันธ์กับความร้อน
ในการที่จะกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอนทาลปีที่เพิ่มขึ้นกับแหล่งความร้อน เราจะย้อนกลับไปหากฎข้อที่หนึ่งสำหรับระบบปิด สัญญะตามธรรมเนียมฟิสิกส์: dU = δQ − δW โดยที่ความร้อน δQ จะได้มาจากการนำ การแผ่รังสี หรือ (Joule heating) เรานำมันไปใช้กับกรณีพิเศษเมื่อความดันที่ผิวคงที่ และในกรณีนี้งานจะเท่ากับ p dV (โดนที่ p คือความดันที่ผิวและ dV คือปริมาตรที่เพิ่มขึ้นของระบบ) ส่วนกรณีของปฏิสัมพันธ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้าระยะไกลจะต้องพิจารณาร่วมตัวแปรสภาวะเพิ่มเติมในการจัดสูตรของมันด้วย และจะไม่พูดถึงมัน ณ ที่นี้ ในกรณีนี้กฎข้อที่หนึ่งจะได้เป็น:
การประยุกต์ใช้
ในอุณหพลศาสตร์ เอนทาลปีสามารถคำนวณหาได้ด้วยการหาข้อกำหนดในการสร้างระบบ ๆ หนึ่งจาก "ความไม่มีอะไร" งานเชิงกลที่ต้องใช้ pV จะต่างกันไปขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ได้มาระหว่างการสร้างระบบทางอุณหพลศาสตร์
พลังงานจะต้องมีเพื่อนำเอาอนุภาคออกจากสภาพแวดล้อมเพื่อหาที่ว่างเพื่อสร้างระบบขึ้นมา โดยสมมุติว่าความดัน p คงที่ นี่ก็คือพจน์ pV พลังงานที่ต้องได้มาก็จะต้องให้สำหรับการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายใน U ด้วย ซึ่งประกอบด้วยพลังงานกระตุ้น พลังงานของการแตกตัวเป็นไอออน พลังงานของการผสม พลังงานของการกลายเป็นไอ พลังงานของพันธะเคมี และอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งหมดนี้เมื่อรวมกันแล้วประกอบเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปี U + pV ส่วนการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีในระบบที่ความดันคงที่ซึ่งไม่มีงานภายนอกกระทำลงไปนอกเหนือจากงาน pV จะเท่ากับความร้อนที่ระบบได้รับมา
การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีในระบบแบบง่ายที่มีจำนวนอนุภาคคงที่ที่ความดันคงที่จะเท่ากับปริมาณของพลังงานความร้อนสูงสุดที่จะได้มาจากกระบวนการอุณหพลวัตแบบความดันคงที่
ความร้อนของปฏิกิริยา
เราไม่สามารถวัดปริมาณเอนทาลปีรวมของระบบได้โดยตรง แต่จะการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีของระบบแทน นิยามของการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีคือสมการดังต่อไปนี้:
- ΔH คือ "การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปี"
- Hf คือเอนทาลปีในตอนสุดท้ายของระบบ (เช่นในปฏฺกิริยาเคมี คือเอนทาลปีของผลิตภัณฑ์หรือของระบบที่จุดสมดุล)
- Hi คือเอนทาลปีในตอนแรกสุดของระบบ (เช่นในปฏฺกิริยาเคมี คือเอนทาลปีของตัวทำปฏิกิริยา)
การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปี ΔH ของระบบปฏิกิริยาคายความร้อนที่ความดันคงที่จะมีค่าลบอันเนื่องจากผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาซึ่งมีเอนทาลปีน้อยกว่าตัวทำปฏฺกิริยา และเท่ากับความร้อนที่ถูกคายออกมาในปฏิกิริยาหากไม่มีการทำงานไฟฟ้าหรืองานเพลา กล่าวได้อีกแบบว่าเอนทาลปีที่ลดลงโดยรวมนั้นเกิดขึ้นจากการผลิตความร้อน ในทางตรงกันข้าม ΔH ของปฏิกิริยาดูดความร้อนที่ความดันคงที่จะมีค่าบวกและเท่ากับความร้อนที่ถูกดูดไปในปฏิกิริยา
การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่ความดันคงที่คือ ΔH = ΔU + p ΔV จากนิยามของเอนทาลปีว่า H = U + pV อย่างไรก็ตาม ในปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ พจน์ว่าด้วยงาน p ΔV มีขนาดเล็กกว่าการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายใน ΔU มาก ซึ่งประมาณได้เท่ากับ ΔH ตัวอย่างเช่นปฏิกิริยาเผาไหม้ของแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ 2 CO(g) + O2(g) → 2 CO2(g), ΔH = −566.0 kJ และ ΔU = −563.5 kJ. ในเมื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นขนาดเล็กมาก เอนทาลปีของปฏิกิริยาจึงมักถูกอธิบายเป็นพลังงานปฏิกิริยาและถูกวิเคราะห์เป็น
เอนทาลปีจำเพาะ
เอนทาลปีจำเพาะของระบบเอกรูปมีนิยามว่า h = Hm โดยที่ m คือมวลของระบบ หน่วยวัดเอสไอของเอนทาลปีจำเพาะคือจูลต่อกิโลกรัม มันสามารถถูกแสดงออกด้วยปริมาณจำเพาะอื่น ๆ ได้เป็น h = u + pv โดยที่ u คือจำเพาะ p คือความดัน และ v คือปริมาตรจำเพาะซึ่งเท่ากับ 1ρ โดยที่ ρ คือความหนาแน่น
การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปี
การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีหมายถึงการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตได้ในองค์ประกอบของระบบทางอุณหพลศาสตร์ขณะที่กำลังแปลงหรือเกิดปฏิกิริยาเคมี มันคือความแตกต่างระหว่างเอนทาลปีหลังจากที่กระบวนการเสร็จสิ้นแล้ว กล่าวคือเอนทาลปีของผลิตภัณฑ์หากสมมุติว่าปฏิกิริยาเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์ กับเอนทาลปีในตอนแรกของระบบ กล่าวคือของตัวทำปฏิกิริยา กระบวนการเหล่านี้ถูกระบุชี้ด้วยสภาวะตอนแรกและตอนสุดท้ายเท่านั้น ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีของกระบวนการผันกลับจะเท่ากับค่าติดลบของกระบวนการเดินหน้า
การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีมาตรฐานที่พบได้ทั่วไปคือ (enthalpy of formation) ซึ่งหาได้มาสำหรับสารจำนวนมากแล้ว การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีถูกวัดและรวบรวมอยู่เป็นประจำในงานอ้างอิงทางเคมีและฟิสิกส์ อาทิ (CRC Handbook of Chemistry and Physics) การเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีดังต่อไปนี้ที่คัดเลือกมาคืออย่างที่พบเจอได้ทั่วไปในวิชาอุณหพลศาสตร์
เมื่อใช้กับศัพท์ที่พบเจอได้เหล่านี้ คำว่าการเปลี่ยนแปลงมักถูกตัดทิ้งและสมบัติจะถูกเรียกเพียงว่าเอนทาลปีของ 'กระบวนการ' เพราะสมบัติเหล่านั้นมักถูกใช้เป็นค่าอ้างอิง การอ้างอิงพวกมันเป็นชุดของตัวแปรแวดล้อมแบบมาตรฐานจึงเป็นสิ่งที่ทำกันโดยทั่วไป กล่าวคืออุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ประกอบด้วย:
- ความดันหนึ่งบรรยากาศ (1 atm หรือ 101.325 kPa) หรือหนึ่งบาร์
- อุณหภูมิ 25 °C หรือ 298.15 K
- ความเข้มข้น 1.0 M ขณะที่ธาตุหรือสารประกอบนั้นอยู่ในสารละลาย
- ธาตุหรือสารประกอบที่อยู่ในภาวะปกติทางกายภาพ นั่นคือภาวะมาตรฐาน
ชื่อของเอนทาลปีสำหรับค่ามาตรฐานเหล่านี้มักเติมคำว่ามาตรฐานเข้าไปด้วย เช่นเอนทาลปีมาตรฐานของการก่อตัว
สมบัติทางเคมี
- มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตเห็นในส่วนประกอบหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์เมื่อสารจำนวนหนึ่งโมลทำปฏิกิริยาโดยสมบูรณ์
- มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตเห็นในส่วนประกอบหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์เมื่อสารประกอบจำนวนหนึ่งโมลก่อตัวขึ้นจากองค์ประกอบพื้นฐานของมัน
