ภาษาอู๋ หรือ ภาษาง่อ (ภาษาอู๋:ฮงิ่ว) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซี่ยงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู และบางส่วนในอันฮุย เจียงซีและ ฝูเจี้ยน มีผู้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ. 2534) โครงสร้างประโยคส่วนใหญ่เป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา โดยมีโครงสร้างประโยคเช่นนี้มากกว่าภาษาจีนกลาง และภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาอู๋มีหลายสำเนียง โดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือสำเนียงเซี่ยงไฮ้หรือภาษาเซี่ยงไฮ้
ภาษาอู๋ | |
---|---|
吳/吴(ฮงิ่ว) | |
ประเทศที่มีการพูด | จีน |
ภูมิภาค | นครเซี่ยงไฮ้ พื้นที่ส่วนมากของมณฑลเจ้อเจียง ตอนใต้ของมณฑลเจียงซู ฯลฯ |
จำนวนผู้พูด | 77 ล้านคน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | zh |
ISO 639-2 | chi (B) zho (T) |
ISO 639-3 | wuu |
ชื่อ
จำนวนผู้พูดโดยเฉลี่ยของสำเนียงอู๋จะอ้างถึงสำเนียงของตนและเพิ่มชื่อถิ่นที่อยู่ของตนเข้าไป คำที่ใช้เรียกภาษาอู๋มีหลายคำดังนี้
- ภาษาอู๋ (吳語 Wúyǔ) และ สำเนียงอู๋ (吳語方言 Wúyǔ fāngyán) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการ
- ภาษาเซี่ยงไฮ้ (上海話/上海閒話 Shànghǎihuà/Shànghǎixiánhuà) เป็นชื่อที่นิยมใช้โดยทั่วไป เนื่องจากเซี่ยงไฮ้เป็นเมืองที่มีผู้รู้จักมากที่สุดในพื้นที่ที่มีการใช้ภาษาอู๋ การใช้ภาษาเซี่ยงไฮ้ในการบ่งบอกถึงกลุ่มภาษาจะใช้มากนอกประเทศจีน หรือใช้ในการแนะนำบริเวณที่มีการใช้ภาษานี้ แต่นักภาษาศาสตร์จะใช้เมื่อกล่าวถึงสำเนียงเซี่ยงไฮ้เท่านั้น
- ภาษาอู๋เยว่ (吳越語 Wúyuèyǔ) เป็นชื่อโบราณ ปัจจุบันใช้น้อยลง แต่เดิมเป็นชื่อที่ใช้หมายถึงภาษาอู๋ แต่สำหรับนักวิชาการที่ศึกษาสำเนียงต่างๆของภาษาจีน คำว่าอู๋ จะหมายถึงที่ตั้งอยู่ในบริเวณเจ้อเจียง คำว่าเยว่หมายถึงภาษาที่ใช้ในอาณาจักรเยว่โบราณ ซึ่งได้แก่บริเวณเจียงซูทางใต้ของเจ้อเจียง ปัจจุบันนิยมใช้อู๋ใต้และอู๋เหนือมากกว่า
- ภาษาเจียงหนาน (江南話 Jiāngnánhuà ) หมายถึงภาษาที่ใช้ทางใต้ของแม่น้ำแยงซี(แม่น้ำฉางเจียง)
- ภาษาเจียงเจ๋อ (江浙話 Jiāngzhéhuà) หมายถึงภาษาที่ใช้ในเจียงซู และเจ๋อเจียง
ประวัติ
ภาษาอู๋สมัยใหม่เป็นภาษาที่ใช้โดยชาวอู๋และชาวเยว่ที่มีศูนย์กลางอยู่ทางใต้ของเจียงซูและทางเหนือของเจ๋อเจียง คำในภาษาญี่ปุ่นที่หมายถึงภาษาจีน (呉音 goon?) การออกเสียงตัวคันจินี้มาจากบริเวณที่พูดภาษาอู๋ในปัจจุบัน
