เต้าหู้ (จีน: 豆腐; พินอิน: dòufu; ญี่ปุ่น: 豆腐; โรมาจิ: tōfu) เป็นอาหารที่ทำมาจากน้ำเต้าหู้เป็น แล้วกดให้เป็นก้อนขาวที่มีต่างกันตามแต่ละชนิด เต้าหู้ตามคุณค่าทางโภชนาการมีแคลอรีต่ำ แต่มีโปรตีนสูง ธาตุเหล็กสูง และอาจมีแคลเซียมหรือแมกนีเซียมสูงตามระดับความแข็งซึ่งแปรตามปริมาณสารที่เติมลงไป (เช่น , แคลเซียมซัลเฟต, แมกนีเซียมซัลเฟต)
ก้อนเต้าหู้อ่อนที่ใช้ในอาหารญี่ปุ่น | |
ชื่ออื่น | tofu, bean curd |
---|---|
แหล่งกำเนิด | มณฑลอานฮุย ประเทศจีน |
ที่เกี่ยวข้อง | |
ส่วนผสมหลัก | น้ำเต้าหู้ |
|
ชื่อตามภูมิภาค | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
"เต้าหู้" ในอักษรจีน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาจีน | 豆腐 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฮั่นยฺหวี่พินอิน | dòufu | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "bean curd/ferment" | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาพม่า | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาพม่า | တို့ဟူး tui. hu: | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเวียดนาม | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาเวียดนาม | đậu hủ, đậu phụ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จื๋อฮ้าน | 豆腐 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาไทย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรไทย | เต้าหู้ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรโรมัน | taohu | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฮันกึล | 두부 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฮันจา | 豆腐 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คันจิ | 豆腐 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คานะ | とうふ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อมลายู | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มลายู | tauhu | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่ออินโดนีเซีย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อินโดนีเซีย | tahu | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาฟิลิปีโน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตากาล็อก | tahô, tokwa | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อทมิฬ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทมิฬ | டோஃபு ṭōḥpu | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อเขมร | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เขมร | តៅហ៊ូ tauhu |
เต้าหู้มีต้นกำเนิดที่จีนและมีการบริโภคในจีนมาตั้งแต่ราชวงศ์ฮั่น ซึ่งรวมแล้วมากกว่า 2,000 ปี และยังเป็นองค์ประกอบดั้งเดิมของอาหารในเอเชียตะวันออกและ เช่น อินโดนีเซีย, ญี่ปุ่น, เกาหลี, สิงคโปร์, ไทย และ เวียดนาม
ศัพทมูลวิทยา
ศัพท์ภาษาอังกฤษ "tofu" มาจากภาษาญี่ปุ่นว่า โทฟุ (豆腐) ซึ่งยืมมาจากภาษาจีนว่า 豆腐 (แมนดาริน: dòufu) แปลว่า 'เต้าหู้' บันทึกแรกสุดที่กล่าวถึงคำนี้ในภาษาอังกฤษคือ towfu จากจดหมายของพ่อค้าชาวอังกฤษ ถึงเบนจามิน แฟรงกลินใน ค.ศ. 1770: 73
ประวัติ
เต้าหู้ก้อนแรกเกิดขึ้นในประเทศจีน เล่าขานกันว่า เจ้าชายหลิวอัน (พระนัดดาของจักรพรรดิหลิวปัง กษัตริย์องค์แรกของราชวงศ์ฮั่น) สั่งให้พ่อครัวบดถั่วเหลืองให้เป็นผงแล้วนำไปต้มเป็นน้ำซุปด้วยเกรงว่ารสจะจืดเกินไป จึงโปรดให้พ่อครัวเติมเกลือลงไปปรุงรส เพื่อถวายพระมารดาซึ่งประชวรหนักจนไม่มีแรงที่จะเคี้ยวอาหารได้
น้ำถั่วเหลืองต้มนั้นค่อย ๆ จับตัวข้นเป็นก้อนสีขาวนุ่ม ๆ เมื่อพระมารดาเสวยแล้วถึงกับรับสั่งว่า “อร่อย” เจ้าชายจึงให้เหล่าพ่อครัวค้นหาสาเหตุ จึงพบว่าเกลือบางชนิดมีผลทำให้ผงถั่วเหลืองผสมน้ำเกิดการเกาะตัวขึ้นเป็นเต้าหู้
ชาวญี่ปุ่นรู้จักการปลูกถั่วเหลืองมานานแล้ว เต้าหู้เดินทางเข้ามาในญี่ปุ่นในสมัยนารา มีการบันทึกว่า เคนโตะ พระญี่ปุ่นนำเต้าหู้มาเผยแพร่หลังจากกลับมาจากการศึกษาพุทธศาสนาที่ประเทศจีน แต่ยังเป็นอาหารที่รับประทานกันในหมู่พระญี่ปุ่น ร้อยปีถัดมา เต้าหู้จึงได้มาเป็นส่วนหนึ่งในเมนูของชนชั้นขุนนางและซามูไร ส่วนประชาชนได้ลิ้มรสในสมัยเอโดะ
แต่พวกเขาเพิ่งรู้จักวิธีดัดแปลงถั่วเหลืองนำไปปรุงเป็นเต้าหู้เมื่อพุทธศตวรรษที่ 7 โดยทางพุทธศาสนา แต่ศาสนาพุทธในสังคมญี่ปุ่นสมัยนั้นเป็นศาสนาของชนชั้นกลางและชนชั้นสูงบทบาทเต้าหู้ในอาหารญี่ปุ่นจึงจำกัดไว้กับคนเฉพาะกลุ่มซึ่งแตกต่างจากจีนที่ไม่มีการแบ่งชนชั้น
วิธีการเตรียมอาหารจีนและญี่ปุ่นต่างกัน คือ คนจีนพยายามดัดแปลงเต้าหู้ในรูปแบบต่าง ๆ มากมาย เช่น อาจเปลี่ยนรูปทรงหรือรสชาติไป ในขณะที่คนญี่ปุ่นกลับพยายามรักษาความเรียบง่ายรวมทั้งรสชาติ รูปทรงและสีสันของเต้าหู้ให้คงไว้อย่างเดิมให้มากที่สุด พร้อมกับเสิร์ฟในจานหรือถ้วยที่สวยงามจนถือว่าเป็นศิลปะขั้นสูงแขนงหนึ่ง
ประโยชน์
เต้าหู้ เป็นผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองซึ่งให้คุณค่าทางโภชนาการสูงโดยเฉพาะโปรตีน ซึ่งให้โปรตีนมากกว่าเนื้อสัตว์บางชนิดถึง สองเท่าในปริมาณที่เท่ากันและมีราคาถูกอีกด้วย เต้าหู้ยังเป็นอาหารที่ย่อยง่าย ไม่มีคอเลสเตอรอล
โดยวัตถุดิบ ถั่วเหลืองยังมีสาร เลซิติน ซึ่งมีผลในการลดไขมันและช่วยส่งเสริมการทำงานของระบบประสาทที่เกี่ยวกับความทรงจำ และฮอร์โมนจากพืช ที่มีการวิจัยพบว่ามีผลในการป้องกันมะเร็งและมีผลดีต่อผู้หญิงวัยทองคือช่วยชะลอภาวะหมดประจำเดือนและลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านม
วิธีทำ
การทำเต้าหู้เป็นกระบวนการผลิตที่ต้องใช้ความประณีต มีผู้ที่ดูแลการผลิตเรียกว่า “เถ่าชิ่ว” หรือพ่อครัวเป็นผู้ที่มีความชำนาญและสมาธิอย่างสูง เริ่มด้วยการตวงถั่วเหลืองแล้วแช่ถั่วในน้ำพร้อมทั้งล้างน้ำจนกระทั่งสะอาด จากนั้นจึงนำไปบดด้วยเครื่องโม่เสร็จแล้วจึงกรองกากถั่วเหลืองออกจนได้น้ำเต้าหู้ดิบแล้วนำไปต้ม ซึ่งเรียกเป็นน้ำเต้าหู้สุกพร้อมดื่ม นำน้ำเต้าหู้ที่ได้ผ่านการต้มไปผ่านขั้นตอนการทำเป็นเต้าหู้ชนิดต่าง ๆ ต่อไปซึ่งมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไป
ชนิด
เต้าหู้ชนิดอ่อน
- เต้าหู้ชนิดเหลืองนิ่ม วิธีการทำต่างจากเต้าหู้ขาวแข็งเพราะใช้แคลเซียมซัลเฟต (ผงยิปซัม หรือที่เรียกในภาษาจีนแต้จิ๋วว่า "เจียะกอ(石膏)“ ในการทำให้โปรตีนในน้ำนมถั่วเหลืองตกตะกอน ซึ่งเนื้อจะเนียนและไม่แข็งเท่าเต้าหู้ขาวแข็ง เมื่อตกตะกอนแล้วนำมาใส่ผ้าขาวบางห่อในบล็อกให้เป็นก้อนแล้วนำไปต้ม ใส่ขมิ้นให้ได้สีเหลือง คุณสมบัติเด่นของเต้าหู้เหลืองนิ่มคือ เมื่อนำไปทอดแล้วจะทำให้ได้เต้าหู้ที่กรอบนอกนุ่มใน เต้าหู้ชนิดนี้เหมาะที่จะนำไปผัดกับกุยช่ายขาว ทอดจิ้มน้ำจิ้มเปรี้ยวหวาน ทอดกินกับน้ำพริกกะปิหรือทอดจิ้มกับน้ำจิ้มซีฟู้ดก็ได้
- เต้าหู้ชนิดขาวอ่อน ลักษณะอ่อนนุ่มกว่าเต้าหู้เหลืองนิ่ม กรรมวิธีการผลิตเหมือนกับเต้าหู้เหลืองนิ่มจะต่างกันเพียงเวลาในการทำน้อยกว่า เต้าหู้ชนิดนี้นิยมนำไปทำเป็นแกงจืด เต้าหู้นึ่งหรือสเต๊กเต้าหู้
- เต้าหู้ชนิดห่อผ้า วิธีการทำเหมือนกับเต้าหู้ชนิดขาวอ่อน ต่างกันเพียงการบรรจุหีบห่อที่นำมาห่อผ้าแล้วมัดทำให้แข็งและคงรูปร่างได้ดีมากขึ้นเมื่อนำไปทำอาหาร ส่วนใหญ่จะนำไปทำเต้าหู้ทรงเครื่องหรือแกงจืด
เต้าหู้ชนิดแข็ง
- เต้าหู้ชนิดขาวแข็ง ทำจากน้ำเต้าหู้ผสมกับดีเกลือ (แมกนีเซียมซัลเฟต) ที่ช่วยทำให้เกิดการตกตะกอนเมื่อตกตะกอนแล้วจึงนำไปใส่ในผ้าขาวที่ปูอยู่ในบล็อก พอสะเด็ดน้ำแล้วจึงห่อให้เป็นก้อนแล้วทำให้สะเด็ดน้ำอีกครั้งก็จะได้เป็นเต้าหู้ขาวแข็ง
- เต้าหู้ชนิดเหลืองแข็ง วิธีการทำนำเต้าหู้ขาวแข็งไปหมักในเกลือแล้วจึงนำไปต้ม พร้อมทั้งใส่ขมิ้นให้เป็นสีเหลืองเคลือบบริเวณผิวของเต้าหู้ทำให้เนื้อเต้าหู้ชนิดนี้แข็งและมีความยืดหยุ่นกว่าชนิดขาวแข็ง ส่วนใหญ่นำไปทำผัดไทย หมี่กะทิ ผัดถั่วงอก ผัดขลุกขลิกน้ำพริกเผาหรือนำไปผสมเป็นเครื่องก๋วยเตี๋ยวหลอด
- เต้าหู้ชนิดทอด มีส่วนประกอบคล้ายกับเต้าหู้ขาวแข็งแต่มีสัดส่วนและเทคนิคที่แตกต่างกัน เนื้อสัมผัสที่ได้จากเต้าหู้ชนิดนี้มีความอ่อนนุ่มกว่าเต้าหู้ขาวแข็ง เมื่อนำไปทอดแล้วจะพองตัวมากกว่าและภายในจะมีเนื้อเต้าหู้อยู่ไม่พองหรือกลวง โดยมากจะใส่ในอาหารประเภทต้ม (พะโล้ ต้มผัดจับฉ่าย แกงต่าง ๆ และลูกชิ้นแคะ)
- เต้าหู้ชนิดซีอิ๊วดำ วิธีทำนำเต้าหู้ชนิดเหลืองแข็งไปเคี่ยวกับซีอิ๊วดำและเครื่องเทศสมุนไพรต่าง ๆ เพื่อให้เกิดกลิ่นหอมและรสชาติที่แตกต่างโดยใส่น้ำตาลทรายแดงทำให้มีรสชาติที่กลมกล่อมสามารถเก็บไว้ได้นานกว่าเต้าหู้ชนิดอื่น ๆ เพราะมีความชื้นน้อย ถ้าเก็บใส่ช่องฟรีซจะเก็บไว้ได้นานหลายเดือน นิยมนำไปยำกับเกี้ยมไฉ่ ผัดกับดอกกุยช่าย ใส่ในอาหารเจแทนเนื้อหมูในพะโล้เจหรือทานเป็นอาหารว่างก็ได้
เต้าหู้หลอด
เป็นเต้าหู้เนื้อนิ่มมีสองชนิดคือ ชนิดที่ทำมาจากถั่วเหลืองล้วนและชนิดที่ทำจากไข่ไก่ (เรียกว่าเต้าหู้ไข่ซึ่งไม่มีส่วนผสมของถั่วเหลืองแต่อย่างใด) นิยมนำมาใส่ในแกงจืด สุกียากี้ ทำเต้าหู้อบ เต้าหู้ตุ๋นหรือนำมาคลุกกับแป้งข้าวโพดแล้วทอด
เต้าหู้พวง
เป็นเต้าหู้หั่นเป็นชิ้นแล้วทอด ร้อยเชือกขายเป็นพวงใช้ใส่ในก๋วยเตี๋ยวเย็นตาโฟและพะโล้
เต้าหู้โมเมน
เป็นการผลิตแบบญี่ปุ่น เต้าหู้ชนิดนี้เนื้อค่อนข้างแข็งแน่น นำไปปรุงเป็นอาหารได้เหมือนเต้าหู้ขาวแข็ง
เต้าหู้คินุ
เป็นการผลิตแบบญี่ปุ่นเช่นกัน เนื้อเหมือนเต้าหู้ขาวอ่อนสามารถนำไปประกอบอาหารได้เช่นเดียวกับเต้าหู้ขาวอ่อน
วิธีเลือกซื้อเต้าหู้
- ทดสอบว่าเต้าหู้ยี่ห้อนั้นใส่สารกันบูดหรือไม่ โดยการนำมาวางไว้ที่อุณหภูมิห้องหนึ่งวันถ้าเสียแสดงว่าไม่ใส่สารกันบูด
- ต้องไม่มีเหงื่อหรือน้ำขุ่นขาวซึมออกมาจากเต้าหู้
- เมื่อดมดูแล้วต้องไม่มีกลิ่นเหม็นหรือกลิ่นเปรี้ยว
- สีใกล้เคียงกันทั้งก้อนไม่คล้ำและไม่มีจุดด่างดำ
เบ็ดเตล็ด
การบรรจุหีบห่อแบบสุญญากาศจะช่วยให้เก็บเต้าหู้ได้นานขึ้น แต่ถ้าจะกินให้อร่อยเมื่อซี้อไปแล้วควรนำไปประกอบอาหารให้เร็วที่สุด สำหรับเต้าหู้ซีอิ๊วดำและเต้าหู้ทอดเท่านั้นที่ควรเก็บไว้ในช่องฟรีซ ส่วนเต้าหู้ชนิดอื่น ๆ ให้เก็บในช่องเย็นธรรมดาหรือช่องใต้ช่องฟรีซจะทำให้เก็บไว้ได้นานขึ้น
ดูเพิ่ม
- เมืองเต้าหู้ หวยหนาน
- รายชื่ออาหารจากเต้าหู้
- เย็นตาโฟ
- น้ำเต้าหู้
- เต้าหู้ยี้
- ฟองเต้าหู้
อ้างอิง
- "History of tofu". Soya.be. 2015-11-29. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-21. สืบค้นเมื่อ 2016-10-11.
- Du Bois (2008), pp. 13–14.
- "What is Tofu? What's the Best Way to Cook It?". devour.asia (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-04-03.
- American Heritage Dictionary.
- Etymology, Tofu Magazine, จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-12, สืบค้นเมื่อ 2008-01-05
- tofu, dictionary.com, จากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-29, สืบค้นเมื่อ 2009-09-26
- Wilkinson (2015), p. 445.
- "History of Tofu and Tofu Products (965 CE to 2013) - SoyInfo Center". www.soyinfocenter.com.
ข้อมูล
- Anderson, J. W.; Johnstone, B.M.; Cook-Newell, M.E. (1995), "Meta-Analysis of the Effects of Soy Protein Intake on Serum Lipids", New England Journal of Medicine, 333 (5): 276–282, doi:10.1056/NEJM199508033330502, PMID 7596371
- Ang, Catharina Y. W.; Liu, KeShun; Huang, Yao-Wen, บ.ก. (1999), Asian Foods: Science & Technology, Lancaster, Pennsylvania: Technomic Publishing Co.
- Du Bois, Christine M., Chee Beng Tan and Sidney Wilfred Mintz (2008). The World of Soy. Urbana: University of Illinois Press. ISBN .
- Guo, Shun-Tang; Ono, Tomotada (2005). "The Role of Composition and Content of Protein Particles in Soymilk on Tofu Curding by Glucono-δ-lactone or Calcium Sulfate". Journal of Food Science. 70 (4): 258–262. doi:10.1111/j.1365-2621.2005.tb07170.x..
- Liu, KeShun (2012). Soybeans: Chemistry, Technology and Utilization. Springer. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2021-02-18.
- . . Cambridge University Press.
- ; Aoyagi, Akiko (1998), The book of tofu: protein source of the future-- now!, Ten Speed Press, ISBN .
- Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2000). Tofu & soymilk production: a craft and technical manual (3rd ed.). Lafayette, California: Soyfoods Center. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-24. สืบค้นเมื่อ 2020-05-12.
- Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2004d). "Chapter 36: History of Tofu". History of Soybeans and Soyfoods: 1100 B.C. to the 1980s, Volume IV, The History of Traditional Non-Fermented Soyfoods. Soyinfo Center. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-23. สืบค้นเมื่อ 2007-06-16.
- Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2004e). "Chapter 44: History of Fermented Tofu (to Nov. 1985)". History of Soybeans and Soyfoods: 1100 B.C. to the 1980s, Volume V, The History of Traditional Fermented Soyfoods. Soyinfo Center. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-11. สืบค้นเมื่อ 2008-01-05.
- Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2005), Dou fu zhi shu (The book of tofu), Taibei Shi, ISBN . (In Chinese.)
- Shurtleff, William; Aoyagi, Akiko (2013), History of Tofu and Tofu Products (965 CE to 2013), Lafayette, California: Soyinfo Center, ISBN .
- (2015). Chinese History: A New Manual (4th ed.). Cambridge, Mass.: Harvard University Asia Center. ISBN .
อ่านเพิ่ม
- Berk, Zeki (1992), Technology of production of edible flours and protein products from soybeans, FAO agricultural services bulletin, vol. 97, Rome: Food and Agriculture Organization of the United Nations, ISBN .
- Knopper, Melissa. (Jan 2002), The joy of soy, The Rotarian, Vol. 180, No. 1, p. 16, ISSN 0035-838X
- White, L. R.; Petrovitch, H.; Ross, G. W.; Masaki, K.; Hardman, J.; Nelson, J.; Davis, D.; Markesbery, W. (April 1, 2000), , Journal of the American College of Nutrition, 19 (2): 242–255, doi:10.1080/07315724.2000.10718923, PMID 10763906, S2CID 15343026, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2008.
แหล่งข้อมูลอื่น
- The Oxford companion to food Alan Davidson, Tom Jaine
- "The Secrets of Tofu across Japan", a 12-hour English-language documentary from Japanese state broadcaster portraying the production, culinary use, and cultural significance of tofu
- "แกะรอยเต้าหู้จากถั่วเหลืองสู่อาหารหลากแบบ". นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 1 กันยายน 2549 คอลัมน์ต้นทางสุขภาพดี.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
etahu cin 豆腐 phinxin doufu yipun 豆腐 ormaci tōfu epnxaharthithamacaknaetahuepn aelwkdihepnkxnkhawthimitangkntamaetlachnid etahutamkhunkhathangophchnakarmiaekhlxrita aetmioprtinsung thatuehlksung aelaxacmiaekhlesiymhruxaemkniesiymsungtamradbkhwamaekhngsungaeprtamprimansarthietimlngip echn aekhlesiymsleft aemkniesiymsleft etahukxnetahuxxnthiichinxaharyipunchuxxuntofu bean curdaehlngkaenidmnthlxanhuy praethscinchatithimixaharpracachatithiekiywkhxngaela cin yipun ekahli xinodniesiy singkhopr ithy ewiydnamswnphsmhlknaetahutaraxahar etahu sux etahuchuxtamphumiphakh etahu inxksrcinchuxphasacinphasacin豆腐hny hwiphinxindoufukhwamhmaytamtwxksr bean curd ferment karthxdesiyngphasacinklangmatrthanhny hwiphinxindoufucuxinㄉㄡˋ ㄈㄨkwy hwihlwhmacuxdow fuuewd iclstou4 futhngyngphinxindoufuMPS2doufuIPA to u fu phasaxuxksrormndeu vuphasaaekhatheu fuphasakwangtungmatrthanxksrormnaebbeyldauhfuhIPA tɐ u fuː y hwidephngdau6fu6phasahminitphasahkekiyntau huphasahmintawnxxkdau hũphasahminehnuxdae fudeuH bɨoX N t ˤo s b r oʔ doːs boʔchuxphasaphmaphasaphmaတ ဟ tui hu chuxphasaewiydnamphasaewiydnamđậu hủ đậu phụcuxhan豆腐chuxphasaithyxksrithyetahuxksrormntaohuchuxphasaekahlihnkul두부hnca豆腐karthxdesiyngxarxardubuexmxartubuchuxphasayipunkhnci豆腐khanaとうふkarthxdesiyngehpebirnprbprungtōfutohuchuxmlayumlayutauhuchuxxinodniesiyxinodniesiytahuchuxphasafilipiontakalxktaho tokwachuxthmilthmilட ஃப ṭōḥpuchuxekhmrekhmrត ហ tauhu etahumitnkaenidthicinaelamikarbriophkhincinmatngaetrachwngshn sungrwmaelwmakkwa 2 000 pi aelayngepnxngkhprakxbdngedimkhxngxaharinexechiytawnxxkaela echn xinodniesiy yipun ekahli singkhopr ithy aela ewiydnamsphthmulwithyasphthphasaxngkvs tofu macakphasayipunwa othfu 豆腐 sungyummacakphasacinwa 豆腐 aemndarin doufu aeplwa etahu bnthukaerksudthiklawthungkhaniinphasaxngkvskhux towfu cakcdhmaykhxngphxkhachawxngkvs thungebncamin aefrngklinin kh s 1770 73 prawtietahukxnaerkekidkhuninpraethscin elakhanknwa ecachayhliwxn phranddakhxngckrphrrdihliwpng kstriyxngkhaerkkhxngrachwngshn sngihphxkhrwbdthwehluxngihepnphngaelwnaiptmepnnasupdwyekrngwarscacudekinip cungoprdihphxkhrwetimekluxlngipprungrs ephuxthwayphramardasungprachwrhnkcnimmiaerngthicaekhiywxaharid nathwehluxngtmnnkhxy cbtwkhnepnkxnsikhawnum emuxphramardaeswyaelwthungkbrbsngwa xrxy ecachaycungihehlaphxkhrwkhnhasaehtu cungphbwaekluxbangchnidmiphlthaihphngthwehluxngphsmnaekidkarekaatwkhunepnetahu chawyipunruckkarplukthwehluxngmananaelw etahuedinthangekhamainyipuninsmynara mikarbnthukwa ekhnota phrayipunnaetahumaephyaephrhlngcakklbmacakkarsuksaphuththsasnathipraethscin aetyngepnxaharthirbprathankninhmuphrayipun rxypithdma etahucungidmaepnswnhnunginemnukhxngchnchnkhunnangaelasamuir swnprachachnidlimrsinsmyexoda aetphwkekhaephingruckwithiddaeplngthwehluxngnaipprungepnetahuemuxphuththstwrrsthi 7 odythangphuththsasna aetsasnaphuththinsngkhmyipunsmynnepnsasnakhxngchnchnklangaelachnchnsungbthbathetahuinxaharyipuncungcakdiwkbkhnechphaaklumsungaetktangcakcinthiimmikaraebngchnchn withikaretriymxaharcinaelayipuntangkn khux khncinphyayamddaeplngetahuinrupaebbtang makmay echn xacepliynrupthrnghruxrschatiip inkhnathikhnyipunklbphyayamrksakhwameriybngayrwmthngrschati rupthrngaelasisnkhxngetahuihkhngiwxyangedimihmakthisud phrxmkbesirfincanhruxthwythiswyngamcnthuxwaepnsilpakhnsungaekhnnghnungpraoychnetahu epnphlitphnthcakthwehluxngsungihkhunkhathangophchnakarsungodyechphaaoprtin sungihoprtinmakkwaenuxstwbangchnidthung sxngethainprimanthiethaknaelamirakhathukxikdwy etahuyngepnxaharthiyxyngay immikhxelsetxrxl odywtthudib thwehluxngyngmisar elsitin sungmiphlinkarldikhmnaelachwysngesrimkarthangankhxngrabbprasaththiekiywkbkhwamthrngca aelahxromncakphuch thimikarwicyphbwamiphlinkarpxngknmaerngaelamiphlditxphuhyingwythxngkhuxchwychalxphawahmdpracaeduxnaelaldkhwamesiynginkarepnmaerngetanmwithithakarthaetahuepnkrabwnkarphlitthitxngichkhwampranit miphuthiduaelkarphliteriykwa ethachiw hruxphxkhrwepnphuthimikhwamchanayaelasmathixyangsung erimdwykartwngthwehluxngaelwaechthwinnaphrxmthnglangnacnkrathngsaxad caknncungnaipbddwyekhruxngomesrcaelwcungkrxngkakthwehluxngxxkcnidnaetahudibaelwnaiptm sungeriykepnnaetahusukphrxmdum nanaetahuthiidphankartmipphankhntxnkarthaepnetahuchnidtang txipsungmiwithikarthiaetktangknxxkipchnidetahuchnidxxn etahuchnidehluxngnim withikarthatangcaketahukhawaekhngephraaichaekhlesiymsleft phngyipsm hruxthieriykinphasacinaetciwwa eciyakx 石膏 inkarthaihoprtininnanmthwehluxngtktakxn sungenuxcaeniynaelaimaekhngethaetahukhawaekhng emuxtktakxnaelwnamaisphakhawbanghxinblxkihepnkxnaelwnaiptm iskhminihidsiehluxng khunsmbtiednkhxngetahuehluxngnimkhux emuxnaipthxdaelwcathaihidetahuthikrxbnxknumin etahuchnidniehmaathicanaipphdkbkuychaykhaw thxdcimnacimepriywhwan thxdkinkbnaphrikkapihruxthxdcimkbnacimsifudkidetahuchnidkhawxxn lksnaxxnnumkwaetahuehluxngnim krrmwithikarphlitehmuxnkbetahuehluxngnimcatangknephiyngewlainkarthanxykwa etahuchnidniniymnaipthaepnaekngcud etahununghruxsetketahu etahuchnidhxpha withikarthaehmuxnkbetahuchnidkhawxxn tangknephiyngkarbrrcuhibhxthinamahxphaaelwmdthaihaekhngaelakhngruprangiddimakkhunemuxnaipthaxahar swnihycanaipthaetahuthrngekhruxnghruxaekngcudetahuchnidaekhng etahuchnidkhawaekhng thacaknaetahuphsmkbdieklux aemkniesiymsleft thichwythaihekidkartktakxnemuxtktakxnaelwcungnaipisinphakhawthipuxyuinblxk phxsaeddnaaelwcunghxihepnkxnaelwthaihsaeddnaxikkhrngkcaidepnetahukhawaekhngetahuchnidehluxngaekhng withikarthanaetahukhawaekhngiphmkinekluxaelwcungnaiptm phrxmthngiskhminihepnsiehluxngekhluxbbriewnphiwkhxngetahuthaihenuxetahuchnidniaekhngaelamikhwamyudhyunkwachnidkhawaekhng swnihynaipthaphdithy hmikathi phdthwngxk phdkhlukkhliknaphrikephahruxnaipphsmepnekhruxngkwyetiywhlxd etahuchnidthxd miswnprakxbkhlaykbetahukhawaekhngaetmisdswnaelaethkhnikhthiaetktangkn enuxsmphsthiidcaketahuchnidnimikhwamxxnnumkwaetahukhawaekhng emuxnaipthxdaelwcaphxngtwmakkwaaelaphayincamienuxetahuxyuimphxnghruxklwng odymakcaisinxaharpraephthtm phaol tmphdcbchay aekngtang aelalukchinaekha etahuchnidsixiwda withithanaetahuchnidehluxngaekhngipekhiywkbsixiwdaaelaekhruxngethssmuniphrtang ephuxihekidklinhxmaelarschatithiaetktangodyisnatalthrayaedngthaihmirschatithiklmklxmsamarthekbiwidnankwaetahuchnidxun ephraamikhwamchunnxy thaekbischxngfriscaekbiwidnanhlayeduxn niymnaipyakbekiymich phdkbdxkkuychay isinxaharecaethnenuxhmuinphaolechruxthanepnxaharwangkidetahuhlxd epnetahuenuxnimmisxngchnidkhux chnidthithamacakthwehluxnglwnaelachnidthithacakikhik eriykwaetahuikhsungimmiswnphsmkhxngthwehluxngaetxyangid niymnamaisinaekngcud sukiyaki thaetahuxb etahutunhruxnamakhlukkbaepngkhawophdaelwthxd etahuphwng epnetahuhnepnchinaelwthxd rxyechuxkkhayepnphwngichisinkwyetiyweyntaofaelaphaol etahuomemn epnkarphlitaebbyipun etahuchnidnienuxkhxnkhangaekhngaenn naipprungepnxaharidehmuxnetahukhawaekhng etahukhinu epnkarphlitaebbyipunechnkn enuxehmuxnetahukhawxxnsamarthnaipprakxbxaharidechnediywkbetahukhawxxnwithieluxksuxetahuthdsxbwaetahuyihxnnissarknbudhruxim odykarnamawangiwthixunhphumihxnghnungwnthaesiyaesdngwaimissarknbud txngimmiehnguxhruxnakhunkhawsumxxkmacaketahu emuxdmduaelwtxngimmiklinehmnhruxklinepriyw siiklekhiyngknthngkxnimkhlaaelaimmicuddangdaebdetldkarbrrcuhibhxaebbsuyyakascachwyihekbetahuidnankhun aetthacakinihxrxyemuxsixipaelwkhwrnaipprakxbxahariherwthisud sahrbetahusixiwdaaelaetahuthxdethannthikhwrekbiwinchxngfris swnetahuchnidxun ihekbinchxngeynthrrmdahruxchxngitchxngfriscathaihekbiwidnankhunduephimemuxngetahu hwyhnan raychuxxaharcaketahu eyntaof naetahu etahuyi fxngetahuxangxing History of tofu Soya be 2015 11 29 cakaehlngedimemux 2016 08 21 subkhnemux 2016 10 11 Du Bois 2008 pp 13 14 What is Tofu What s the Best Way to Cook It devour asia phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2021 04 03 American Heritage Dictionary Etymology Tofu Magazine cakaehlngedimemux 2007 12 12 subkhnemux 2008 01 05 tofu dictionary com cakaehlngedimemux 2010 04 29 subkhnemux 2009 09 26 Wilkinson 2015 p 445 History of Tofu and Tofu Products 965 CE to 2013 SoyInfo Center www soyinfocenter com khxmulAnderson J W Johnstone B M Cook Newell M E 1995 Meta Analysis of the Effects of Soy Protein Intake on Serum Lipids New England Journal of Medicine 333 5 276 282 doi 10 1056 NEJM199508033330502 PMID 7596371 Ang Catharina Y W Liu KeShun Huang Yao Wen b k 1999 Asian Foods Science amp Technology Lancaster Pennsylvania Technomic Publishing Co Du Bois Christine M Chee Beng Tan and Sidney Wilfred Mintz 2008 The World of Soy Urbana University of Illinois Press ISBN 978 0 252 03341 4 Guo Shun Tang Ono Tomotada 2005 The Role of Composition and Content of Protein Particles in Soymilk on Tofu Curding by Glucono d lactone or Calcium Sulfate Journal of Food Science 70 4 258 262 doi 10 1111 j 1365 2621 2005 tb07170 x Liu KeShun 2012 Soybeans Chemistry Technology and Utilization Springer ISBN 978 1 4615 1763 4 subkhnemux 2021 02 18 Cambridge University Press Aoyagi Akiko 1998 The book of tofu protein source of the future now Ten Speed Press ISBN 978 1 58008 013 2 Shurtleff William Aoyagi Akiko 2000 Tofu amp soymilk production a craft and technical manual 3rd ed Lafayette California Soyfoods Center ISBN 978 1 928914 04 4 cakaehlngedimemux 2017 03 24 subkhnemux 2020 05 12 Shurtleff William Aoyagi Akiko 2004d Chapter 36 History of Tofu History of Soybeans and Soyfoods 1100 B C to the 1980s Volume IV The History of Traditional Non Fermented Soyfoods Soyinfo Center cakaehlngedimemux 2011 06 23 subkhnemux 2007 06 16 Shurtleff William Aoyagi Akiko 2004e Chapter 44 History of Fermented Tofu to Nov 1985 History of Soybeans and Soyfoods 1100 B C to the 1980s Volume V The History of Traditional Fermented Soyfoods Soyinfo Center cakaehlngedimemux 2007 11 11 subkhnemux 2008 01 05 Shurtleff William Aoyagi Akiko 2005 Dou fu zhi shu The book of tofu Taibei Shi ISBN 978 986 81319 1 0 In Chinese Shurtleff William Aoyagi Akiko 2013 History of Tofu and Tofu Products 965 CE to 2013 Lafayette California Soyinfo Center ISBN 978 1 928914 55 6 2015 Chinese History A New Manual 4th ed Cambridge Mass Harvard University Asia Center ISBN 978 0 674 08846 7 xanephimBerk Zeki 1992 Technology of production of edible flours and protein products from soybeans FAO agricultural services bulletin vol 97 Rome Food and Agriculture Organization of the United Nations ISBN 978 92 5 103118 6 Knopper Melissa Jan 2002 The joy of soy The Rotarian Vol 180 No 1 p 16 ISSN 0035 838X White L R Petrovitch H Ross G W Masaki K Hardman J Nelson J Davis D Markesbery W April 1 2000 Journal of the American College of Nutrition 19 2 242 255 doi 10 1080 07315724 2000 10718923 PMID 10763906 S2CID 15343026 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 23 July 2008 aehlngkhxmulxunetahu thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy hakhwamhmaycakwikiphcnanukrmphaphaelasuxcakkhxmmxnsRecipescakwikitarakhxmulcakwikisneths The Oxford companion to food Alan Davidson Tom Jaine The Secrets of Tofu across Japan a 1 2 hour English language documentary from Japanese state broadcaster portraying the production culinary use and cultural significance of tofu aekarxyetahucakthwehluxngsuxaharhlakaebb nitysarchiwcit chbbwnthi 1 knyayn 2549 khxlmntnthangsukhphaphdi