- (Enthalpy of combustion) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตเห็นในส่วนประกอบหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์เมื่อสารจำนวนหนึ่งโมลเผาไหม้โดยสมบูรณ์กับออกซิเจน
- เอนทาลปีของไฮโดรจีเนชันมีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตเห็นในส่วนประกอบหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์เมื่อสารประกอบไม่อิ่มตัวจำนวนหนึ่งโมลทำปฏิกิริยาโดยสมบูรณ์กับไฮโดรเจนจำนวนมากเกินพอเพื่อก่อตัวสารประกอบที่อิ่มตัว
- (Enthalpy of atomization) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่จำเป็นสำหรับการแยกสารจำนวนหนึ่งโมลให้กลายเป็นอะตอมขององค์ประกอบของมันโดยสมบูรณ์
- (Enthalpy of neutralization) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตเห็นในส่วนประกอบหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์เมื่อน้ำจำนวนหนึ่งโมลก่อตัวจากปฏิกิริยาของกรดกับเบส
- (Enthalpy of solution) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตเห็นในส่วนประกอบหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์เมื่อตัวถูกละลายจำนวนหนึ่งโมลละลายโดยสมบูรณ์ลงในตัวทำละลายปริมาณมากเกินพอ ซึ่งทำให้สารละลายมีความเจือจางเป็นอนันต์
- เอนทาลปีมาตรฐานของ (Denaturation (biochemistry)) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่จำเป็นสำหรับการทำให้สารประกอบจำนวนหนึ่งโมลเสียสภาพธรรมชาติ
- (Hydration energy) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่สังเกตเห็นในส่วนประกอบหนึ่งของระบบอุณหพลศาสตร์เมื่อไอออนแก๊สจำนวนหนึ่งโมลละลายโดยสมบูรณ์ลงในน้ำและก่อตัวเป็นไอออนในน้ำจำนวนหนึ่งโมล (aqueous ion)
สมบัติทางกายภาพ
- เอนทาลปีของการหลอมเหลวมีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนสถานะของสารจำนวนหนึ่งโมลจากของแข็งกลายเป็นของเหลว
- เอนทาลปีของการกลายเป็นไอมีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนสถานะของสารจำนวนหนึ่งโมลจากของเหลวกลายเป็น
- (Enthalpy of sublimation) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนสถานะของสารจำนวนหนึ่งโมลจากของแข็งกลายเป็น
- (Lattice enthalpy) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีที่จำเป็นสำหรับการแยกสารประกอบไอออนิกจำนวนหนึ่งโมลให้กลายเป็นไอออนแก๊สที่แยกออกจากกันโดยมีระยะห่างจากกันเป็นอนันต์ (หมายความว่าไม่มีแรงดึงดูด)
- (Enthalpy of mixing) มีนิยามเป็นการเปลี่ยนแปลงของเอนทาลปีเมื่อผสมสารเคมีสองชนิดเข้าด้วยกัน (โดยไม่ทำปฏิกิริยากัน)
ระบบเปิด
ใน (Open system (systems theory)) ทางอุณหพลศาสตร์ มวล (ของสาร) อาจไหลเข้าออกขอบเขตของระบบได้ กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์สำหรับระบบเปิดกล่าวว่า: พลังงานภายในของระบบที่เพิ่มขึ้นจะเท่ากับปริมาณของพลังงานที่ถูกเพิ่มเข้ามาในระบบผ่านมวลที่ไหลเข้ามาและผ่านการทำความร้อน ลบด้วยปริมาณที่เสียไปจากมวลที่ไหลออกจากระบบและที่เสียไปในรูปของงานที่ระบบกระทำ:
บริเวณของปริภูมิที่ถูกตีกรอบด้วยขอบเขตของระบบเปิดมีชื่อเรียกว่า (control volume) และอาจจะตรงกับกำแพงที่เป็นกายภาพหรือไม่ก็ได้ หากเราเลือกรูปทรงของปริมาตรควบคุมให้การไหลเข้าออกทั้งหมดเกิดขึ้นตั้งฉากกับผิวของมันแล้ว การไหลเข้าระบบของมวลจะทำงานเสมือนเป็นลูกสูบของไหลที่กำลังดันเอามวลเข้าไปในระบบ และระบบก็จะทำงานลงบนการไหลออกของมวลเสมือนมันกำลังขับลูกสูบของไหลเช่นกัน ฉะนั้นจึงมีงานที่ถูกกระทำอยู่สองชนิดคือ งานไหลดังได้อธิบายไป ซึ่งถูกกระทำลงบนของไหล (มักถูกเรียกว่า งาน pV) กับงานเพลาซึ่งถูกกระทำลงบนอุปกรณ์กลไกเชิงกลบางจำพวก เช่นกังหันหรือเครื่องสูบ
งานทั้งสองชนิดสามารถแสดงออกได้ในสมการนี้
หมายเหตุว่าการแสดงออกนี้เป็นจริงก็ต่อเมื่ออัตราไหลของพลังงานจลน์นั้นถูกอนุรักษ์ระหว่างทางเข้าและทางออกของระบบ[] ไม่เช่นนั้นก็จะต้องรวมมันไว้ในสมดุลเอนทาลปีด้วย
ระหว่างปฏิบัติการของอุปกรณ์หนึ่ง (ดูที่กังหัน, เครื่องสูบ, และ (engine)) dUdt โดยเฉลี่ยแล้วสามารถกำหนดให้เท่ากับศูนย์ได้ ทำให้ได้การแสดงออกที่เป็นประโยชน์สำหรับการผลิต (Power (physics)) โดยเฉลี่ยของอุปกรณ์เหล่านี้เมื่อปราศจากปฏิกิริยาเคมี:
แผนภาพ
เราหาค่าเอนทาลปีของสารที่สำคัญบางชนิดได้จากซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ ในทางปฏิบัติแล้ว เราสามารถหาสมบัติเชิงวัตถุสภาพที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในรูปแบบตารางหรือแบบกราฟได้ โดยแผนภาพมีหลายชนิด เช่นแผนภาพ h–T ซึ่งแสดงเอนทาลปีจำเพาะ h เป็นฟังก์ชันของอุณหภูมิ T ที่ความดัน p ต่าง ๆ และแผนภาพ h–p ซึ่งแสดง h เป็นฟังก์ชันของ p ที่ค่า T ต่าง ๆ หนึ่งในแผนภาพที่พบได้ทั่วไปที่สุดคือแผนภาพอุณหภูมิ-เอนโทรปีจำเพาะ (แผนภาพ T–s) ซึ่งแสดงเส้นโค้งของการหลอมเหลวและค่าของของเหลวกับแก๊สอิ่มตัวไว้ด้วยกันพร้อมกับเส้นความดันคงที่และเส้นเอนทาลปีคงที่ แผนภาพพวกนี้เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังที่วิศวกรความร้อนนำมาใช้
การประยุกต์ใช้พื้นฐานบางแบบ
จุด a จนถึงจุด h ในภาพมีบทบาทในเนื้อหาส่วนนี้
จุด T (K) p (บาร์) s (kJ/(kg K)) h (kJ/kg) a 300 1 6.85 461 b 380 2 6.85 530 c 300 200 5.16 430 d 270 1 6.79 430 e 108 13 3.55 100 f 77.2 1 3.75 100 g 77.2 1 2.83 28 h 77.2 1 5.41 230
จุด e และจุด g คือของเหลวอิ่มตัว และจุด h คือแก๊สอิ่มตัว
การควบคุมอัตราการไหล
หนึ่งในการประยุกต์ใช้แบบง่ายของแนวคิดเอนทาลปีคือสิ่งที่เรียกว่ากระบวนการควบคุมอัตราการไหล (throttling) เรียกอีกชื่อว่า (Joule–Thomson effect) โดยเกี่ยวกับการไหลแบบอะเดียแบติกคงที่ของของไหลผ่านตัวต้านการไหล (ลิ้น จุกพรุน หรืออุปกรณ์ต้านการไหลชนิดอื่น ๆ) ดังที่แสดงให้เห็นในภาพ กระบวนการนี้สำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นหัวใจหลักของการทำงานของตู้เย็นครัวเรือน โดยทำหน้าที่เพื่อลดอุณหภูมิภายในตู้เย็นเมื่อเทียบกับอุณหภูมิโดยรวม มันยังเป็นขั้นตอนสุดท้ายใน (liquefier) อีกหลายชนิด
เอนทาลปีของระบบของการไหลแบบสภาวะคงที่ (แสดงแทนด้วยสี่เหลี่ยมประ) จะต้องมีค่าคงที่ ดังนั้น
จุด e ถูกเลือกมาให้อยู่บนเส้นของเหลวอิ่มตัวโดยที่ h = 100 kJ/kg มันตรงกับเส้นความดัน p = 13 บาร์ และที่อุณหภูมิ T = 108 K การควบคุมอัตราการไหลจากจุดนี้ไปยังจุดที่ความดัน 1 บาร์ จบลงที่บริเวณสองวัฏภาค (จุด f) นี่หมายความว่าสิ่งที่ออกมาจากลิ้นควบคุมอัตราการไหลจะเป็นส่วนผสมของแก๊สและของเหลว ในเมื่อเอนทาลปีเป็นตัวแปรที่ขึ้นกับปริมาณ เอนทาลปีที่จุด f (hf) จะเท่ากับเอนทาลปีที่จุด g (hg) คูณด้วยเศษส่วนของของเหลวที่จุด f (xf) บวกด้วยเอนทาลปีที่จุด h (hh) คูณด้วยเศษส่วนของแก๊สที่จุด f (1 − xf) ดังนั้น
เครื่องอัด
