กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ กล่าวถึง กฎทรงพลังงาน ความว่า
พลังงานภายในของระบบที่เพิ่มขึ้น เท่ากับปริมาณพลังงานความร้อนที่นำเข้าสู่ระบบ ลบด้วยพลังงานที่สูญเสียไปเป็นงานของระบบที่กระทำต่อสิ่งแวดล้อม
(The increase in the internal energy of a system is equal to the amount of energy added by heating the system, minus the amount lost as a result of the work done by the system on its surroundings.)
กล่าวคือ พลังงานในระบบอุณหพลศาสตร์หนึ่งๆ จะมีค่ารวมเท่าเดิมเสมอ ความร้อนที่เกิดขึ้นคือกระบวนการนำพลังงานเข้าสู่ระบบจากแหล่งอุณหภูมิสูง หรือสูญเสียออกจากระบบโดยส่งออกไปยังแหล่งอุณหภูมิต่ำ พลังงานนี้อาจสูญเสียไปจากการเกิดงานทางกลต่อสิ่งแวดล้อมของระบบ หรืออาจกล่าวว่าการทำให้เกิดงานทางกลต่อสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดพลังงานขึ้นก็ได้ กฎข้อที่หนึ่งกล่าวถึงพลังงานเหล่านี้ว่ามีผลรวมคงที่ นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายใน ย่อมจะเท่ากับปริมาณความร้อนที่นำเข้าระบบ ลบด้วยปริมาณความร้อนที่สูญเสียออกจากระบบ (ซึ่งทำให้เกิดงานทางกลต่อสิ่งแวดล้อม)
สมการ
สำหรับระบบเทอร์โมได้นามิกแบบปิด, กฎข้อแรกของเทอร์โมไดนามิกได้กล่าวไว้ว่า
- , หรือเท่ากับ,
โดยที่ คือปริมาณของพลังงานที่เพิ่มเข้ามาในระบบโดยกระบวนการความร้อน, เป็นปริมาณของพลังงานที่สูญเสียไปจากระบบเนื่องจากงานที่กระทำโดยระบบไปที่สภาพแวดล้อมและ คือการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในของระบบ
เครื่องหมาย δ หน้าพจน์ของความร้อนและงานนั้นใช้เพื่อบ่งบอกถึงการเพิ่มขึ้นของพลังงาน ซึ่งเป็นคนละความหมายกับ ซึ่งหมายถึงการเพิ่มขึ้นของพลังงานภายใน (ดูเพิ่มได้ที่ Inexact differential) งานและความร้อนหมายถึงกระบวนการที่ทำให้เกิดการเพิ่มหรือหายไปของพลังงานในระบบ ในขณะที่พลังงานภายใน เป็นสมบัติในสภาวะหนึ่งของระบบเมื่อระบบไม่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพสมดุลทางความร้อนนั่นคือ พจน์ "พลังงานความร้อน" หมายถึง "ปริมาณของพลังงานที่ถูกเพิ่มเข้ามาเนื่องจากผลของการให้ความร้อน" ไม่ได้หมายถึงรูปแบบของพลังงานชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกันพจน์ "งาน" หมายถึง "ปริมาณของพลังงานที่สูญเสียไปซึ่งเป็นผลมาจากงาน" นั่นคือคนๆหนึ่งสามารถบอกถึงปริมาณของพลังงานภายในของระบบความร้อนได้โดยรู้สถานะหนึ่งของระบบแต่ไม่สามารถบอกได้ว่าก่อนหน้านั้นมีพลังงานเท่าไหร่ไหลเข้าหรืออกจากระบบเนื่องจากผลของการร้อนขึ้นหรือเย็นลงหรือจากงานที่กระทำหรือถูกกระทำ โดยรู้เพียงแค่สถานะหนึ่งของระบบ
เอนโทรปี เป็นฟังก์ชั่นของสถานะของระบบซึ่งบอกถึงข้อจำกัดของความเป็นไปได้ในการแปลงความร้อนเป็นงาน
สำหรับระบบยุบตัวได้อย่างง่าย (simple compressible system), งานที่ถูกกระทำโดยระบบสามารถอธิบายได้โดย