ภาษาอู๋สืบทอดมาจากภาษาจีนยุคกลาง ภาษาอู๋จัดเป็นสำเนียงที่แยกตัวออกในช่วงต้นๆและยังคงมีลักษณะของภาษาในยุคโบราณอยู่มาก แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนเหนือหรือแมนดารินระหว่างพัฒนาการ ซึ่งเป็นเพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกับภาคเหนือ และในบริเวณนี้เป็นพื้นที่ที่ได้รับการศึกษาสูง ระหว่างการลุกฮือของ อู๋ ฮู และหายนภัยของหยงเจี๋ย ทำให้มีชาวจีนทางเหนือเข้ามาตั้งหลักแหล่งมาก ส่วนใหญ่มาจากเจียงซูและซานตง มีส่วนน้อยมาจากที่ราบภาคกลาง ทำให้เกิดภาษาอู๋สมัยใหม่ขึ้น ในช่วงเวลาระหว่างราชวงศ์หมิงและยุคสาธารณรัฐตอนต้นเป็นช่วงลักษณะของภาษาอู๋สมัยใหม่ได้ก่อตัวขึ้นมา สำเนียงซูโจวเป็นสำเนียงที่ได้รับอิทธิพลมากที่สุดและมักใช้อ้างอิงเป็นตัวอย่างของภาษาอู๋
ในช่วงหลังจากกบฏไท่ผิงจนสิ้นสุดราชวงศ์ชิง บริเวณที่พูดภาษาอู๋ถูกทำลายด้วยสงคราม เซี่ยงไฮ้เป็นบริเวณที่มีผู้อพยพจากส่วนอื่นๆที่ใช้ภาษาอู๋เข้ามามาก ทำให้มีผลต่อสำเนียงเซี่ยงไฮ้ เช่นมีการนำอิทธิพลของสำเนียงหนิงโปเข้ามา และจากการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วทำให้กลายเป็นบริเวณที่เป็นศูนย์กลาง สำเนียงเซี่ยงไฮ้จึงมีความสำคัญมากกว่าสำเนียงซูโจว
หลังจากก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาจีนกลางอย่างมากในบริเวณที่ใช้ภาษาอู๋ ภาษาอู๋ไม่มีการใช้ในสื่อต่างๆและโรงเรียน หน่วยงานทางราชการต้องใช้ภาษาจีนกลางด้วยอิทธิพลของผู้อพยพเข้าที่ไม่ได้ใช้ภาษาอู๋ การที่สื่อต่างๆใช้ภาษาจีนกลาง ทำให้เด็กที่เติบโตขึ้นมาคุ้นเคยกับภาษาจีนกลางมากกว่าภาษาอู๋ มีประชาชนจำนวนมากที่ต้องการอนุรักษ์ภาษานี้ มีรายการโทรทัศน์ที่ใช้ภาษาอู๋อีกครั้งแต่ก็ยังมีขอบเขตจำกัด
สำเนียง
แบ่งออกเป็นสองกลุ่มหลักคือภาษาอู๋เหนือและอู๋ใต้ ซึ่งเข้าใจกันได้เพียงบางส่วน ตามที่จำแนกโดย Yan (2006) สำเนียงของภาษาอู๋มี 6 สำเนียงคือ
- ไท่หู ใช้พูดทางใต้ของมณฑลเจียงซู ทางใต้ของหนานตง จิงเจียงและตันหยาง เซี่ยงไฮ้ และทางเหนือของเจ้อเจียง เป็นกลุ่มของสำเนียงที่ใหญ่ที่สุดของภาษาอู๋ ภาษาจีนเซี่ยงไฮ้อยู่ในกลุ่มนี้
- ไทโจว (台州)ใช้พูดในบริเวณไทโจว มณฑลเจ้อเจียง เป็นสำเนียงทางใต้ ซึ่งมีความใกล้เคียงกับสำเนียงไท่หูที่จัดเป็นสำเนียงทางเหนือ และสามารถเข้าใจกันได้
- โอวเจียง(甌江/瓯江)/ตงโอว(東甌片/东瓯片) ใช้พูดบริเวณเวินโจว มณฑลเจ้อเจียง เป็นสำเนียงที่ต่างจากสำเนียงอื่นๆของภาษาอู๋มาก
- อู้โจว (婺州) ใช้พูดในบริเวณจินหัว มณฑลเจ้อเจียง สามารถเข้าใจกันได้กับสำเนียงไท่หูในระดับหนึ่ง แต่ในระดับที่น้อยกว่าสำเนียงไทโจว
- ชู่ฉวี(處衢/处衢) ใช้พูดในบริเวณฉวีโจว ลี่สุ่ย มณฑลเจ้อเจียง และบางส่วนของมณฑลเจียงซี
- ฉวนโจว(宣州) ใช้พูดในมณฑลอันฮุย เป็นสำเนียงที่ใช้พูดน้อยลงหลังเหตุการณ์กบฏไท่ผิง และถูกแทนที่ด้วยผู้อพยพเข้ามาใหม่ที่พูดภาษาจีนกลาง
การออกเสียง
ภาษาอู๋เป็นสำเนียงที่ยังคงรักษาการออกเสียงก้อง เสียงเสียดแทรก จากไว้ได้ และยังรักษาเสียงวรรณยุกต์แบบภาษาจีนยุคกลางไว้ได้อีกด้วย โดยสำเนียงเซี่ยงไฮ้มีเสียงวรรณยุกต์ลดลง
ไวยากรณ์
ระบบสรรพนามของภาษาอู๋มีความซับซ้อนเมื่อใช้เป็นสรรพนามแสดงบุคคลหรือตำแหน่ง สรรพนามบุรุษที่ 1 พหูพจน์แบ่งเป็นรวมผู้ฟังและไม่รวมผู้ฟัง สรรพนามแสดงตำแหน่งในภาษาอู๋มีถึง 6 ตำแหน่ง โดยมีตำแหน่งใกล้ 3 คำ ตำแหน่งไกล 3 คำ การเรียงประโยคในภาษาอู๋เป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม เช่นเดียวกับภาษาจีนกลาง แต่ก็พบการเรียงประโยคแบบ ประธาน-กรรม-กริยา หรือ กรรม-ประธาน-กริยาอยู่บ้าง เสียงวรรณยุกต์มีความซับซ้อน ในบางครั้งการแยกกรรมตรงและกรรมรองออกจากกัน จะต่างเพียงการใช้เสียงก้องและเสียงไม่ก้องเท่านั้น
คำศัพท์
ภาษาอู๋ยังคงรักษาคำศัพท์โบราณจาก ภาษาจีนยุคกลางและได้เช่นเดียวกับสำเนียงของภาษาจีนทางใต้อื่นๆ ภาษาอู๋นิยมใช้คำศัพท์จากภาษาจีนโบราณ
อ้างอิง
- เสียงอ่านภาษาจีนกลาง: [ʔûːɥ̀]
- Yan, M.M. (2006). Introduction to Chinese Dialectology. Munich: Lincom Europa
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaxu hrux phasangx phasaxu hngiw epnphasahnungintrakulphasacin phuphudswnihyxyuinmnthleciyngsi nkhresiyngih thangitkhxngeciyngsu aelabangswninxnhuy eciyngsiaela fueciyn miphuphud 87 lankhn emuxpi ph s 2534 okhrngsrangpraoykhswnihyepnaebb prathan krrm kriya odymiokhrngsrangpraoykhechnnimakkwaphasacinklang aelaphasacinkwangtung phasaxumihlaysaeniyng odysaeniyngthiepnthiruckmakthisudkhuxsaeniyngesiyngihhruxphasaesiyngihphasaxu吳 吴 hngiw praethsthimikarphud cinphumiphakhnkhresiyngih phunthiswnmakkhxngmnthlecxeciyng txnitkhxngmnthleciyngsu lcanwnphuphud77 lankhn imphbwnthi trakulphasacin thiebt phasacinphasaxurhsphasaISO 639 1zhISO 639 2chi B zho T ISO 639 3wuukarkracaytwkhxngphuphudphasacinsaeniyngtangchuxcanwnphuphudodyechliykhxngsaeniyngxucaxangthungsaeniyngkhxngtnaelaephimchuxthinthixyukhxngtnekhaip khathiicheriykphasaxumihlaykhadngni phasaxu 吳語 Wuyǔ aela saeniyngxu 吳語方言 Wuyǔ fangyan epnchuxxyangepnthangkar phasaesiyngih 上海話 上海閒話 Shanghǎihua Shanghǎixianhua epnchuxthiniymichodythwip enuxngcakesiyngihepnemuxngthimiphuruckmakthisudinphunthithimikarichphasaxu karichphasaesiyngihinkarbngbxkthungklumphasacaichmaknxkpraethscin hruxichinkaraenanabriewnthimikarichphasani aetnkphasasastrcaichemuxklawthungsaeniyngesiyngihethann phasaxueyw 吳越語 Wuyueyǔ epnchuxobran pccubnichnxylng aetedimepnchuxthiichhmaythungphasaxu aetsahrbnkwichakarthisuksasaeniyngtangkhxngphasacin khawaxu cahmaythungthitngxyuinbriewnecxeciyng khawaeywhmaythungphasathiichinxanackreywobran sungidaekbriewneciyngsuthangitkhxngecxeciyng pccubnniymichxuitaelaxuehnuxmakkwa phasaeciynghnan 江南話 Jiangnanhua hmaythungphasathiichthangitkhxngaemnaaeyngsi aemnachangeciyng phasaeciyngecx 江浙話 Jiangzhehua hmaythungphasathiichineciyngsu aelaecxeciyngprawtiphasaxusmyihmepnphasathiichodychawxuaelachaweywthimisunyklangxyuthangitkhxngeciyngsuaelathangehnuxkhxngecxeciyng khainphasayipunthihmaythungphasacin 呉音 goon karxxkesiyngtwkhncinimacakbriewnthiphudphasaxuinpccubn phasaxusubthxdmacakphasacinyukhklang phasaxucdepnsaeniyngthiaeyktwxxkinchwngtnaelayngkhngmilksnakhxngphasainyukhobranxyumak aetkidrbxiththiphlcakphasacinehnuxhruxaemndarinrahwangphthnakar sungepnephraalksnathangphumisastrthiiklekhiyngkbphakhehnux aelainbriewnniepnphunthithiidrbkarsuksasung rahwangkarlukhuxkhxng xu hu aelahaynphykhxnghyngeciy thaihmichawcinthangehnuxekhamatnghlkaehlngmak swnihymacakeciyngsuaelasantng miswnnxymacakthirabphakhklang thaihekidphasaxusmyihmkhun inchwngewlarahwangrachwngshmingaelayukhsatharnrthtxntnepnchwnglksnakhxngphasaxusmyihmidkxtwkhunma saeniyngsuocwepnsaeniyngthiidrbxiththiphlmakthisudaelamkichxangxingepntwxyangkhxngphasaxu inchwnghlngcakkbtithphingcnsinsudrachwngsching briewnthiphudphasaxuthukthalaydwysngkhram esiyngihepnbriewnthimiphuxphyphcakswnxunthiichphasaxuekhamamak thaihmiphltxsaeniyngesiyngih echnmikarnaxiththiphlkhxngsaeniynghningopekhama aelacakkarephimprachakrxyangrwderwthaihklayepnbriewnthiepnsunyklang saeniyngesiyngihcungmikhwamsakhymakkwasaeniyngsuocw payechiychwnihichphasacinklang hlngcakkxtngsatharnrthprachachncin mikarsnbsnunihichphasacinklangxyangmakinbriewnthiichphasaxu phasaxuimmikarichinsuxtangaelaorngeriyn hnwynganthangrachkartxngichphasacinklangdwyxiththiphlkhxngphuxphyphekhathiimidichphasaxu karthisuxtangichphasacinklang thaihedkthietibotkhunmakhunekhykbphasacinklangmakkwaphasaxu miprachachncanwnmakthitxngkarxnurksphasani miraykarothrthsnthiichphasaxuxikkhrngaetkyngmikhxbekhtcakdsaeniyngaebngxxkepnsxngklumhlkkhuxphasaxuehnuxaelaxuit sungekhaicknidephiyngbangswn tamthicaaenkody Yan 2006 saeniyngkhxngphasaxumi 6 saeniyngkhux ithhu ichphudthangitkhxngmnthleciyngsu thangitkhxnghnantng cingeciyngaelatnhyang esiyngih aelathangehnuxkhxngecxeciyng epnklumkhxngsaeniyngthiihythisudkhxngphasaxu phasacinesiyngihxyuinklumni ithocw 台州 ichphudinbriewnithocw mnthlecxeciyng epnsaeniyngthangit sungmikhwamiklekhiyngkbsaeniyngithhuthicdepnsaeniyngthangehnux aelasamarthekhaicknid oxweciyng 甌江 瓯江 tngoxw 東甌片 东瓯片 ichphudbriewnewinocw mnthlecxeciyng epnsaeniyngthitangcaksaeniyngxunkhxngphasaxumak xuocw 婺州 ichphudinbriewncinhw mnthlecxeciyng samarthekhaicknidkbsaeniyngithhuinradbhnung aetinradbthinxykwasaeniyngithocw chuchwi 處衢 处衢 ichphudinbriewnchwiocw lisuy mnthlecxeciyng aelabangswnkhxngmnthleciyngsi chwnocw 宣州 ichphudinmnthlxnhuy epnsaeniyngthiichphudnxylnghlngehtukarnkbtithphing aelathukaethnthidwyphuxphyphekhamaihmthiphudphasacinklangkarxxkesiyngphasaxuepnsaeniyngthiyngkhngrksakarxxkesiyngkxng esiyngesiydaethrk cakiwid aelayngrksaesiyngwrrnyuktaebbphasacinyukhklangiwidxikdwy odysaeniyngesiyngihmiesiyngwrrnyuktldlngiwyakrnrabbsrrphnamkhxngphasaxumikhwamsbsxnemuxichepnsrrphnamaesdngbukhkhlhruxtaaehnng srrphnamburusthi 1 phhuphcnaebngepnrwmphufngaelaimrwmphufng srrphnamaesdngtaaehnnginphasaxumithung 6 taaehnng odymitaaehnngikl 3 kha taaehnngikl 3 kha kareriyngpraoykhinphasaxuepnaebbprathan kriya krrm echnediywkbphasacinklang aetkphbkareriyngpraoykhaebb prathan krrm kriya hrux krrm prathan kriyaxyubang esiyngwrrnyuktmikhwamsbsxn inbangkhrngkaraeykkrrmtrngaelakrrmrxngxxkcakkn catangephiyngkarichesiyngkxngaelaesiyngimkxngethannkhasphthphasaxuyngkhngrksakhasphthobrancak phasacinyukhklangaelaidechnediywkbsaeniyngkhxngphasacinthangitxun phasaxuniymichkhasphthcakphasacinobranxangxingesiyngxanphasacinklang ʔuːɥ Yan M M 2006 Introduction to Chinese Dialectology Munich Lincom Europa wikiphiediy saranukrmesri inphasaxu