มีกำลัง P กระทำลงไป เช่นกำลังไฟฟ้า อุณหภูมิของแก๊สจะเพิ่มขึ้นหากการอัดเป็นแบบอะเดียแบติก และในกรณีที่เป็นแบบผันกลับได้ก็จะมีเอนโทรปีคงที่ ซึ่งตรงกับเส้นแนวตั้งในแผนภาพ T–s ตัวอย่างเช่นการอัดแก๊สไนโตรเจนจากความดัน 1 บาร์ (จุด a) ไปยังความดัน 2 บาร (จุด b) จะทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นจาก 300 K ไปยัง 380 K การจะปล่อยแก็สอัดออกมาที่อุณหภูมิโดยรอบ Ta ได้ก็จะต้องถ่ายเทความร้อน เช่นด้วยน้ำหล่อเย็น ส่วนในกรณีในอุดมคติการอัดจะเป็นกระบวนการที่อุณหภูมิคงที่ อัตราไหลของความร้อนไปยังสภาพแวดล้อมโดยเฉลี่ยแทนด้วย Q̇ ในเมื่อระบบอยู่ในสภาวะคงที่ จากกฎข้อที่หนึ่งจะได้
ประวัติและศัพทมูลวิทยา
คำว่า enthalpy (เอนทาลปี) ถูกบัญญัติขึ้นมาค่อนข้างช้าในประวัติศาสตร์ของวิชาอุณหพลศาสตร์ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่คำว่า energy ถูกนำเข้ามาในความหมายใหม่โดยโทมัส ยัง ใน ค.ศ. 1802 โดยมาจากรากศัพท์ของคำในภาษากรีก ἔργον (ergon อ่านว่า "เอร์โกน") ที่แปลว่า "งาน" เพื่ออธิบายมโนคติของความสามารถในการกระทำงาน ส่วนคำว่า entropy ถูกบัญญัติขึ้นโดยรูด็อล์ฟ เคลาซีอุส ใน ค.ศ. 1865 โดยมาจากภาษากรีกคำว่า τροπή (tropē อ่านว่า "โตรเป") ที่แปลว่า การแปลง หรือ การหัน ส่วนคำว่า enthalpy มาจากรากศัพท์ของคำในภาษากรีก θάλπος (thalpos อ่านว่า "ทาลโปส") ที่แปลว่า "ความอุ่น" หรือ "ความร้อน" รวมกับคำอุปสรรค ἐν-
คำนี้เป็นคำที่ใช้แสดงออกถึงแนวคิดที่เลิกใช้แล้วเรื่อง heat content (เนื้อหาความร้อน) เพราะ dH จะหมายถึงปริมาณของความร้อนที่ได้มาในกระบวนการที่ความดันคงที่เท่านั้น แต่ไม่ใช่ในกรณีทั่วไปที่ความดันแปรเปลี่ยนได้ (Josiah Willard Gibbs) ใช้คำว่า "a heat function for constant pressure" (ฟังก์ชันความร้อนสำหรับความดันคงที่) แทนเพื่อความชัดเจน
การนำเสนอเข้ามาของแนวคิด "heat content" H มักถูกสัมพันธ์กับเบอนัว ปอล เอมีล กลาแปรง และรูด็อล์ฟ เคลาซีอุส ( (Clausius–Clapeyron relation) ค.ศ. 1850).
คำว่า enthalpy เองปรากฏในสิ่งพิมพ์เป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1909ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส มักถูกถือว่าน่าจะเป็นเป็นผู้ที่นำเสนอมันก่อนหน้าหนึ่งปีด้วยวาจาที่การประชุมครั้งแรกของสถาบันการทำความเย็น (Institute of Refrigeration) ที่ปารีส และเริ่มเป็นที่รู้จักก็ในคริสต์ทศวรรษ 1920 โดยเฉพาะจาก (enthalpy–entropy chart) ที่ถูกเผยแพร่ออกมาใน ค.ศ. 1927
ก่อนหน้าคริสต์ทศวรรษ 1920 สัญลักษณ์ H ถูกใช้แบบประปรายอยู่พอควรเพื่อหมายถึง "ความร้อน" ในนัยทั่วไป นิยามแบบเคร่งครัดของ H ที่จำกัดถึงเอนทาลปีหรือ "heat content at constant pressure" (เนื้อหาความร้อนที่ความดันคงที่) เท่านั้นถูกนำเสนออย่างเป็นทางการโดยอัลเฟรด ดับเบิลยู. พอร์เตอร์ (Alfred W. Porter) ใน ค.ศ. 1922
ดูเพิ่ม
- กฎของอุณหพลศาสตร์
- (Hess's law)
- (Isenthalpic process)
- (Calorimetry)
- แคลอรีมิเตอร์
หมายเหตุ
- ไม่มีการกล่าวถึงคำว่าเอนทาลปีใน The Collected Works of J. Willard Gibbs, Vol. I แต่มีการกล่าวถึง "heat function for constant pressure" (ฟังก์ชันความร้อนสำหรับความดันคงที่) ดูที่: Henderson, Douglas; Eyring, Henry; Jost, Wilhelm (1967). Physical Chemistry: An Advanced Treatise. Academic Press. p. 29.
อ้างอิง
- IUPAC, Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (the "Gold Book") (1997). Online corrected version: (2006-) "enthalpy".
- Zemansky, Mark W. (1968). "Chapter 11". Heat and Thermodynamics (5th ed.). New York, NY: McGraw-Hill. p. 275.
- Van Wylen, G. J.; Sonntag, R. E. (1985). "Section 5.5". Fundamentals of Classical Thermodynamics (3rd ed.). New York: John Wiley & Sons. ISBN .
- Atkins, Peter; de Paula, Julio (2006). Atkins' Physical Chemistry (8th ed.). W.H.Freeman. p. 51. ISBN .
- Laidler, Keith J.; Meiser, John H. (1999). Physical Chemistry (3 ed.). Boston: Houghton Mifflin. p. 66. ISBN .
- Guggenheim, E. A. (1959). Thermodynamics. Amsterdam: North-Holland Publishing Company. p. 88.
- Moran, M. J.; Shapiro, H. N. (2006). Fundamentals of Engineering Thermodynamics (5th ed.). John Wiley & Sons. p. 511. ISBN .
- Iribarne, J.V.; Godson, W.L. (1981). Atmospheric Thermodynamics (2nd ed.). ดอร์เดรชท์: Kluwer Academic Publishers. pp. 235–236. ISBN .
- Tschoegl, N.W. (2000). Fundamentals of Equilibrium and Steady-State Thermodynamics. อัมสเตอร์ดัม: Elsevier. p. 17. ISBN .
- Callen, H. B. (1985). "Chapter 5". Thermodynamics and an Introduction to Thermostatistics (2nd 1985 ed.). นิวยอร์ก: John Wiley & Sons. ISBN .
- Münster, A. (1970). Classical Thermodynamics. แปลโดย Halberstadt, E. S. ลอนดอน: Wiley–Interscience. p. 6. ISBN .
- Reif, F. (1967). Statistical Physics. ลอนดอน: McGraw-Hill.
- Kittel, C.; Kroemer, H. (1980). Thermal Physics. ลอนดอน: Freeman.
- Rathakrishnan (2015). High Enthalpy Gas Dynamics. John Wiley and Sons Singapore Pte. Ltd. ISBN .
- Laidler, Keith J.; Meiser, John H. (1982). Physical Chemistry. Benjamin/Cummings. p. 53. ISBN .
- Petrucci, Ralph H.; Harwood, William S.; Herring, F. Geoffrey (2002). General Chemistry (8th ed.). Prentice Hall. pp. 237–238. ISBN .
- Moran, M. J.; Shapiro, H. N. (2006). Fundamentals of Engineering Thermodynamics (5th ed.). John Wiley & Sons. p. 129. ISBN .
- ภาพประกอบด้วยข้อมูลที่ได้มาจากเครื่องมือ REFPROP จากฐานข้อมูลอ้างอิงมาตรฐานเลขที่ 23 ของสภาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติสหรัฐ (NIST Standard Reference Database 23)
- Howard 2002, p. 697: "Kamerlingh Onnes called it enthalpy (from θαλπος, heat)"
- Liddell, Henry George; Scott, Robert (1940). "θάλπος". A Greek–English Lexicon. ออกซ์ฟอร์ด: Clarendon Press. จากแหล่งเดิมเมื่อ 25 ตุลาคม 2022 – โดยทาง www.perseus.tufts.edu.
- Howard 2002, p. 697: "However, J. R. Partington, in An Advanced Treatise on Physical Chemistry (1949), got the references for enthalpy right. Partington states that 'The function H sometimes symbolized by W, I, or (by Gibbs) χ, is now usually called the heat content. [...]' "
- Tinoco, Ignacio Jr.; Sauer, Kenneth; Wang, James C. (1995). Physical Chemistry (3rd ed.). Prentice-Hall. p. 41. ISBN .
- ; Meiser, John H. (1982). Physical Chemistry. Benjamin/Cummings. p. 53. ISBN .