ซึ่ง หมายถึงความดันและ คือการเปลี่ยนแปลงเล็กๆของปริมาตรของระบบ, ซึ่งแต่ละตัวเป็นตัวแปรของระบบ ในกรณีสมมุติที่กระบวนการเป็นกระบวนการอดุมคติและช้าอย่างเป็นอนันต์ หรือที่เรียกว่า กระบวนการกึ่งคงที่ (quasi-static) และเป็นกระบวนการย้อนกลับได้, ความร้อนที่ถูกถ่ายโอนจากแหล่งกำเนิดด้วยอุณหภูมิที่มากกว่าอณหภูมิของระบบซึ่งมากกว่าแบบน้อยมากๆจนเป็นอนันต์ หรือเรียกว่ามากกว่าแบบกณิกนันต์ (infinitesimally), พลังงานความร้อนนี้สามารถอธิบายได้โดย
โดยที่ คืออุณหภูมิและ คือการเปลี่ยนแปลงเล็กๆของเอนโทรปีของระบบ ซึ่งอุณหภูมิและเอนโทรปีเป็นตัวแปรของระบบ
ถ้าระบบเปิด (โดยที่อาจมีการแลกเปลี่ยนมวลกับสภาพแวดล้อมได้) มีกำแพงหลายกำแพงซึ่งมวลมีการแลกเปลี่ยนผ่านกำแพงที่แยกระหว่างความร้อนและงานที่แลกเปลี่ยนแล้ว กฎข้อแรกของเทอร์โมไดนามิกสามารถเขียนได้ดังนี้
โดยที่ คือมวลที่เพิ่มเข้ามาและ คือพลังงานภายในต่อหน่วยมวลของมวลที่เพิ่มเข้ามา ซึ่งวัดจากสภาพแวดล้อมก่อนเกิดกระบวนการ
อ้างอิง
- Goldstein, Martin, and Inge F. (1993). The Refrigerator and the Universe. Harvard University Press. . OCLC 32826343. Chpts. 2 and 3 contain a nontechnical treatment of the First Law.
- Çengel Y.A. and Boles M. (2007). "Thermodynamics: an engineering approach". McGraw-Hill Higher Education. . Chapter 2.
- Atkins P. (2007). "Four Laws that drive the Universe". OUP Oxford. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdkhxthihnungkhxngxunhphlsastr klawthung kdthrngphlngngan khwamwa phlngnganphayinkhxngrabbthiephimkhun ethakbprimanphlngngankhwamrxnthinaekhasurabb lbdwyphlngnganthisuyesiyipepnngankhxngrabbthikrathatxsingaewdlxm The increase in the internal energy of a system is equal to the amount of energy added by heating the system minus the amount lost as a result of the work done by the system on its surroundings klawkhux phlngnganinrabbxunhphlsastrhnung camikharwmethaedimesmx khwamrxnthiekidkhunkhuxkrabwnkarnaphlngnganekhasurabbcakaehlngxunhphumisung hruxsuyesiyxxkcakrabbodysngxxkipyngaehlngxunhphumita phlngngannixacsuyesiyipcakkarekidnganthangkltxsingaewdlxmkhxngrabb hruxxacklawwakarthaihekidnganthangkltxsingaewdlxmthaihekidphlngngankhunkid kdkhxthihnungklawthungphlngnganehlaniwamiphlrwmkhngthi nnkhux karepliynaeplngkhxngphlngnganphayin yxmcaethakbprimankhwamrxnthinaekharabb lbdwyprimankhwamrxnthisuyesiyxxkcakrabb sungthaihekidnganthangkltxsingaewdlxm smkarsahrbrabbethxromidnamikaebbpid kdkhxaerkkhxngethxromidnamikidklawiwwa dQ dU dW displaystyle delta Q mathrm d U delta W hruxethakb dU dQ dW displaystyle mathrm d U delta Q delta W odythi dQ displaystyle delta Q khuxprimankhxngphlngnganthiephimekhamainrabbodykrabwnkarkhwamrxn dW displaystyle delta W epnprimankhxngphlngnganthisuyesiyipcakrabbenuxngcaknganthikrathaodyrabbipthisphaphaewdlxmaela dU displaystyle mathrm d U khuxkarepliynaeplngkhxngphlngnganphayinkhxngrabb ekhruxnghmay d hnaphcnkhxngkhwamrxnaelangannnichephuxbngbxkthungkarephimkhunkhxngphlngngan sungepnkhnlakhwamhmaykb dU displaystyle mathrm