ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ในทางอุณหพลศาสตร์ ขอบเขต หมายถึงบริเวณที่ล้อมรอบพื้นที่เชิงปริมาณของสิ่ง ๆ หนึ่งเอาไว้ โดยขอบเขตนี้จะเป็นขอบเขตที่มีปรากฏอยู่จริงหรือโดยจินตนาการก็ได้ และปริมาณต่าง ๆ เช่น ความร้อน มวล หรืองาน สามารถไหลผ่านขอบเขตเหล่านี้ได้ หรืออาจจะสรุปสั้น ๆ ได้ว่า ขอบเขตคือเส้นแบ่งระหว่างระบบ และ สิ่งแวดล้อมนั่นเอง ขอบเขตนี้อาจจะถูกกำหนดให้เป็นอะเดียบาติก ไอโซเทอร์มอล ฯลฯ ก็ได้ อีกทั้งยังอาจจะเป็นขอบเขตที่เคลื่อนที่ไม่ได้ หรือเคลื่อนที่ได้ก็ได้
โดยพื้นฐานแล้ว ขอบเขตจะเขียนด้วยเส้นประล้อมรอบปริมาณของบางสิ่งที่สนใจ หรือที่เรียกว่า "ระบบ" ซึ่งจะถูกศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในของมัน อะไรก็ตามที่ไหลเข้ามาในระบบจะก่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในซึ่งสามารถคำนวณได้ตามหลักการของกฎทรงพลังงาน ระบบนี้อาจจะเป็นเพียงอะตอมหนึ่งอะตอมที่สั่นฟ้องกับพลังงานดั่งที่มักซ์ พลังค์ได้นิยามเอาไว้ใน พ.ศ. 2443 หรือ เป็นไอน้ำหรืออากาศในเครื่องจักรไอน้ำ ตามที่ซาดี การ์โนต์ นิยามไว้ในปี พ.ศ. 2367 หรืออาจจะเป็นพายุไต้ฝุ่นตามทฤษฎีของเคอร์รี เอ็มมานูเอลที่ถูกสร้างใน พ.ศ. 2529 หรืออาจจะเป็นเพียงนิวไคลด์ ในระบบควาร์ก ตามทฤษฎีอุณหพลศาสตร์ ควอนตัม
สำหรับในเครื่องยนต์ ขอบเขตเคลื่อนที่ไม่ได้คือการที่ลูกสูบถูกยึดตรึง อันเป็นช่วงที่กระบวนการปริมาตรคงที่เกิดขึ้น และในเครื่องยนต์เดียวกัน การเคลื่อนที่ของขอบเขตคือการเคลื่อนที่ขึ้น-ลงของลูกสูบนั่นเอง
สำหรับในระบบปิด (ระบบที่ไม่ยอมให้เกิดการถ่ายเทมวลสาร) ขอบเขตของระบบเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง ในขณะที่ระบบเปิด (ยอมให้มีการถ่ายเทมวลสาร) ขอบเขตมักจะมาจากการสร้างในจินตนาการ
อ้างอิง
- Perrot, Pierre (1998). A to Z of Thermodynamics. Oxford University Press. .
2. Parm Suksakul (2003). A Pity Boy.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud inthangxunhphlsastr khxbekht hmaythungbriewnthilxmrxbphunthiechingprimankhxngsing hnungexaiw odykhxbekhtnicaepnkhxbekhtthimipraktxyucringhruxodycintnakarkid aelaprimantang echn khwamrxn mwl hruxngan samarthihlphankhxbekhtehlaniid hruxxaccasrupsn idwa khxbekhtkhuxesnaebngrahwangrabb aela singaewdlxmnnexng khxbekhtnixaccathukkahndihepnxaediybatik ixosethxrmxl l kid xikthngyngxaccaepnkhxbekhtthiekhluxnthiimid hruxekhluxnthiidkid odyphunthanaelw khxbekhtcaekhiyndwyesnpralxmrxbprimankhxngbangsingthisnic hruxthieriykwa rabb sungcathuksuksakarepliynaeplngkhxngphlngnganphayinkhxngmn xairktamthiihlekhamainrabbcakxnihekidkarepliynaeplngkhxngphlngnganphayinsungsamarthkhanwnidtamhlkkarkhxngkdthrngphlngngan rabbnixaccaepnephiyngxatxmhnungxatxmthisnfxngkbphlngngandngthimks phlngkhidniyamexaiwin ph s 2443 hrux epnixnahruxxakasinekhruxngckrixna tamthisadi karont niyamiwinpi ph s 2367 hruxxaccaepnphayuitfuntamthvsdikhxngekhxrri exmmanuexlthithuksrangin ph s 2529 hruxxaccaepnephiyngniwikhld inrabbkhwark tamthvsdixunhphlsastr khwxntm sahrbinekhruxngynt khxbekhtekhluxnthiimidkhuxkarthiluksubthukyudtrung xnepnchwngthikrabwnkarprimatrkhngthiekidkhun aelainekhruxngyntediywkn karekhluxnthikhxngkhxbekhtkhuxkarekhluxnthikhun lngkhxngluksubnnexng sahrbinrabbpid rabbthiimyxmihekidkarthayethmwlsar khxbekhtkhxngrabbepnsingthimixyucring inkhnathirabbepid yxmihmikarthayethmwlsar khxbekhtmkcamacakkarsrangincintnakarxangxingPerrot Pierre 1998 A to Z of Thermodynamics Oxford University Press ISBN 0 19 856552 6 2 Parm Suksakul 2003 A Pity Boy