- Dalton, J. P. (1909). "Researches on the Joule–Kelvin-effect, especially at low temperatures. I. Calculations for hydrogen". Proceedings of the Section of Sciences (Koninklijke Akademie van Wetenschappen te Amsterdam [Royal Academy of Sciences at Amsterdam]). 11 (part 2): 863–873. Bibcode:1908KNAB...11..863D. ดูที่หน้า 864, footnote (1).
- (1995). The World of Physical Chemistry. Oxford University Press. p. 110.
- Van Ness, Hendrick C. (2003). "H Is for Enthalpy". Journal of Chemical Education. 80 (6): 486. Bibcode:2003JChEd..80..486V. doi:10.1021/ed080p486.1.
- Porter, Alfred W. (1922). "The generation and utilisation of cold. A general discussion". Transactions of the Faraday Society. 18: 139–143. doi:10.1039/tf9221800139. ดูที่หน้า 140.
- Howard 2002
บรรณานุกรม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
exnthalpi xngkvs Enthalpy ˈ ɛ n 8 el p i epnsmbtihnungkhxngrabbxunhphlsastr ekhiynaethndwy H h epnphlrwmkhxngkhxngrabbkbphlkhunkhxngkhwamdnkbprimatrkhxngrabb epn state function thithukichinkarwdthihlakhlaykhxngrabbthangkayphaph chiwphaph aelaekhmithimikhwamdnkhngthi phcnkhwamdn primatraesdngthungngansungcaepnsahrbkarcdtngmitithangkayphaphkhxngrabb klawkhuxsahrbkarhaphunthiwangihkbmndwykarekhaaethnthisingaewdlxmmn phcnkhwamdn primatrelkmakinkhxngaekhngaelakhxngehlwinenguxnikhthwip aelaelkphxsmkhwrinaeks dngnn exnthalpicungepntwaethnsahrbphlngnganthimixyuinrabbekhmi Bond energy Lattice energy phlngngan Solvation aela phlngngan xun inekhmiaethcringaelwkhuxkhwamaetktangkhxngexnthalpi exnthalpiinthanathiepnfngkchnsphawakhunxyukbkhakahndintxnsudthaykhxngphlngnganphayin khwamdn aelaprimatrethann imekiywkhxngkbwithithangthiichephuxmathungmn inrabbhnwywdrahwangpraeths SI exnthalpimihnwyepncul aethnwywdtamthrrmeniymprawtisastrxun kyngmiichxyu echnaekhlxriaelahnwykhwamrxnxngkvs BTU eraimsamarthwdexnthalpithnghmdkhxngrabbidodytrng ephraaphlngnganphayinprakxbdwyswntang thiimruck ekhathungidimngay aelaimidepnkhwamsnickhxngwichaxunhphlsastr karepliynaeplngkhxngexnthalpiepnkaraesdngxxkthiepnthiniymkwainthangptibtisahrbkarwdthikhwamdnkhngthi ephraamnthaihxthibaykarthayethphlngnganidngaykhun aelaemuxmikarknimihssarthayethekhahruxxxkcakrabb aelaimmikarthanganephlahruxnganiffadwy karepliynaeplngkhxngexnthalpithikhwamdnkhngthicaethakbphlngnganthiaelkepliynkbsphaphaewdlxmphankhwamrxn inwichaekhmi standard enthalpy of reaction khuxkarepliynaeplngkhxngexnthalpiemuxtwthaptikiriyathixyuinphawamatrthan p 1 bar aelaodythwip T 298 K epliynklayepnphlitphnththixyuinphawamatrthan primannikhuxthikhwamdnaelaxunhphumikhngthi aelaaemxunhphumicaaeprprwntlxdchwngkarwd mnyngsamarththukwdiddwywithi calorimetry trabidthikhwamdnaelaxunhphumiintxnaerkaelatxnthayepntamphawamatrthan khaniimkhunkbwithithangthidaeninipcaksphawaaerksusphawasudthayephraaexnthalpiepn exnthalpikhxngsarekhmimkthukcdraykariwsahrbinkrnithikhwamdnethakb 1 bar 100 kiolpaskal epnphawamatrthan exnthalpiaelakarepliynaeplngkhxngexnthalpikhxngptikiriyannaetktangkniptamfngkchnkhxngxunhphumi aettarangthwipmkcdraykaraesdngkhwamrxnmatrthankhxngkarkxtwkhxngsarthixunhphumi 25 C 298 K khwamepliynaeplngkhxngexnthalpiinkrabwnkardudkhwamrxn heat absorbing DH caepnkhabwk inkhnathicaepnkhalbinkrabwnkarkhaykhwamrxn exnthalpikhxng ideal gas epnxisracakkhwamdnhruxprimatrkhxngmn aelakhunxyukbxunhphumiephiyngxyangediyw sungsmphnthkbphlngngankhwamrxnkhxngmn aekscringthimixunhphumiaelakhwamdnthw ipmkmiphvtikrrmpramanidiklekhiyngni cungthaihkarxxkaebbaelawiekhraahthangxunhphlsastrinthangptibtieriybngaykhunniyamexnthalpi H khxngrabbthangxunhphlsastrthukihniyamiwwakhuxphlrwmkhxngphlngnganphayinkbphlkhunkhxngkhwamdnkbprimatr H U pV odythi U khux p khuxkhwamdn aela V khux volume thermodynamics khxngrabb exnthalpiepn extensive property aelaepnsdswnkbkhnadkhxngrabb sahrbrabbexkphnthu swnsmbtithiimkhunkbprimanechnexnthalpicaephaa specific enthalpy h H m xangxingthungmwl m khxngrabb aelaexnthalpiomlar molar enthalpy Hm H n xangxingthungcanwnoml n khxngrabb exnthalpiinrabbwiwithphnthucaethakbphlrwmkhxngexnthalpikhxngaetlarabbyxythiepnxngkhprakxbkhxngmn H kHk displaystyle H sum k H k odythi H khuxexnthalpirwmkhxngrabbyxythnghmd k hmaythungrabbyxyaetlarabb Hk hmaythungexnthalpikhxngrabbyxyaetlarabb rabbpidrabbhnungxacxyuinsmdulthangxunhphlsastrkhanginsthit gravitational field khwamdn p khxngmncungaeprepliynxyangtxenuxngipphrxmkb altitude inkhnathixunhphumi T imepliyntamradbkhwamsungenuxngdwykhxkahndkhxngsmdul khwamhnaaennkhxng gravitational potential energy khxngrabbkepliyntamradbkhwamsungdwy cakkarbwkrwmexnthalpicungklayepnpriphnth H rh dV displaystyle H int rho h dV odythi r or khuxkhwamhnaaenn mwltxhnwyprimatr h khuxexnthalpicaephaa exnthalpitxhnwymwl rh aethn Energy density exnthalpitxhnwyprimatr dV hmaythungchinswnprimatrkhnadelkkniknntkhanginrabb echnprimatrkhxngchnaenwnxnthibangepnkniknnt priphnthnicungepntwaethnkhxngphlrwmkhxngexnthalpikhxngchinswnprimatraetlachinthuk chin exnthalpikhxngrabbexkphnthuthiepnrabbpidcaepnfngkchnphlngngankhxngmn H S p odymiexnothrpi S p aelakhwamdn p khxngmnepntwaeprsphawathrrmchati Thermodynamic potential sungihkhwamsmphnthechingxnuphnthkhxng dH inrupthieriybngaythisud idmadngtxipni eraerimcakkdkhxthihnungkhxngxunhphlsastrsahrbrabbpidsahrbkrabwnkarkniknnt dU dQ dW displaystyle dU delta Q delta W odythi 𝛿Q khuxprimankhwamrxnkhnadelkthithukephimekhaipinrabb 𝛿W khuxprimankhxngngankhnadelkthirabbkratha inrabbexkphnthuthiphicarnaechphaakrabwnkarphnklbidhruxkarthayethkhwamrxnodybrisuththiethann caidcakkdkhxthisxngkhxngxunhphlsastrmawa 𝛿Q T dS odythi T khuxxunhphumismburn aela dS khuxkarepliynaeplngaebbkniknntkhxngexnothrpi S khxngrabb txcaknn haknganthithukkrathami pV ethann 𝛿W p dV phllphthkkhux dU TdS pdV displaystyle dU T dS p dV bwk d pV ekhaipthngsxngfngkhxngniphcnnikcaid dU d pV TdS pdV d pV displaystyle dU d pV T dS p dV d pV hrux d U pV TdS Vdp displaystyle d U pV T dS V dp dngnn dH S p TdS Vdp displaystyle dH S p T dS V dp aelwsmprasiththikhxngtwaeprthrrmchatixnuphnth dS aela dp kepnephiyngtwaeprediyw T aela V tamladbkaraesdngxxkaebbxunkaraesdngxxk dH inaebbthiaesdngiwkxnhnanixacimkhunekhysahrbphuxanbangkhn nxkcaknnyngmikaraesdngxxkdwytwaeprthiwdidodytrngkwani echnxunhphumiaelakhwamdn dH CpdT V 1 aT dp displaystyle dH C p dT V 1 alpha T dp odythi Cp khux Heat capacity thikhwamdnkhngthi aela a khuxsmprasiththikhxngkarkhyaytwcakkhwamrxn echingprimatr a 1V V T p displaystyle alpha frac 1 V left frac partial V partial T right p dwykaraesdngxxkrupaebbni tamhlkkaraelwerasamarthhakhakhxngexnthalpiidhak Cp aela V epnfngkchnthiruckkhxng p kb T thwakaraesdngxxkaebbnicasbsxnkwaaebb dH TdS Vdp displaystyle dH T dS V dp ephraa T imidepntwaeprthrrchatikhxngexnthalpi H thikhwamdnkhngthi dP 0 chann dH CpdT displaystyle dH C p dT aelainkrnikhxng dH caldrupehluxethaniaemwacamikrabwnkarthikhwamdnepliynaeplng ephraa aT 1 kdkhxthihnunginrupaebbthithwipyingkhunxthibayphlngnganphayindwyphcnephimetimsungprakxbdwy chemical potential kbcanwnkhxngxnuphakhchnidtang xnuphnth dH cungklayepn dH TdS Vdp imidNi displaystyle dH T dS V dp sum i mu i dN i odythi mi khuxskyekhmitxxnuphakhkhxngxnuphakhchnid i aela Ni khuxcanwnkhxngxnuphakhehlann erayngsamarthekhiynphcnsudthayidxikepn mi dni odythi dni khuxcanwnomlkhxngxngkhprakxb i thithukephimekhaipinrabb aelainkrnini mi khuxskyekhmiomlar hruxepn mi dmi odythi dmi khuxmwlkhxngxngkhprakxb i thithukephimekhaipinrabb aelainkrnini mi khuxskyekhmicaephaa fngkchnlksnaechphaaaelatwaeprsphawathrrmchati exnthalpi H S p p Ni aesdngxxkthungxunhphlsastrkhxngrabbinaebbkaraesdngaethnphlngngan energy representation twaeprkhxngmninprakxbdwy state variable thiimkhunkbprimanhnungaelathikhunkbprimanxiksxng twaeprsphawa S p p aela Ni epntwaeprsphawathrrmchati natural state variable inkaraesdngaethnrupaebbni odyphwkmnehmaasahrbkarxthibaykrabwnkartang thiphwkmnthukkahndodypccyaewdlxm echnemuxkxnmwlxakasinchnbrryakasekhluxnthiipyngradbkhwamsungxikradbhnung khwamdnaewdlxmkepliyn aelakrabwnkarkmkekidkhunerwesiycnimmiewlathiephiyngphxihkhwamrxnthayeth nikhuxphunthankhxngsingthieriykwakarpramanaebbxaediyaebtikhruxaebbkhwamrxnkhngthithithukichinxutuniymwithya fngkchnsphawalksnaechphaaxikhnungkhxngrabbxunhphlsastrthiepnsngyukhkhxngexnthalpithimitwaeprehlanikhuxexnothrpi mifngkchnepn S p H p Ni odymitwaeprsphawathiehmuxnknykwnexnothrpi S p sungthukaethndwyexnthalpi H niepnkaraesdngxxkkhxngkaraesdngaethnexnothrpi entropy representation twaeprsphawa H p aela Ni epntwaeprsphawathrrmchatiinkaraesdngaethnrupaebbni odyphwkmnehmaasahrbkarxthibaykrabwnkartang thiphwkmnthukkhwbkhumodykarthdlxng echnkhakhxng H aela p samarththukkhwbkhumiddwykarihkhwamrxnthayeth aelakarprbechphaakhwamdnphaynxkbnluksubthiepntwkahndprimatrkhxngrabbkartikhwamthangkayphaphphcn U khuxphlngngankhxngrabb aelaphcn pV samarththuktikhwamidwaepn work thermodynamics sungcaepnsahrbkarha phunthiwang ihkbrabbhakkhwamdnkhxngsphaphaewdlxmmikhakhngthi xathi emuxrabbkhxngaeks n omlthimi V thikhwamdn p aelaxunhphumi T thuksrangkhunhruxthuknaphamayngsphawapccubncaksunysmburn phlngngancatxngidmaethakbphlngnganphayin U bwk pV odythi pV khuxnganthithukkrathainkardntankbkhwamdnodyrxb khxngbrryakas inwichafisiksaela karsuksathungsmbtiphayinkhxngrabbthimiprimatrkhngthixacepnthisnicmakkwa aelacungxacichphlngnganphayin inwichaekhmi karthdlxngmkthathikhwamkdxakaskhngthi aelangankhwamdn primatraesdngthungkaraelkepliynphlngngankbbrryakasthiminiyamdiaelwaelamikhnadelk DH cungepnkhapramankhxngthiichid swnkarepliynaeplngkhxngexnthalpikhxngekhruxngckrkhwamrxnhlnghnungrxbwtckrsmburncaethakbsuny ephraasphawatxntnaelatxnsudthaycaethaknkhwamsmphnthkbkhwamrxninkarthicaklawthungkhwamsmphnthrahwangexnthalpithiephimkhunkbaehlngkhwamrxn eracayxnklbiphakdkhxthihnungsahrbrabbpid syyatamthrrmeniymfisiks dU dQ dW odythikhwamrxn dQ caidmacakkarna karaephrngsi hrux Joule heating eranamnipichkbkrniphiessemuxkhwamdnthiphiwkhngthi aelainkrniningancaethakb p dV odnthi p khuxkhwamdnthiphiwaela dV khuxprimatrthiephimkhunkhxngrabb swnkrnikhxngptismphnththangaemehlkiffarayaiklcatxngphicarnarwmtwaeprsphawaephimetiminkarcdsutrkhxngmndwy aelacaimphudthungmn n thini inkrninikdkhxthihnungcaidepn dU dQ pdV displaystyle dU delta Q p dV aelw dH dU d pV displaystyle dH dU d pV dngnn dH dQ Vdp pdV pdV dQ Vdp displaystyle begin aligned dH amp delta Q V dp p dV p dV amp delta Q V dp end aligned hakrabbxyuit dp 0 aeladwyehtuniexnthalpikhxngrabbthiephimkhuncaethakbkhwamrxnthithukephim dH dQ displaystyle dH delta Q inepnehtuwathaiminkhriststwrrsthi 19 ichkhawa heat content enuxhakhwamrxn sungpccubnelikichaelwkarprayuktichinxunhphlsastr exnthalpisamarthkhanwnhaiddwykarhakhxkahndinkarsrangrabb hnungcak khwamimmixair nganechingklthitxngich pV catangknipkhunxyukbenguxnikhthiidmarahwangkarsrangrabbthangxunhphlsastr phlngngancatxngmiephuxnaexaxnuphakhxxkcaksphaphaewdlxmephuxhathiwangephuxsrangrabbkhunma odysmmutiwakhwamdn p khngthi nikkhuxphcn pV phlngnganthitxngidmakcatxngihsahrbkarepliynaeplngkhxngphlngnganphayin U dwy sungprakxbdwyphlngngankratun phlngngankhxngkaraetktwepnixxxn phlngngankhxngkarphsm phlngngankhxngkarklayepnix phlngngankhxngphnthaekhmi aelaxun xikmakmay thnghmdniemuxrwmknaelwprakxbepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpi U pV swnkarepliynaeplngkhxngexnthalpiinrabbthikhwamdnkhngthisungimminganphaynxkkrathalngipnxkehnuxcakngan pV caethakbkhwamrxnthirabbidrbma karepliynaeplngkhxngexnthalpiinrabbaebbngaythimicanwnxnuphakhkhngthithikhwamdnkhngthicaethakbprimankhxngphlngngankhwamrxnsungsudthicaidmacakkrabwnkarxunhphlwtaebbkhwamdnkhngthi khwamrxnkhxngptikiriya eraimsamarthwdprimanexnthalpirwmkhxngrabbidodytrng aetcakarepliynaeplngkhxngexnthalpikhxngrabbaethn niyamkhxngkarepliynaeplngkhxngexnthalpikhuxsmkardngtxipni DH Hf Hi displaystyle Delta H H mathrm f H mathrm i odythi DH khux karepliynaeplngkhxngexnthalpi Hf khuxexnthalpiintxnsudthaykhxngrabb echninpt kiriyaekhmi khuxexnthalpikhxngphlitphnthhruxkhxngrabbthicudsmdul Hi khuxexnthalpiintxnaerksudkhxngrabb echninpt kiriyaekhmi khuxexnthalpikhxngtwthaptikiriya karepliynaeplngkhxngexnthalpi DH khxngrabbptikiriyakhaykhwamrxnthikhwamdnkhngthicamikhalbxnenuxngcakphlitphnthkhxngptikiriyasungmiexnthalpinxykwatwthapt kiriya aelaethakbkhwamrxnthithukkhayxxkmainptikiriyahakimmikarthanganiffahruxnganephla klawidxikaebbwaexnthalpithildlngodyrwmnnekidkhuncakkarphlitkhwamrxn inthangtrngknkham DH khxngptikiriyadudkhwamrxnthikhwamdnkhngthicamikhabwkaelaethakbkhwamrxnthithukdudipinptikiriya karepliynaeplngkhxngexnthalpithikhwamdnkhngthikhux DH DU p DV cakniyamkhxngexnthalpiwa H U pV xyangirktam inptikiriyaekhmiswnihy phcnwadwyngan p DV mikhnadelkkwakarepliynaeplngkhxngphlngnganphayin DU mak sungpramanidethakb DH twxyangechnptikiriyaephaihmkhxngaekskharbxnmxnxkisd 2 CO g O2 g 2 CO2 g DH 566 0 kJ aela DU 563 5 kJ inemuxkarepliynaeplngnnkhnadelkmak exnthalpikhxngptikiriyacungmkthukxthibayepnphlngnganptikiriyaaelathukwiekhraahepn exnthalpicaephaa exnthalpicaephaakhxngrabbexkrupminiyamwa h H m odythi m khuxmwlkhxngrabb hnwywdexsixkhxngexnthalpicaephaakhuxcultxkiolkrm mnsamarththukaesdngxxkdwyprimancaephaaxun idepn h u pv odythi u khuxcaephaa p khuxkhwamdn aela v khuxprimatrcaephaasungethakb 1 r odythi r khuxkhwamhnaaenn karepliynaeplngkhxngexnthalpi karepliynaeplngkhxngexnthalpihmaythungkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektidinxngkhprakxbkhxngrabbthangxunhphlsastrkhnathikalngaeplnghruxekidptikiriyaekhmi mnkhuxkhwamaetktangrahwangexnthalpihlngcakthikrabwnkaresrcsinaelw klawkhuxexnthalpikhxngphlitphnthhaksmmutiwaptikiriyaekidkhunodysmburn kbexnthalpiintxnaerkkhxngrabb klawkhuxkhxngtwthaptikiriya krabwnkarehlanithukrabuchidwysphawatxnaerkaelatxnsudthayethann dngnnkarepliynaeplngkhxngexnthalpikhxngkrabwnkarphnklbcaethakbkhatidlbkhxngkrabwnkaredinhna karepliynaeplngkhxngexnthalpimatrthanthiphbidthwipkhux enthalpy of formation sunghaidmasahrbsarcanwnmakaelw karepliynaeplngkhxngexnthalpithukwdaelarwbrwmxyuepnpracainnganxangxingthangekhmiaelafisiks xathi CRC Handbook of Chemistry and Physics karepliynaeplngkhxngexnthalpidngtxipnithikhdeluxkmakhuxxyangthiphbecxidthwipinwichaxunhphlsastr emuxichkbsphththiphbecxidehlani khawakarepliynaeplngmkthuktdthingaelasmbticathukeriykephiyngwaexnthalpikhxng krabwnkar ephraasmbtiehlannmkthukichepnkhaxangxing karxangxingphwkmnepnchudkhxngtwaepraewdlxmaebbmatrthancungepnsingthithaknodythwip klawkhuxxunhphumiaelakhwamdnmatrthan prakxbdwy khwamdnhnungbrryakas 1 atm hrux 101 325 kPa hruxhnungbar xunhphumi 25 C hrux 298 15 K khwamekhmkhn 1 0 M khnathithatuhruxsarprakxbnnxyuinsarlalay thatuhruxsarprakxbthixyuinphawapktithangkayphaph nnkhuxphawamatrthan chuxkhxngexnthalpisahrbkhamatrthanehlanimketimkhawamatrthanekhaipdwy echnexnthalpimatrthankhxngkarkxtw smbtithangekhmi miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektehninswnprakxbhnungkhxngrabbxunhphlsastremuxsarcanwnhnungomlthaptikiriyaodysmburn miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektehninswnprakxbhnungkhxngrabbxunhphlsastremuxsarprakxbcanwnhnungomlkxtwkhuncakxngkhprakxbphunthankhxngmn Enthalpy of combustion miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektehninswnprakxbhnungkhxngrabbxunhphlsastremuxsarcanwnhnungomlephaihmodysmburnkbxxksiecn exnthalpikhxngihodrcienchnminiyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektehninswnprakxbhnungkhxngrabbxunhphlsastremuxsarprakxbimximtwcanwnhnungomlthaptikiriyaodysmburnkbihodrecncanwnmakekinphxephuxkxtwsarprakxbthiximtw Enthalpy of atomization miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithicaepnsahrbkaraeyksarcanwnhnungomlihklayepnxatxmkhxngxngkhprakxbkhxngmnodysmburn Enthalpy of neutralization miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektehninswnprakxbhnungkhxngrabbxunhphlsastremuxnacanwnhnungomlkxtwcakptikiriyakhxngkrdkbebs Enthalpy of solution miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektehninswnprakxbhnungkhxngrabbxunhphlsastremuxtwthuklalaycanwnhnungomllalayodysmburnlngintwthalalayprimanmakekinphx sungthaihsarlalaymikhwamecuxcangepnxnnt exnthalpimatrthankhxng Denaturation biochemistry miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithicaepnsahrbkarthaihsarprakxbcanwnhnungomlesiysphaphthrrmchati Hydration energy miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithisngektehninswnprakxbhnungkhxngrabbxunhphlsastremuxixxxnaekscanwnhnungomllalayodysmburnlnginnaaelakxtwepnixxxninnacanwnhnungoml aqueous ion smbtithangkayphaph exnthalpikhxngkarhlxmehlwminiyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithicaepnsahrbkarepliynsthanakhxngsarcanwnhnungomlcakkhxngaekhngklayepnkhxngehlw exnthalpikhxngkarklayepnixminiyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithicaepnsahrbkarepliynsthanakhxngsarcanwnhnungomlcakkhxngehlwklayepn Enthalpy of sublimation miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithicaepnsahrbkarepliynsthanakhxngsarcanwnhnungomlcakkhxngaekhngklayepn Lattice enthalpy miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpithicaepnsahrbkaraeyksarprakxbixxxnikcanwnhnungomlihklayepnixxxnaeksthiaeykxxkcakknodymirayahangcakknepnxnnt hmaykhwamwaimmiaerngdungdud Enthalpy of mixing miniyamepnkarepliynaeplngkhxngexnthalpiemuxphsmsarekhmisxngchnidekhadwykn odyimthaptikiriyakn rabbepid rahwangptibtikar Steady state chemical engineering smdulphlngnganthiprayuktichkbrabbepidcanaexanganephlathirabbkrathamaethakbkhwamrxnthithukephimekhamabwkkbexnthalpisuththithithukephimekhama in Open system systems theory thangxunhphlsastr mwl khxngsar xacihlekhaxxkkhxbekhtkhxngrabbid kdkhxthihnungkhxngxunhphlsastrsahrbrabbepidklawwa phlngnganphayinkhxngrabbthiephimkhuncaethakbprimankhxngphlngnganthithukephimekhamainrabbphanmwlthiihlekhamaaelaphankarthakhwamrxn lbdwyprimanthiesiyipcakmwlthiihlxxkcakrabbaelathiesiyipinrupkhxngnganthirabbkratha dU dQ dUin dUout dW displaystyle dU delta Q dU text in dU text out delta W odythi Uin khuxphlngnganphayinechliythiekhamainrabb aela Uout khuxphlngnganphayinechliythixxkcakrabb briewnkhxngpriphumithithuktikrxbdwykhxbekhtkhxngrabbepidmichuxeriykwa control volume aelaxaccatrngkbkaaephngthiepnkayphaphhruximkid hakeraeluxkrupthrngkhxngprimatrkhwbkhumihkarihlekhaxxkthnghmdekidkhuntngchakkbphiwkhxngmnaelw karihlekharabbkhxngmwlcathanganesmuxnepnluksubkhxngihlthikalngdnexamwlekhaipinrabb aelarabbkcathanganlngbnkarihlxxkkhxngmwlesmuxnmnkalngkhbluksubkhxngihlechnkn channcungminganthithukkrathaxyusxngchnidkhux nganihldngidxthibayip sungthukkrathalngbnkhxngihl mkthukeriykwa ngan pV kbnganephlasungthukkrathalngbnxupkrnklikechingklbangcaphwk echnknghnhruxekhruxngsub nganthngsxngchnidsamarthaesdngxxkidinsmkarnidW d poutVout d pinVin dWshaft displaystyle delta W d p text out V text out d p text in V text in delta W text shaft aethnprimatrkhwbkhum cv ekhaipinsmkarnnkcaid dUcv dQ dUin d pinVin dUout d poutVout dWshaft displaystyle dU text cv delta Q dU text in d p text in V text in dU text out d p text out V text out delta W text shaft niyamkhxngexnthalpi H thaiherasamarthichskythangxunhphlsastr thermodynamic potential niephuxphicarnathngphlngnganphayinkbngan pV inkhxngihlinrabbepidid dUcv dQ dHin dHout dWshaft displaystyle dU text cv delta Q dH text in dH text out delta W text shaft hakeraxnuyatihkhxbekhtkhxngrabbekhluxnthiiddwy echncakluksubthiekhluxnthi erakcaidkdkhxthihnungsahrbrabbepidinrupaebbthithwipphxpramanid odyekhiynaebbxnuphnthethiybkbewlaid dUdt kQ k kH k kpkdVkdt P displaystyle frac dU dt sum k dot Q k sum k dot H k sum k p k frac dV k dt P odyepnphlrwmtlxdaetlataaehnng k thi idrbkhwamrxnekhaip thi mwlihlekhaipinrabb aelathi khxbekhtkhyb swnphcn Ḣk aesdngaethnxtraihlkhxngexnthalpisungekhiynidepn H k hkm k Hmn k displaystyle dot H k h k dot m k H mathrm m dot n k odythi ṁk aela ṅk khuxxtraihlkhxngmwlaelaxtraihlomlarthitaaehnng k tamladb phcn dVk dt aesdngaethnxtrakarepliynaeplngkhxngprimatrkhxngrabbthitaaehnng k sungsngphlepnkalng pV thirabbkratha twaepr P aethnkalnginrupaebbxunidktamthirabbepntwkratha echnkalngephla aetkxacepnkalngiffaid echnthiphlitodyorngiffa hmayehtuwakaraesdngxxkniepncringktxemuxxtraihlkhxngphlngnganclnnnthukxnurksrahwangthangekhaaelathangxxkkhxngrabb imechnnnkcatxngrwmmniwinsmdulexnthalpidwy rahwangptibtikarkhxngxupkrnhnung duthiknghn ekhruxngsub aela engine dU dt odyechliyaelwsamarthkahndihethakbsunyid thaihidkaraesdngxxkthiepnpraoychnsahrbkarphlit Power physics odyechliykhxngxupkrnehlaniemuxprascakptikiriyaekhmi P k Q k k H k k pkdVkdt displaystyle P sum k left langle dot Q k right rangle sum k left langle dot H k right rangle sum k left langle p k frac dV k dt right rangle odythi angle bracket hmaythungkhaechliyewla khwamsakhythangethkhnikhkhxngexnthalpiekiywkhxngodytrngkbkarthimnxyuinkdkhxthihnungsahrbrabbepid dngthiekhiyniwkhangbn aephnphaph aephnphaph T s khxnginotrecn esnokhngsiaedngfngsaykhuxesnokhngkhxngkarhlxmehlw esnrakhngkhwasiaedngaesdngaethnbriewnkhxngsxngwtphakh odyfngthiexnothrpitakhuxkhxngehlwximtw aelafngthiexnothrpisungkhuxaeksximtw esnokhngsidaaesdngthungkhwamsaphnth T s tlxdesnkhwamdnkhngthiaetlaesn khwamdnmihnwyepnbar esnokhngsinaenginkhuxesnokhngkhxngexnthalpikhngthi odymikharabuepnsinaengininhnwy kJ kg cudechphaaaetlacud a b l cathukklawthunginenuxhahlkinswnni erahakhaexnthalpikhxngsarthisakhybangchnididcaksxftaewrechingphanichy inthangptibtiaelw erasamarthhasmbtiechingwtthusphaphthiekiywkhxngthnghmdinrupaebbtaranghruxaebbkrafid odyaephnphaphmihlaychnid echnaephnphaph h T sungaesdngexnthalpicaephaa h epnfngkchnkhxngxunhphumi T thikhwamdn p tang aelaaephnphaph h p sungaesdng h epnfngkchnkhxng p thikha T tang hnunginaephnphaphthiphbidthwipthisudkhuxaephnphaphxunhphumi exnothrpicaephaa aephnphaph T s sungaesdngesnokhngkhxngkarhlxmehlwaelakhakhxngkhxngehlwkbaeksximtwiwdwyknphrxmkbesnkhwamdnkhngthiaelaesnexnthalpikhngthi aephnphaphphwkniepnekhruxngmuxthithrngphlngthiwiswkrkhwamrxnnamaich karprayuktichphunthanbangaebb cud a cnthungcud h inphaphmibthbathinenuxhaswnni cud T K p bar s kJ kg K h kJ kg a 300 1 6 85 461b 380 2 6 85 530c 300 200 5 16 430d 270 1 6 79 430e 108 13 3 55 100f 77 2 1 3 75 100g 77 2 1 2 83 28h 77 2 1 5 41 230 cud e aelacud g khuxkhxngehlwximtw aelacud h khuxaeksximtw karkhwbkhumxtrakarihl aephnphaphekharangkhxngkarkhwbkhumxtrakarihlinsphawakhngthi khxngihlekhamainrabb aesdngaethndwysiehliympra thicudelkh 1 aelaxxkcakrabbthicudelkh 2 ṁ khuxxtraihlkhxngmwl hnunginkarprayuktichaebbngaykhxngaenwkhidexnthalpikhuxsingthieriykwakrabwnkarkhwbkhumxtrakarihl throttling eriykxikchuxwa Joule Thomson effect odyekiywkbkarihlaebbxaediyaebtikkhngthikhxngkhxngihlphantwtankarihl lin cukphrun hruxxupkrntankarihlchnidxun dngthiaesdngihehninphaph krabwnkarnisakhyxyangying ephraaepnhwichlkkhxngkarthangankhxngtueynkhrweruxn odythahnathiephuxldxunhphumiphayintueynemuxethiybkbxunhphumiodyrwm mnyngepnkhntxnsudthayin liquefier xikhlaychnid exnthalpikhxngrabbkhxngkarihlaebbsphawakhngthi aesdngaethndwysiehliympra catxngmikhakhngthi dngnn0 m h1 m h2 displaystyle 0 dot m h 1 dot m h 2 inemuxxtraihlkhxngmwlkhngthi exnthalpicaephaathithngsxngfngkhxngtwtankarihlcungethakn h1 h2 displaystyle h 1 h 2 klawkhux exnthalpitxhnwymwlcaimepliynaeplngrahwangkarkhwbkhumxtrakarihl phlphwngcakkhwamsmphnthnisamarthxthibayiddwyaephnphaph T s khangbn cud c mikhwamdn 200 bar aelamixunhphumihxng 300 K karkhyaytwcul thxmsncakkhwamdn 200 bar ipyng 1 bar daenintamesnokhngkhxngexnthalpikhngthithikhapraman 425 kJ kg imidaesdnginaephnphaph sungphadxyurahwangesnexnthalpikhngthikha 400 kb 450 kJ kg aelacblngthicud d sungxyuthixunhphumipraman 270 K dngnnkarkhyaytwcakkhwamdn 200 bar ipyng 1 bar cathaihinotrecneynlngcakxunhphumihxng 300 K ipyngxunhphumi 270 K swnkhanginlincamikaresiydthanmakaelaphlitexnthalpiprimanmak aetxunhphumitxnsudthaykcayngtakwakhaerimtn cud e thukeluxkmaihxyubnesnkhxngehlwximtwodythi h 100 kJ kg mntrngkbesnkhwamdn p 13 bar aelathixunhphumi T 108 K karkhwbkhumxtrakarihlcakcudniipyngcudthikhwamdn 1 bar cblngthibriewnsxngwtphakh cud f nihmaykhwamwasingthixxkmacaklinkhwbkhumxtrakarihlcaepnswnphsmkhxngaeksaelakhxngehlw inemuxexnthalpiepntwaeprthikhunkbpriman exnthalpithicud f hf caethakbexnthalpithicud g hg khundwyessswnkhxngkhxngehlwthicud f xf bwkdwyexnthalpithicud h hh khundwyessswnkhxngaeksthicud f 1 xf dngnnhf xfhg 1 xf hh displaystyle h mathbf f x mathbf f h mathbf g 1 x mathbf f h mathbf h istwelkhlngipcaid 100 xf 28 1 xf 230 dngnn xf 0 64 nihmaykhwamwaessswnmwlkhxngkhxngehlwinswnphsmkhxngehlw aeksthixxkmacaklinkhwbkhumxtrakarihlnncaethakbrxyla 64 ekhruxngxd aephnphaphekharangkhxngekhruxngxdinsphawakhngthi khxngihlekhamainrabb aesdngaethndwysiehliympra thicudelkh 1 aelaxxkcakrabbthicudelkh 2 ṁ khuxxtraihlkhxngmwl mikalng P krathaxyuaelamixtraihlkhxngkhwamrxn Q xxkipyngsingaewdlxmthimixunhphumiodyrxb Ta mikalng P krathalngip echnkalngiffa xunhphumikhxngaekscaephimkhunhakkarxdepnaebbxaediyaebtik aelainkrnithiepnaebbphnklbidkcamiexnothrpikhngthi sungtrngkbesnaenwtnginaephnphaph T s twxyangechnkarxdaeksinotrecncakkhwamdn 1 bar cud a ipyngkhwamdn 2 bar cud b cathaihxunhphumisungkhuncak 300 K ipyng 380 K karcaplxyaeksxdxxkmathixunhphumiodyrxb Ta idkcatxngthayethkhwamrxn echndwynahlxeyn swninkrniinxudmkhtikarxdcaepnkrabwnkarthixunhphumikhngthi xtraihlkhxngkhwamrxnipyngsphaphaewdlxmodyechliyaethndwy Q inemuxrabbxyuinsphawakhngthi cakkdkhxthihnungcaid0 Q m h1 m h2 P displaystyle 0 dot Q dot m h 1 dot m h 2 P camikalngkhntathitxngichinkarxdemuxepnkarxdthiphnklbid hakepnechnnnaelw kdkhxthisxngkhxngxunhphlsastrsahrbrabbepidcaid 0 Q Ta m s1 m s2 displaystyle 0 frac dot Q T mathrm a dot m s 1 dot m s 2 kacd Q aelwcaidkhakhxngkalngkhnta Pminm h2 h1 Ta s2 s1 displaystyle frac P text min dot m h 2 h 1 T mathrm a s 2 s 1 twxyangechnkarxdaeksinotrecn 1 kg cakkhwamdn 1 bar ipyng 200 barcatxngichkalngxyangnxy hc ha Ta sc sa cakkhxmulthiidmacakaephnphaph T s eracaidkhamaethakb 430 461 300 5 16 6 85 476 kJ kg erasamarththaihkhwamsmphnthsahrbkhakhxngkalngngaylngdwykarekhiynihmepn Pminm 12 dh Tads displaystyle frac P text min dot m int 1 2 dh T mathrm a ds odythi dh T ds v dp cakni khwamsmphnththiidmasudthaycaethakb Pminm 12vdp displaystyle frac P text min dot m int 1 2 v dp prawtiaelasphthmulwithyakhawa enthalpy exnthalpi thukbyytikhunmakhxnkhangchainprawtisastrkhxngwichaxunhphlsastrinchwngtnkhriststwrrsthi 20 inkhnathikhawa energy thuknaekhamainkhwamhmayihmodyothms yng in kh s 1802 odymacakraksphthkhxngkhainphasakrik ἔrgon ergon xanwa exrokn thiaeplwa ngan ephuxxthibaymonkhtikhxngkhwamsamarthinkarkrathangan swnkhawa entropy thukbyytikhunodyrudxlf ekhlasixus in kh s 1865 odymacakphasakrikkhawa troph trope xanwa otrep thiaeplwa karaeplng hrux karhn swnkhawa enthalpy macakraksphthkhxngkhainphasakrik 8alpos thalpos xanwa thalops thiaeplwa khwamxun hrux khwamrxn rwmkbkhaxupsrrkh ἐn khaniepnkhathiichaesdngxxkthungaenwkhidthielikichaelweruxng heat content enuxhakhwamrxn ephraa dH cahmaythungprimankhxngkhwamrxnthiidmainkrabwnkarthikhwamdnkhngthiethann aetimichinkrnithwipthikhwamdnaeprepliynid Josiah Willard Gibbs ichkhawa a heat function for constant pressure fngkchnkhwamrxnsahrbkhwamdnkhngthi aethnephuxkhwamchdecn karnaesnxekhamakhxngaenwkhid heat content H mkthuksmphnthkbebxnw pxl exmil klaaeprng aelarudxlf ekhlasixus Clausius Clapeyron relation kh s 1850 khawa enthalpy exngpraktinsingphimphepnkhrngaerkin kh s 1909ihekx kaemxrling oxnenis mkthukthuxwanacaepnepnphuthinaesnxmnkxnhnahnungpidwywacathikarprachumkhrngaerkkhxngsthabnkarthakhwameyn Institute of Refrigeration thiparis aelaerimepnthiruckkinkhristthswrrs 1920 odyechphaacak enthalpy entropy chart thithukephyaephrxxkmain kh s 1927 kxnhnakhristthswrrs 1920 sylksn H thukichaebbpraprayxyuphxkhwrephuxhmaythung khwamrxn innythwip niyamaebbekhrngkhrdkhxng H thicakdthungexnthalpihrux heat content at constant pressure enuxhakhwamrxnthikhwamdnkhngthi ethannthuknaesnxxyangepnthangkarodyxlefrd dbebilyu phxretxr Alfred W Porter in kh s 1922duephimkdkhxngxunhphlsastr Hess s law Isenthalpic process Calorimetry aekhlxrimietxrhmayehtuaT TV nRTP T p nRTPV 1 displaystyle alpha T frac T V left frac partial frac nRT P partial T right p frac nRT PV 1 immikarklawthungkhawaexnthalpiin The Collected Works of J Willard Gibbs Vol I aetmikarklawthung heat function for constant pressure fngkchnkhwamrxnsahrbkhwamdnkhngthi duthi Henderson Douglas Eyring Henry Jost Wilhelm 1967 Physical Chemistry An Advanced Treatise Academic Press p 29 xangxingIUPAC Compendium of Chemical Terminology 2nd ed the Gold Book 1997 Online corrected version 2006 enthalpy Zemansky Mark W 1968 Chapter 11 Heat and Thermodynamics 5th ed New York NY McGraw Hill p 275 Van Wylen G J Sonntag R E 1985 Section 5 5 Fundamentals of Classical Thermodynamics 3rd ed New York John Wiley amp Sons ISBN 978 0 471 82933 1 Atkins Peter de Paula Julio 2006 Atkins Physical Chemistry 8th ed W H Freeman p 51 ISBN 0 7167 8759 8 Laidler Keith J Meiser John H 1999 Physical Chemistry 3 ed Boston Houghton Mifflin p 66 ISBN 0 395 91848 0 Guggenheim E A 1959 Thermodynamics Amsterdam North Holland Publishing Company p 88 Moran M J Shapiro H N 2006 Fundamentals of Engineering Thermodynamics 5th ed John Wiley amp Sons p 511 ISBN 9780470030370 Iribarne J V Godson W L 1981 Atmospheric Thermodynamics 2nd ed dxredrchth Kluwer Academic Publishers pp 235 236 ISBN 90 277 1297 2 Tschoegl N W 2000 Fundamentals of Equilibrium and Steady State Thermodynamics xmsetxrdm Elsevier p 17 ISBN 0 444 50426 5 Callen H B 1985 Chapter 5 Thermodynamics and an Introduction to Thermostatistics 2nd 1985 ed niwyxrk John Wiley amp Sons ISBN 9780471862567 Munster A 1970 Classical Thermodynamics aeplody Halberstadt E S lxndxn Wiley Interscience p 6 ISBN 0 471 62430 6 Reif F 1967 Statistical Physics lxndxn McGraw Hill Kittel C Kroemer H 1980 Thermal Physics lxndxn Freeman Rathakrishnan 2015 High Enthalpy Gas Dynamics John Wiley and Sons Singapore Pte Ltd ISBN 978 1118821893 Laidler Keith J Meiser John H 1982 Physical Chemistry Benjamin Cummings p 53 ISBN 978 0 8053 5682 3 Petrucci Ralph H Harwood William S Herring F Geoffrey 2002 General Chemistry 8th ed Prentice Hall pp 237 238 ISBN 978 0 13 014329 7 Moran M J Shapiro H N 2006 Fundamentals of Engineering Thermodynamics 5th ed John Wiley amp Sons p 129 ISBN 9780470030370 phaphprakxbdwykhxmulthiidmacakekhruxngmux REFPROP cakthankhxmulxangxingmatrthanelkhthi 23 khxngsphabnmatrthanaelaethkhonolyiaehngchatishrth NIST Standard Reference Database 23 Howard 2002 p 697 Kamerlingh Onnes called it enthalpy from 8alpos heat Liddell Henry George Scott Robert 1940 8alpos A Greek English Lexicon xxksfxrd Clarendon Press cakaehlngedimemux 25 tulakhm 2022 odythang www perseus tufts edu Howard 2002 p 697 However J R Partington in An Advanced Treatise on Physical Chemistry 1949 got the references for enthalpy right Partington states that The function H sometimes symbolized by W I or by Gibbs x is now usually called the heat content Tinoco Ignacio Jr Sauer Kenneth Wang James C 1995 Physical Chemistry 3rd ed Prentice Hall p 41 ISBN 978 0 13 186545 7 Meiser John H 1982 Physical Chemistry Benjamin Cummings p 53 ISBN 978 0 8053 5682 3 Dalton J P 1909 Researches on the Joule Kelvin effect especially at low temperatures I Calculations for hydrogen Proceedings of the Section of Sciences Koninklijke Akademie van Wetenschappen te Amsterdam Royal Academy of Sciences at Amsterdam 11 part 2 863 873 Bibcode 1908KNAB 11 863D duthihna 864 footnote 1 1995 The World of Physical Chemistry Oxford University Press p 110 Van Ness Hendrick C 2003 H Is for Enthalpy Journal of Chemical Education 80 6 486 Bibcode 2003JChEd 80 486V doi 10 1021 ed080p486 1 Porter Alfred W 1922 The generation and utilisation of cold A general discussion Transactions of the Faraday Society 18 139 143 doi 10 1039 tf9221800139 duthihna 140 Howard 2002 brrnanukrm Howard Irmgard K 2002 H Is for Enthalpy Thanks to Heike Kamerlingh Onnes and Alfred W Porter PDF Journal of Chemical Education 79 6 697 Bibcode 2002JChEd 79 697H doi 10 1021 ed079p697 S2CID 96202125