d U sunghmaythungkarephimkhunkhxngphlngnganphayin duephimidthi Inexact differential nganaelakhwamrxnhmaythungkrabwnkarthithaihekidkarephimhruxhayipkhxngphlngnganinrabb inkhnathiphlngnganphayin U displaystyle U epnsmbtiinsphawahnungkhxngrabbemuxrabbimmikarepliynaeplngsphaphsmdulthangkhwamrxnnnkhux phcn phlngngankhwamrxn dQ displaystyle delta Q hmaythung primankhxngphlngnganthithukephimekhamaenuxngcakphlkhxngkarihkhwamrxn imidhmaythungrupaebbkhxngphlngnganchnidhnung echnediywknphcn ngan dW displaystyle delta W hmaythung primankhxngphlngnganthisuyesiyipsungepnphlmacakngan nnkhuxkhnhnungsamarthbxkthungprimankhxngphlngnganphayinkhxngrabbkhwamrxnidodyrusthanahnungkhxngrabbaetimsamarthbxkidwakxnhnannmiphlngnganethaihrihlekhahruxxkcakrabbenuxngcakphlkhxngkarrxnkhunhruxeynlnghruxcaknganthikrathahruxthukkratha odyruephiyngaekhsthanahnungkhxngrabb exnothrpi epnfngkchnkhxngsthanakhxngrabbsungbxkthungkhxcakdkhxngkhwamepnipidinkaraeplngkhwamrxnepnngan sahrbrabbyubtwidxyangngay simple compressible system nganthithukkrathaodyrabbsamarthxthibayidody dW PdV displaystyle delta W P mathrm d V sung P displaystyle P hmaythungkhwamdnaela dV displaystyle dV khuxkarepliynaeplngelkkhxngprimatrkhxngrabb sungaetlatwepntwaeprkhxngrabb inkrnismmutithikrabwnkarepnkrabwnkarxdumkhtiaelachaxyangepnxnnt hruxthieriykwa krabwnkarkungkhngthi quasi static aelaepnkrabwnkaryxnklbid khwamrxnthithukthayoxncakaehlngkaeniddwyxunhphumithimakkwaxnhphumikhxngrabbsungmakkwaaebbnxymakcnepnxnnt hruxeriykwamakkwaaebbkniknnt infinitesimally phlngngankhwamrxnnisamarthxthibayidody dQ TdS displaystyle delta Q T mathrm d S odythi T displaystyle T khuxxunhphumiaela dS displaystyle mathrm d S khuxkarepliynaeplngelkkhxngexnothrpikhxngrabb sungxunhphumiaelaexnothrpiepntwaeprkhxngrabb tharabbepid odythixacmikaraelkepliynmwlkbsphaphaewdlxmid mikaaephnghlaykaaephngsungmwlmikaraelkepliynphankaaephngthiaeykrahwangkhwamrxnaelanganthiaelkepliynaelw kdkhxaerkkhxngethxromidnamiksamarthekhiyniddngni dU dQ dW u dM displaystyle mathrm d U delta Q delta W u dM odythi dM displaystyle dM khuxmwlthiephimekhamaaela u displaystyle u khuxphlngnganphayintxhnwymwlkhxngmwlthiephimekhama sungwdcaksphaphaewdlxmkxnekidkrabwnkarxangxingGoldstein Martin and Inge F 1993 The Refrigerator and the Universe Harvard University Press ISBN 0 674 75325 9 OCLC 32826343 Chpts 2 and 3 contain a nontechnical treatment of the First Law Cengel Y A and Boles M 2007 Thermodynamics an engineering approach McGraw Hill Higher Education ISBN 0 07 125771 3 Chapter 2 Atkins P 2007 Four Laws that drive the Universe OUP Oxford ISBN 0 19 923236 9 bthkhwamwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk