รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (สวีเดน: Nobelpriset i fysik, อังกฤษ: Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ ค.ศ. 1895 โดยราชบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์สวีเดน ประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของโนเบล
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ | |
---|---|
สวีเดน: Nobelpriset i fysik | |
รางวัลสำหรับ | ผลงานที่โดดเด่นสำหรับมนุษยชาติในด้านฟิสิกส์ |
วันที่ | 10 ธันวาคม 1901 |
ที่ตั้ง | สต็อกโฮล์ม |
ประเทศ | ประเทศสวีเดน |
จัดโดย | ราชบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน |
รางวัล | 11 ล้านครูนาสวีเดน (2023) |
รางวัลแรก | 1901 |
ผู้รับรางวัล | , และ (2023) |
รางวัลมากที่สุด | (2) |
เว็บไซต์ | nobelprize |
รายนามผู้ได้รับรางวัล
พ.ศ. 2444 – 2468 (ค.ศ. 1901 – 1925)
ปี พ.ศ.(ค.ศ.) | ภาพ | ชื่อ | ประเทศ | หัวข้อ |
---|---|---|---|---|
2444 (1901) | วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Röntgen) | เยอรมนี | สำหรับการค้นพบรังสีเอกซ์ | |
2445 (1902) | แฮ็นดริก โลเรินตส์ (Hendrik Antoon Lorentz) | เนเธอร์แลนด์ | "ให้ไว้เพื่อความระลึกถึงผลงานอันเลิศที่พวกเขาได้ฝากไว้ ด้วยการทดลองต่างๆ เกี่ยวกับผลของสภาพแม่เหล็กต่อปรากฏการณ์การแผ่รังสี" ดูเพิ่มเติม | |
ปีเตอร์ เซมัน (Pieter Zeeman) | ||||
2446 (1903) | อ็องตวน อ็องรี เบ็กแรล (Antoine Henri Becquerel) | ฝรั่งเศส | "ในการระลึกถึงผลงานอันเยี่ยมที่เขาได้ทำไว้โดยการค้นพบกัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous radioactivity)" | |
ปิแยร์ กูรี (Pierre Curie) | ฝรั่งเศส | "ในการระลึกถึงผลงานอันเยี่ยมที่พวกเขาได้ให้ไว้โดยงานวิจัยที่พวกเขาทำร่วมกันเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์การแผ่รังสี ที่ค้นพบโดยศาสตราจารย์ อองรี เบ็กเกอเรล" | ||
มารี กูรี (Marie Skłodowska-Curie) | โปแลนด์ | |||
2447 (1904) | (John William Strutt, 3rd Baron Rayleigh) | สหราชอาณาจักร | "สำรับการสืบเสาะค้นหาความหนาแน่นของก๊าซต่างๆ ที่สำคัญมาก และ การค้นพบ อาร์กอน ซึ่งเกี่ยวโยงกับการศึกษาเหล่านี้ของเขา" | |
2448(1905) | (Philipp Eduard Anton von Lenard) | ออสเตรีย-ฮังการี เยอรมนี | "สำหรับงานเกี่ยวกับ ของเขา" | |
2449(1906) | โจเซฟ จอน ธอมสัน (Sir Joseph John Thomson) | สหราชอาณาจักร | "ให้ไว้เพื่อความระลึกถึงคุณอันยิ่งใหญ่ในการสืบเสาะค้นหาทาง ทฤษฎี และ การทดลอง เกี่ยวกับการนำไฟฟ้าด้วยก๊าซต่างๆ" | |
2450 (1907) | (Albert Abraham Michelson) | สหรัฐ/ โปแลนด์ | "สำหรับอุปกรณ์ทัศนศาสตร์ที่มีความแม่นยำ และ การสืบเสาะค้นหาอย่างจำเพาะ และ การวัดผลอย่างเป็นตรรก ซึ่งได้ดำเนินไปด้วยความช่วยเหลือของพวกเขา" ดูเพิ่มเติม | |
2451 (1908) | กาเบรียล ลิพพ์มานน์ (Jonas Ferdinand Gabriel Lippmann) | ฝรั่งเศส | "สำหรับ แผ่นภาพลิพพ์มานน์ ซึ่งเป็นวิธีที่จะผลิตซ้ำภาพสีในการถ่ายภาพ โดยยืนพื้นบนปรากฏการณ์การแทรกสอด" | |
2452 (1909) | กูลเยลโม มาร์โกนี (Guglielmo Giovanni Maria Marconi) | อิตาลี | "ในการระลึกถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาโทรเลขไร้สายของพวกเขา" | |
คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอน (Karl Ferdinand Braun) | เยอรมนี | |||
2453 (1910) | (Johannes Diderik van der Waals) | เนเธอร์แลนด์ | "สำหรับงานเกี่ยวกับสมการสถานะของก๊าซ และ ของเหลว" ดูเพิ่มเติม | |
2454 (1911) | วิลเฮล์ม วีน (Wilhelm Carl Werner Otto Fritz Franz Wien) | เยอรมนี | "สำหรับการค้นพบเกี่ยวกับกฎที่ใช้อธิบายการแผ่รังสีความร้อนของเขา" | |
2455 (1912) | (Nils Gustaf Dalén) | สวีเดน | "การประดิษฐ์ลิ้นปิดเปิดอัตโนมัติที่ออกแบบเพื่อใช้ในการทำงานร่วมกับเครื่องสะสมก๊าซ ใน ประภาคาร และ ทุ่นแสง (light-buoys)" | |
2456 (1913) | ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส (Heike Kamerlingh Onnes) | เนเธอร์แลนด์ | "สำหรับการค้นคว้าวิจัยของเขาในสมบัติของสสารที่อุณหภูมิต่ำ ซึ่ง ในท่ามกลางสิ่งอื่น นำไปสู่การผลิต (liquid helium)" | |
2457 (1914) | มัคส์ ฟ็อน เลาเออ (Max Theodor Felix von Laue) | เยอรมนี | "สำหรับการค้นพบการเลี้ยวเบนของเอกซ์เรย์โดยผลึกของเขา" | |
2458 (1915) | (Sir William Henry Bragg) | สหราชอาณาจักร | การวิเคราะห์โครงสร้างผลึกโดยใช้รังสีเอกซ์ | |
(Sir William Lawrence Bragg) | ออสเตรเลีย/ สหราชอาณาจักร | |||
2459 (1916) | ไม่มีการมอบรางวัล | เงินรางวัล มอบคืนแก่กองทุนพิเศษของรางวัลสาขานี้ | ||
2460 (1917) | (Charles Glover Barkla) | สหราชอาณาจักร | "สำหรับการค้นพบลักษณะเฉพาะของของธาตุต่างๆ" | |
2461 (1918) | มักซ์ พลังค์ (Max Karl Ernst Ludwig Planck) | เยอรมนี | "ให้ไว้เพื่อความระลึกถึงผลงานที่เขาได้ฝากไว้ในความก้าวหน้าของฟิสิกส์ด้วยการค้นพบ (energy quanta)" ดูเพิ่มเติม ค่าคงตัวของพลังค์. | |
2462 (1919) | (Johannes Stark) | ไวมาร์ | "สำหรับการค้นพบ ใน (หรือ รังสีเอโนด) และ การแยกออกของ (spectral lines) ในสนามไฟฟ้า" | |
2463 (1920) | (Charles Édouard Guillaume) | สวิตเซอร์แลนด์ | "ในการระลึกถึงผลงานที่เขาได้ฝากไว้ สำหรับการวัดที่แม่นยำในฟิสิกส์ โดย การค้นพบสิ่งผิดปกติใน สตีลอัลลอย ของ นิเกิล" | |
2464 (1921) | อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) | ไวมาร์/ สวิตเซอร์แลนด์ | "สำหรับผลงานของเขาในฟิสิกส์ทฤษฎี และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับคำอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกของเขา" | |
2465 (1922) | นิลส์ โปร์ (Niels Henrik David Bohr) | เดนมาร์ก | "สำหรับผลงานของเขาเกี่ยวกับการสืบเสาะค้นหา โครงสร้างของอะตอม และ การที่พวกมันแผ่รังสี" | |
2466 (1923) | (Robert Andrews Millikan) | สหรัฐ | "สำหรับงานเกี่ยวกับ ประจุพื้นฐานของไฟฟ้า และ ผลกระทบโฟโตอิเล็กทริก" | |
2467 (1924) | (Karl Manne Georg Siegbahn) | สวีเดน | "สำหรับการค้นพบ และ งานวิจัย ในสาขา การหาด้วยเอกซ์เรย์ (X-ray spectroscopy)" | |
2468 (1925) | (James Franck) | ไวมาร์ | "สำหรับการค้นพบกฎที่ครอบคลุมการปะทะระหว่าง อิเล็กตรอน และ อะตอม" | |
(Gustav Ludwig Hertz) |
พ.ศ. 2469 – 2493 (ค.ศ. 1926 – 1950)
ปี พ.ศ.(ค.ศ.) | ภาพ | ชื่อ | ประเทศ | หัวข้อ |
---|---|---|---|---|
2469 (1926) | (Jean Baptiste Perrin) | ฝรั่งเศส | "สำหรับการศึกษาของเขาในเรื่องโครงสร้างที่ไม่ต่อเนื่องของสสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการค้นพบสมดุลของการตกตะกอน" | |
2470 (1927) | (Arthur Holly Compton) | สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบปรากฏการณ์คอมป์ตัน (Compton scattering)" | |
(Charles Thomson Rees Wilson) | สหราชอาณาจักร | "สำหรับวิธีการของเขาในการทำเส้นทางของอนุภาคที่มีประจุโดยการรวมตัวของไอ" | ||
2471 1928) | (Owen Willans Richardson) | สหราชอาณาจักร | "สำหรับงานของเขาเกี่ยวกับ การปลดปล่อยเทอร์มิออนิก และ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับการค้นพบ ซึ่งได้ถูกตั้งชื่อขึ้นตามชื่อของเขา" | |
2472 (1929) | หลุยส์ เดอ เบรย (Louis Victor Pierre Raymond, 7th Duc de Broglie) | ฝรั่งเศส | "สำหรับการค้นพบธรรมชาติความเป็นคลื่นของอิเล็กตรอน" ดูเพิ่มเติม | |
2473 (1930) | (Chandrasekhara Venkata Raman) | อินเดีย | "สำหรับงานของเขาเกี่ยวกับการกระเจิงของแสง และ สำหรับการค้นพบ ซึ่งถูกตั้งชื่อขึ้นตามชื่อของเขา" | |
2477 (1931) | ไม่มีการมอบรางวัล | |||
2475 (1932) | แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก (Werner Heisenberg) | ไวมาร์ | "สำหรับการสร้างกลศาสตร์ควอนตัม ซึ่งนำไปสู่การค้นพบรูปแบบอื่นๆ ของ ไฮโดรเจน" | |
2476 (1933) | แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Schrödinger) | ออสเตรีย | "สำหรับการค้นพบรูปแบบต่างๆ ที่มีประโยชน์ต่อ ทฤษฎีอะตอม" | |
พอล ดิแรก (Paul Dirac) | สหราชอาณาจักร | |||
2477 (1934) | ไม่มีการมอบรางวัล | เงินรางวัล 1/2 มอบคืนแก่กองทุนหลัก และเงินรางวัล 1/2 มอบคืนแก่กองทุนพิเศษของรางวัลสาขานี้ | ||
2478 (1935) | (James Chadwick) | สหราชอาณาจักร | "สำหรับการค้นพบนิวตรอน" | |
2479 (1936) | (Victor Francis Hess) | ออสเตรีย | "สำหรับการค้นพบการแผ่รังสีคอสมิก" | |
(Carl David Anderson) | สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบโพซิตรอน" | ||
2480 (1937) | (Clinton Joseph Davisson) | สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบการเลี้ยวเบนของอิเล็กตรอนโดยใช้ผลึกเป็นสลิต" | |
(George Paget Thomson) | สหราชอาณาจักร | |||
2481 (1938) | เอนรีโก แฟร์มี (Enrico Fermi) | อิตาลี | "สำหรับการสาธิตการมีอยู่ของสารกัมมันตรังสีชนิดใหม่ที่ผลิตโดยการฉายรังสีนิวตรอนและสำหรับการค้นพบปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ทำให้เกิดโดยนิวตรอนพลังงานต่ำ " | |
2482 (1939) | เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ (Ernest Lawrence) | สหรัฐ | "สำหรับการคิดค้นและพัฒนาเครื่องแยกปรมาณู และผลลัพธ์ที่ได้จากมัน โดยเฉพาะผลงานเกี่ยวกับสารกัมมันตรังสีประดิษฐ์ (artificial radioactive elements)" | |
2483 (1940) | ไม่มีการมอบรางวัล | เงินรางวัล 1/2 มอบคืนแก่กองทุนหลัก และเงินรางวัล 1/2 มอบคืนแก่กองทุนพิเศษของรางวัลสาขานี้ | ||
2484 (1941) | ||||
2485 (1942) | ||||
2486 (1943) | (Otto Stern) | สหรัฐ/ ไรช์เยอรมัน | "สำหรับผลงานของเขาที่ไปสู่การพัฒนา และการค้นพบโมเมนต์แม่เหล็กของโปรตอน" | |
2487 (1944) | อิสิดอร์ อิซาค ราบี (Isidor Isaac Rabi) | สหรัฐ/ โปแลนด์ | "สำหรับวิธีการสั่นพ้องของเขา สำหรับบันทึกคุณสมบัติทางแม่เหล็ก ของ นิวเคลียสของอะตอม" | |
2488 (1945) | ว็อล์ฟกัง เพาลี (Wolfgang Pauli) | ออสเตรีย | "สำหรับการค้นพบหลักการกีดกัน ซึ่งถูกเรียกได้อีกอย่างว่า " | |
2489 (1946) | (Percy Williams Bridgman) | สหรัฐ | "สำหรับการประดิษฐ์อุปกรณ์ในการผลิตแรงกดดันสูงและสำหรับการค้นพบของเขาในสาขาฟิสิกส์แรงดันสูง" | |
2490 (1947) | (Edward Victor Appleton) | สหราชอาณาจักร | "สำหรับการตรวจสอบทางฟิสิกต์ของบรรยากาศชั้นสูง (the upper atmosphere) โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการค้นพบ " | |
2491 (1948) | (Patrick Maynard Stuart Blackett) | สหราชอาณาจักร | "สำหรับการพัฒนาวิธี และนการค้นพบของเขาในด้านของฟิสิกส์นิวเคลียร์และรังสีจักรวาล" | |
2492 (1949) | ฮิเดกิ ยูกาวะ (Hideki Yukawa) | ญี่ปุ่น | "สำหรับการทำนายการมีอยู่ของ mesons บนการทำงานเชิงทฤษฎีต่อแรงนิวเคลียร์" | |
2492 (1950) | (Cecil Frank Powell) | สหราชอาณาจักร | "สำหรับการพัฒนาวิธีการถ่ายภาพของการศึกษากระบวนการทางนิวเคลียร์และการค้นพบเกี่ยวกับ mesons ที่ทำด้วยวิธีการนี้" |
พ.ศ. 2494 – 2518 (ค.ศ. 1951 – 1975)
ปี พ.ศ./ค.ศ. | ชื่อ | ประเทศ | หัวข้อ |
---|---|---|---|
2494/1951 | สหราชอาณาจักร | "for their pioneer work on the transmutation of atomic nuclei by artificially accelerated atomic particles" | |
ไอร์แลนด์ | |||
2495/1952 | สวิตเซอร์แลนด์/ สหรัฐ | "for their development of new methods for nuclear magnetic precision measurements and discoveries in connection therewith" | |
สหรัฐ | |||
2496/1953 | ฟริตซ์ แซร์นีเกอ | เนเธอร์แลนด์ | "สำหรับการสาธิตวิธีความแตกต่างของเฟส (phase contrast method) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับ สิ่งประดิษฐ์ของเขา -- กล้องจุลทรรศน์ชนิดที่ใช้ความต่างเฟส" |
2497/1954 | มัคส์ บอร์น | เยอรมนีตะวันตก | "สำหรับงานวิจัยพื้นฐานของเขาเกี่ยวกับกลศาสตร์ควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การตีความหมายเชิงสถิติของ " |
เยอรมนีตะวันตก | "สำหรับวิธีการเหตุการณ์อุบัติพร้อม (coincidence method) และ การค้นพบอื่นๆ โดยวิธีการนั้น" | ||
2498/1955 | สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบของเขาเกี่ยวกับ โครงสร้างละเอียด (fine structure) ของ ความถี่จำเพาะ (spectrum) ของไฮโดรเจน" ดูเพิ่มเติม | |
2499/1956 | วิลเลียม แบรดฟอร์ด ชอกลีย์ | สหรัฐ สหรัฐ สหรัฐ | การวิจัยด้านสารกึ่งตัวนำ (semiconductors) และการค้นพบปรากฏการณ์ทรานซิสเตอร์ |
2501/1958 | | สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต | สำหรับการค้นพบปรากฏการณ์เชียเรนคอฟ |
2505/1962 | เลฟ ดาวิโดวิช ลันเดา | สหภาพโซเวียต | "สำหรับผลงานที่ยอดเยี่ยมและโดดเด่นในทางฟิสิกส์ของสสารควบแน่น" |
2507/1964 | สหรัฐ สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต | "สำหรับงานพื้นฐานเกี่ยวกับ อิเล็กทรอนิกส์ควอนตัม (quantum electronics) ซึ่งนำไปสู่การสร้าง เครื่องสั่น (oscillator) และ เครื่องขยาย (amplifier) โดยยืนพื้นบนหลักการของ เมเซอร์-เลเซอร์ (maser-laser)" | |
2508/1965 | ริชาร์ด ฟิลลิพส์ ฟายน์มัน | ญี่ปุ่น สหรัฐ สหรัฐ | "สำหรับงานพื้นฐานของพวกเขาเกี่ยวกับ อิเล็กโทรดายนามิกส์ควอนตัม (quantum electrodynamics) โดยผลที่ตามมาได้หยั่งรากลึกลงไปในฟิสิกส์ของอนุภาคพื้นฐาน (physics of elementary particles)" |
2509/1966 | ฝรั่งเศส | "สำหรับการค้นพบและพัฒนาทัศนวิธีในการศึกษา (Hertzian resonances) ในอะตอม" | |
2510/1967 | ฮันส์ เบเทอ | สหรัฐ | "สำหรับการคิดค้นทฤษฎีด้านปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดยเฉพาะการค้นพบที่เกี่ยวกับการผลิตพลังงานในดาวฤกษ์" |
2511/1968 | สหรัฐ | "for his decisive contributions to elementary particle physics, in particular the discovery of a large number of resonance states, made possible through his development of the technique of using hydrogen and data analysis" | |
2512/1969 | สหรัฐ | "for his contributions and discoveries concerning the classification of elementary particles and their interactions" | |
2513/1970 | สวีเดน | "for fundamental work and discoveries in with fruitful applications in different parts of " | |
2514/1971 | เดนนิส กาบอร์ | สหราชอาณาจักร | "สำหรับสิ่งประดิษฐ์ของเขา และ การพัฒนาวิธีการโฮโลแกรม (holographic method)" |
2515/1972 | | สหรัฐ สหรัฐ สหรัฐ | การพัฒนา (superconductivity) หรือที่นิยมเรียกว่าทฤษฎี BCS |
พ.ศ. 2519 – 2543 (ค.ศ. 1976 – 2000)
ปี พ.ศ./ค.ศ. | ชื่อ | ประเทศ | หัวข้อ |
---|---|---|---|
2522/1978 | สหภาพโซเวียต | "สำหรับผู้คิดค้นและค้นพบในงานด้านฟิสิกส์อุณหภูมิต่ำ" | |
โรเบิร์ต วิลสัน | สหรัฐ สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบรังสีพื้นหลังของเอกภพ" | |
2524/1981 | อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์ | สหรัฐ สหรัฐ | "สำหรับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการหาความถี่จำเพาะโดยใช้เลเซอร์ (laser spectroscopy)" |
2532/1989 | สหรัฐ | "สำหรับการประดิษฐ์วิธีการสนามการสั่นแยก (separated oscillatory fields method) การใช้ประโยชน์ของมันในเมเซอร์ไฮโดรเจน (hydrogen maser) และนาฬิกาอะตอมอื่น ๆ (atomic clocks)" | |
โวล์ฟกัง เพาล์ | สหรัฐ เยอรมนีตะวันตก | "สำหรับการพัฒนาเทคนิคการดักจับไอออน (ion trap technique)" | |
2540/1997 | สหรัฐ ฝรั่งเศส สหรัฐ | "สำหรับการพัฒนาวิธีการทำให้อะตอมเย็นลง และ การกักขังอะตอม ด้วยแสงเลเซอร์" | |
2543/2000 | สหรัฐ | "สำหรับงานวิจัยด้านระบบปริภัณฑ์" | |
รัสเซีย สหรัฐ | "สำหรับการคิดค้นและพัฒนาเทคนิคด้านฟิสิกส์ของสารกึ่งตัวนำ" |
พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน (ค.ศ. 2001 – ปัจจุบัน)
ปี พ.ศ./ค.ศ. | ชื่อ | ประเทศ | หัวข้อ |
---|---|---|---|
2544/2001 | สหรัฐ เยอรมนี สหรัฐ | "สำหรับการบรรลุผลสำเร็จในการทำ สถานะควบแน่นแบบ โบส-ไอน์สไตน์ ใน แก๊สอัลคาไลเจือจาง และ สำหรับ การแรกเริ่มศึกษาพื้นฐานของคุณสมบัติของ สถานะควบแน่น" | |
2545/2002 | | สหรัฐ ญี่ปุ่น | การศึกษาฟิสิกส์ดาราศาสตร์จากการตรวจจับอนุภาค "นิวทริโน" ในอวกาศ (cosmic neutrinos) |
สหรัฐ | บุกเบิกสาขาฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ซึ่งนำไปสู่การค้นพบแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์ในอวกาศ | ||
2546/2003 | | รัสเซีย รัสเซีย สหราชอาณาจักร | "เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีตัวนำยิ่งยวดประเภททุติยภูมิและทฤษฎีของเหลวยิ่งยวดฮีเลียม-3" |
2547/2004 | | สหรัฐ สหรัฐ สหรัฐ | สำหรับการค้นพบ ความอิสระเข้าใกล้ ในทฤษฎี ปฏิกิริยาอย่างเข้ม |
2548/2005 | สหรัฐ | "สำหรับการมีส่วนร่วมในทฤษฎีควอนตัมของ ความพร้อมเพรียงเชิงทัศนศาสตร์ (optical coherence)" | |
สหรัฐ เยอรมนี | "สำหรับการมีส่วนร่วมในการพัฒนา การหาความถี่จำเพาะที่มีความแม่นยำโดยการใช้เลเซอร์ รวมไปถึงเทคนิคหวีความถี่เชิงทัศนศาสตร์ (optical frequency comb technique)" | ||
2549/2006 | จอร์จ เอฟ สมูท | สหรัฐ สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบรูปแบบวัตถุดำและ ความไม่สม่ำเสมอ (Anisotropy) ของ รังสีจักรวาลพื้นหลังในย่านไมโครเวฟ (cosmic microwave background radiation)" |
2550/2007 | อัลเบิร์ต เฟิร์ต ปีเตอร์ กรุนแบร์ก | ฝรั่งเศส เยอรมนี | "สำหรับการค้นพบ ปรากฏการณ์ ความต้านทานแม่เหล็ก ขนาดยักษ์ (Giant magnetoresistive effect) ของพวกเขา" |
2551/2008 | ญี่ปุ่น สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบกลไกการทำลายสมมาตรที่เกิดขึ้นเอง (Spontaneous symmetry breaking) ในฟิสิกส์ที่เล็กกว่าอะตอม (subatomic physics)" | |
ญี่ปุ่น | "สำหรับการค้นพบต้นกำเนิดของสมมาตรที่ถูกทำลาย ซึ่งทำนายการมีอยู่ของ ควาร์ก อย่างน้อยสามตระกูล ในธรรมชาติ" | ||
2552/2009 | สหราชอาณาจักร | "สำหรับความสำเร็จที่เป็นกุญแจพื้นฐานเกี่ยวกับการส่งผ่านแสงในเส้นใยนำแสงสำหรับการสื่อสารเชิงทัศนศาสตร์" | |
แคนาดา สหรัฐ | "สำหรับการประดิษฐ์ วงจรกึ่งตัวนำ ที่เกี่ยวกับการรับภาพ - ตัวตรวจวัดซีซีดี (CCD)" | ||
2553/2010 | | รัสเซีย/ เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย/ สหราชอาณาจักร | "สำหรับการทดลองบุกเบิก เกี่ยวกับ กราฟีน วัสดุสองมิติ" |
2554/2011 | (Saul Perlmutter) (Adam Riess) (Brian Schmidt) | สหรัฐ สหรัฐ สหรัฐ/ ออสเตรเลีย | "สำหรับงานวิจัยเกี่ยวกับซูเปอร์โนวาและการค้นพบว่าเอกภพกำลังขยายด้วยอัตราเร่งคงที่" |
2555/2012 | (Serge Haroche) | ฝรั่งเศส | "สำหรับวิธีทดลองแบบเปิดโลกที่ช่วยให้สามารถทำการวัด และ จัดการระบบควอนตัม เฉพาะเจาะจงแต่ละระบบได้". |
(David J. Wineland) | สหรัฐ | ||
2556/2013 | ฟร็องซัว อ็องแกลร์ (François Englert) | เบลเยียม | "สำหรับการค้นพบทฤษฎี (Higgs mechanism) ซึ่งสนับสนุนความเข้าใจเรื่องการกำเนิดมวลของอนุภาคต่าง ๆ โดยทฤษฎีดังกล่าวได้รับการยืนยันจากการค้นพบอนุภาคมูลฐานฮิกส์ จากการทดลองโดยใช้เครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่ (LHC) ในเซิร์น ตรวจวัดโดยเครื่อง (ATLAS) และ (CMS) |
ปีเตอร์ ฮิกส์ (Peter Higgs) | สหราชอาณาจักร | ||
2557/2014 | (Isamu Akasaki) | ญี่ปุ่น | "สำหรับนวัตกรรมไดโอดเปล่งแสงสีน้ำเงิน ซึ่งสร้างแหล่งพลังงานแสงขาวที่สว่างจ้าและประหยัดพลังงาน" |
(Hiroshi Amano) | ญี่ปุ่น | ||
(Shuji Nakamura) | ญี่ปุ่น สหรัฐ | ||
2558/2015 | ทะกะอะกิ คะจิตะ (Takaaki Kajita, 梶田隆章) | ญี่ปุ่น | "สำหรับการค้นพบปรากฏการณ์ ซึ่งชี้ให้เห็นว่านิวตริโนนั้นมีมวล" |
อาร์เธอร์ บี. แมคโดนัลด์ (Arthur B. McDonald) | แคนาดา | ||
2559/2016 | (David J. Thouless) (Duncan Haldane) (Michael Kosterlitz) | สหราชอาณาจักร/ สหรัฐ สหราชอาณาจักร/ สหรัฐ สหราชอาณาจักร/ สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบทางทฤษฎีของการเปลี่ยนผ่านเฟสทอพอโลยีและเฟสทอพอโลยีของสสาร" |
2560/2017 | (Rainer Weiss) (Barry Barish) (Kip Thorne) | สหรัฐ สหรัฐ สหรัฐ | "สำหรับการมีส่วนร่วมสำคัญในโครงการไลโกและการตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วง" |
2561/2018 | (Arthur Ashkin) | สหรัฐ | "สำหรับการประดิษฐ์คิดค้นครั้งสำคัญในสาขาฟิสิกส์เลเซอร์" |
(Gérard Mourou) | ฝรั่งเศส | ||
ดอนนา สตริกแลนด์ (Donna Strickland) | แคนาดา | ||
2562/2019 | แคนาดา สหรัฐ | "สำหรับการค้นพบทฤษฎีทางจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ" | |
มีแชล มายอร์ | สวิตเซอร์แลนด์ | "สำหรับการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์" | |
ดีดีเย เกโล | สวิตเซอร์แลนด์ | ||
2563/2020 | สหราชอาณาจักร | "สำหรับการค้นพบว่าการก่อตัวของหลุมดำเป็นการทำนายของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป" | |
เยอรมนี | "สำหรับการค้นพบวัตถุกะทัดรัดมวลยวดยิ่งที่ใจกลางดาราจักรของเรา" | ||
สหรัฐ | |||
2564/2021 | ญี่ปุ่น | "สำหรับแบบจำลองภูมิอากาศของโลก ซึ่งแสดงความแปรปรวนและการคาดการณ์ที่เชื่อถือได้ของภาวะโลกร้อน" | |
เยอรมนี | |||
อิตาลี | "สำหรับการค้นพบปฏิสัมพันธ์ของความไม่เป็นระเบียบและความผันผวนในระบบทางกายภาพ ตั้งแต่ระดับอะตอมถึงดาวเคราะห์" | ||
2565/2022 | ฝรั่งเศส | "สำหรับการทดลองโฟตอนเชิงพัวพัน ซึ่งเป็นการละเมิดและบุกเบิก" | |
สหรัฐ | |||
ออสเตรีย | |||
2566/2023 | ฝรั่งเศส สหรัฐ | "สำหรับวิธีการทดลองการกำเนิดแสงกะพริบระดับอัตโตวินาที เพื่อศึกษาพลศาสตร์อิเล็กตรอนของสสาร" | |
ฮังการี | |||
ฝรั่งเศส |
อ้างอิง
- "The Nobel Prize amounts". The Nobel Prize. สืบค้นเมื่อ 29 September 2023.
- "รายนามผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์". the Nobel Foundation. 2007. สืบค้นเมื่อ 2007-08-31.
- "The Nobel Prize in Physics 1967". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "The Nobel Prize in Physics 1968". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "The Nobel Prize in Physics 1969". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "The Nobel Prize in Physics 1970". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "The Nobel Prize in Physics 2011". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2011-10-04.
- "The Nobel Prize in Physics 2012". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2012-10-09.
- "The Nobel Prize in Physics 2013 Press Release" (PDF). Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2013-10-08.
- . CERN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-10. สืบค้นเมื่อ 2021-08-24.
- "The Nobel Prize in Physics 2014". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ October 7, 2014.
- "The Nobel Prize in Physics 2015". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ October 6, 2015.
- "The Nobel Prize in Physics 2016". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ October 8, 2016.
- "The Nobel Prize in Physics 2017". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ October 3, 2017.
- "The Nobel Prize in Physics 2018". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ October 2, 2018.
- "The Nobel Prize in Physics 2019". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 8, 2019.
- "The Nobel Prize in Physics 2020". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 6, 2020.
- "The Nobel Prize in Physics 2021" (PDF). Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 5 October 2021.
- "The Nobel Prize in Physics 2022". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ 4 October 2022.
- "The Nobel Prize in Physics 2023". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ 3 October 2023.
แหล่งข้อมูลอื่น
- มูลนิธิโนเบล - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
- ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rangwloneblsakhafisiks swiedn Nobelpriset i fysik xngkvs Nobel Prize in Physics epnrangwloneblhnungin 5 sakha rierimodyxlefrd onebl tngaet kh s 1895 odyrachbnthitysthanwithyasastrswiedn praethsswiedn epnphukhdeluxkphurbrangwl sungmiphlnganwicydanfisiksxyangoddedn miphithimxbepnkhrngaerk emux kh s 1901 phithimxbrangwlmikhuninwnthi 10 thnwakhmkhxngthukpi sungtrngkbwnkhlaywnesiychiwitkhxngoneblrangwloneblsakhafisiksswiedn Nobelpriset i fysikrangwlsahrbphlnganthioddednsahrbmnusychatiindanfisikswnthi10 thnwakhm 1901 122 pikxn 1901 12 10 thitngstxkohlmpraethspraethsswiedn cdodyrachbnthitysthanwithyasastraehngswiednrangwl11 lankhrunaswiedn 2023 rangwlaerk1901phurbrangwl aela 2023 rangwlmakthisud 2 ewbistnobelprize wbr org raynamphuidrbrangwl ph s 2444 2468 kh s 1901 1925 pi ph s kh s phaph chux praeths hwkhx2444 1901 wilehlm khxnrad erintekn Wilhelm Rontgen eyxrmni sahrbkarkhnphbrngsiexks2445 1902 aehndrik olerints Hendrik Antoon Lorentz enethxraelnd ihiwephuxkhwamralukthungphlnganxnelisthiphwkekhaidfakiw dwykarthdlxngtang ekiywkbphlkhxngsphaphaemehlktxpraktkarnkaraephrngsi duephimetimpietxr esmn Pieter Zeeman 2446 1903 xxngtwn xxngri ebkaerl Antoine Henri Becquerel frngess inkarralukthungphlnganxneyiymthiekhaidthaiwodykarkhnphbkmmntphaphrngsithiekidkhunexng spontaneous radioactivity piaeyr kuri Pierre Curie frngess inkarralukthungphlnganxneyiymthiphwkekhaidihiwodynganwicythiphwkekhatharwmknekiywkb praktkarnkaraephrngsi thikhnphbodysastracary xxngri ebkekxerl mari kuri Marie Sklodowska Curie opaelnd2447 1904 John William Strutt 3rd Baron Rayleigh shrachxanackr sarbkarsubesaakhnhakhwamhnaaennkhxngkastang thisakhymak aela karkhnphb xarkxn sungekiywoyngkbkarsuksaehlanikhxngekha 2448 1905 Philipp Eduard Anton von Lenard xxsetriy hngkari eyxrmni sahrbnganekiywkb khxngekha 2449 1906 ocesf cxn thxmsn Sir Joseph John Thomson shrachxanackr ihiwephuxkhwamralukthungkhunxnyingihyinkarsubesaakhnhathang thvsdi aela karthdlxng ekiywkbkarnaiffadwykastang 2450 1907 Albert Abraham Michelson shrth opaelnd sahrbxupkrnthsnsastrthimikhwamaemnya aela karsubesaakhnhaxyangcaephaa aela karwdphlxyangepntrrk sungiddaeninipdwykhwamchwyehluxkhxngphwkekha duephimetim2451 1908 kaebriyl liphphmann Jonas Ferdinand Gabriel Lippmann frngess sahrb aephnphaphliphphmann sungepnwithithicaphlitsaphaphsiinkarthayphaph odyyunphunbnpraktkarnkaraethrksxd 2452 1909 kuleylom marokni Guglielmo Giovanni Maria Marconi xitali inkarralukthungkarmiswnrwminkarphthnaothrelkhirsaykhxngphwkekha kharl efxrdinand brxn Karl Ferdinand Braun eyxrmni 2453 1910 Johannes Diderik van der Waals enethxraelnd sahrbnganekiywkbsmkarsthanakhxngkas aela khxngehlw duephimetim2454 1911 wilehlm win Wilhelm Carl Werner Otto Fritz Franz Wien eyxrmni sahrbkarkhnphbekiywkbkdthiichxthibaykaraephrngsikhwamrxnkhxngekha 2455 1912 Nils Gustaf Dalen swiedn karpradisthlinpidepidxtonmtithixxkaebbephuxichinkarthanganrwmkbekhruxngsasmkas in praphakhar aela thunaesng light buoys 2456 1913 ihekx kaemxrling oxnenis Heike Kamerlingh Onnes enethxraelnd sahrbkarkhnkhwawicykhxngekhainsmbtikhxngssarthixunhphumita sung inthamklangsingxun naipsukarphlit liquid helium 2457 1914 mkhs fxn elaexx Max Theodor Felix von Laue eyxrmni sahrbkarkhnphbkareliywebnkhxngexkseryodyphlukkhxngekha 2458 1915 Sir William Henry Bragg shrachxanackr karwiekhraahokhrngsrangphlukodyichrngsiexks Sir William Lawrence Bragg xxsetreliy shrachxanackr 2459 1916 immikarmxbrangwl enginrangwl mxbkhunaekkxngthunphiesskhxngrangwlsakhani2460 1917 Charles Glover Barkla shrachxanackr sahrbkarkhnphblksnaechphaakhxngkhxngthatutang 2461 1918 mks phlngkh Max Karl Ernst Ludwig Planck eyxrmni ihiwephuxkhwamralukthungphlnganthiekhaidfakiwinkhwamkawhnakhxngfisiksdwykarkhnphb energy quanta duephimetim khakhngtwkhxngphlngkh 2462 1919 Johannes Stark iwmar sahrbkarkhnphb in hrux rngsiexond aela karaeykxxkkhxng spectral lines insnamiffa 2463 1920 Charles Edouard Guillaume switesxraelnd inkarralukthungphlnganthiekhaidfakiw sahrbkarwdthiaemnyainfisiks ody karkhnphbsingphidpktiin stilxllxy khxng niekil 2464 1921 xlebirt ixnsitn Albert Einstein iwmar switesxraelnd sahrbphlngankhxngekhainfisiksthvsdi aelaodyechphaaxyangyingsahrbkhaxthibaypraktkarnofotxielkthrikkhxngekha 2465 1922 nils opr Niels Henrik David Bohr ednmark sahrbphlngankhxngekhaekiywkbkarsubesaakhnha okhrngsrangkhxngxatxm aela karthiphwkmnaephrngsi 2466 1923 Robert Andrews Millikan shrth sahrbnganekiywkb pracuphunthankhxngiffa aela phlkrathbofotxielkthrik 2467 1924 Karl Manne Georg Siegbahn swiedn sahrbkarkhnphb aela nganwicy insakha karhadwyexksery X ray spectroscopy 2468 1925 James Franck iwmar sahrbkarkhnphbkdthikhrxbkhlumkarpatharahwang xielktrxn aela xatxm Gustav Ludwig Hertz ph s 2469 2493 kh s 1926 1950 pi ph s kh s phaph chux praeths hwkhx2469 1926 Jean Baptiste Perrin frngess sahrbkarsuksakhxngekhaineruxngokhrngsrangthiimtxenuxngkhxngssar odyechphaaxyangyingsahrbkarkhnphbsmdulkhxngkartktakxn 2470 1927 Arthur Holly Compton shrth sahrbkarkhnphbpraktkarnkhxmptn Compton scattering Charles Thomson Rees Wilson shrachxanackr sahrbwithikarkhxngekhainkarthaesnthangkhxngxnuphakhthimipracuodykarrwmtwkhxngix 2471 1928 Owen Willans Richardson shrachxanackr sahrbngankhxngekhaekiywkb karpldplxyethxrmixxnik aela odyechphaaxyangying sahrbkarkhnphb sungidthuktngchuxkhuntamchuxkhxngekha 2472 1929 hluys edx ebry Louis Victor Pierre Raymond 7th Duc de Broglie frngess sahrbkarkhnphbthrrmchatikhwamepnkhlunkhxngxielktrxn duephimetim2473 1930 Chandrasekhara Venkata Raman xinediy sahrbngankhxngekhaekiywkbkarkraecingkhxngaesng aela sahrbkarkhnphb sungthuktngchuxkhuntamchuxkhxngekha 2477 1931 immikarmxbrangwl2475 1932 aewrenxr ihesinaebrk Werner Heisenberg iwmar sahrbkarsrangklsastrkhwxntm sungnaipsukarkhnphbrupaebbxun khxng ihodrecn 2476 1933 aexrwin cherxdingengxr Erwin Schrodinger xxsetriy sahrbkarkhnphbrupaebbtang thimipraoychntx thvsdixatxm phxl diaerk Paul Dirac shrachxanackr 2477 1934 immikarmxbrangwl enginrangwl 1 2 mxbkhunaekkxngthunhlk aelaenginrangwl 1 2 mxbkhunaekkxngthunphiesskhxngrangwlsakhani2478 1935 James Chadwick shrachxanackr sahrbkarkhnphbniwtrxn 2479 1936 Victor Francis Hess xxsetriy sahrbkarkhnphbkaraephrngsikhxsmik Carl David Anderson shrth sahrbkarkhnphbophsitrxn 2480 1937 Clinton Joseph Davisson shrth sahrbkarkhnphbkareliywebnkhxngxielktrxnodyichphlukepnslit George Paget Thomson shrachxanackr 2481 1938 exnriok aefrmi Enrico Fermi xitali sahrbkarsathitkarmixyukhxngsarkmmntrngsichnidihmthiphlitodykarchayrngsiniwtrxnaelasahrbkarkhnphbptikiriyaniwekhliyrthithaihekidodyniwtrxnphlngnganta 2482 1939 exxrenst lxwerns Ernest Lawrence shrth sahrbkarkhidkhnaelaphthnaekhruxngaeykprmanu aelaphllphththiidcakmn odyechphaaphlnganekiywkbsarkmmntrngsipradisth artificial radioactive elements 2483 1940 immikarmxbrangwl enginrangwl 1 2 mxbkhunaekkxngthunhlk aelaenginrangwl 1 2 mxbkhunaekkxngthunphiesskhxngrangwlsakhani2484 1941 2485 1942 2486 1943 Otto Stern shrth ircheyxrmn sahrbphlngankhxngekhathiipsukarphthna aelakarkhnphbomemntaemehlkkhxngoprtxn 2487 1944 xisidxr xisakh rabi Isidor Isaac Rabi shrth opaelnd sahrbwithikarsnphxngkhxngekha sahrbbnthukkhunsmbtithangaemehlk khxng niwekhliyskhxngxatxm 2488 1945 wxlfkng ephali Wolfgang Pauli xxsetriy sahrbkarkhnphbhlkkarkidkn sungthukeriykidxikxyangwa 2489 1946 Percy Williams Bridgman shrth sahrbkarpradisthxupkrninkarphlitaerngkddnsungaelasahrbkarkhnphbkhxngekhainsakhafisiksaerngdnsung 2490 1947 Edward Victor Appleton shrachxanackr sahrbkartrwcsxbthangfisiktkhxngbrryakaschnsung the upper atmosphere odyechphaaxyangyingsahrbkarkhnphb 2491 1948 Patrick Maynard Stuart Blackett shrachxanackr sahrbkarphthnawithi aelankarkhnphbkhxngekhaindankhxngfisiksniwekhliyraelarngsickrwal 2492 1949 hiedki yukawa Hideki Yukawa yipun sahrbkarthanaykarmixyukhxng mesons bnkarthanganechingthvsditxaerngniwekhliyr 2492 1950 Cecil Frank Powell shrachxanackr sahrbkarphthnawithikarthayphaphkhxngkarsuksakrabwnkarthangniwekhliyraelakarkhnphbekiywkb mesons thithadwywithikarni ph s 2494 2518 kh s 1951 1975 pi ph s kh s chux praeths hwkhx2494 1951 shrachxanackr for their pioneer work on the transmutation of atomic nuclei by artificially accelerated atomic particles ixraelnd2495 1952 switesxraelnd shrth for their development of new methods for nuclear magnetic precision measurements and discoveries in connection therewith shrth2496 1953 frits aesrniekx enethxraelnd sahrbkarsathitwithikhwamaetktangkhxngefs phase contrast method odyechphaaxyangying sahrb singpradisthkhxngekha klxngculthrrsnchnidthiichkhwamtangefs 2497 1954 mkhs bxrn eyxrmnitawntk sahrbnganwicyphunthankhxngekhaekiywkbklsastrkhwxntm odyechphaaxyangying kartikhwamhmayechingsthitikhxng eyxrmnitawntk sahrbwithikarehtukarnxubtiphrxm coincidence method aela karkhnphbxun odywithikarnn 2498 1955 shrth sahrbkarkhnphbkhxngekhaekiywkb okhrngsranglaexiyd fine structure khxng khwamthicaephaa spectrum khxngihodrecn duephimetim2499 1956 wileliym aebrdfxrd chxkliy shrth shrth shrth karwicydansarkungtwna semiconductors aelakarkhnphbpraktkarnthransisetxr2501 1958 shphaphosewiyt shphaphosewiyt shphaphosewiyt sahrbkarkhnphbpraktkarnechiyernkhxf2505 1962 elf dawiodwich lneda shphaphosewiyt sahrbphlnganthiyxdeyiymaelaoddedninthangfisikskhxngssarkhwbaenn 2507 1964 shrth shphaphosewiyt shphaphosewiyt sahrbnganphunthanekiywkb xielkthrxnikskhwxntm quantum electronics sungnaipsukarsrang ekhruxngsn oscillator aela ekhruxngkhyay amplifier odyyunphunbnhlkkarkhxng emesxr elesxr maser laser 2508 1965 richard filliphs faynmn yipun shrth shrth sahrbnganphunthankhxngphwkekhaekiywkb xielkothrdaynamikskhwxntm quantum electrodynamics odyphlthitammaidhyngrakluklngipinfisikskhxngxnuphakhphunthan physics of elementary particles 2509 1966 frngess sahrbkarkhnphbaelaphthnathsnwithiinkarsuksa Hertzian resonances inxatxm 2510 1967 hns ebethx shrth sahrbkarkhidkhnthvsdidanptikiriyaniwekhliyr odyechphaakarkhnphbthiekiywkbkarphlitphlngnganindawvks 2511 1968 shrth for his decisive contributions to elementary particle physics in particular the discovery of a large number of resonance states made possible through his development of the technique of using hydrogen and data analysis 2512 1969 shrth for his contributions and discoveries concerning the classification of elementary particles and their interactions 2513 1970 swiedn for fundamental work and discoveries in with fruitful applications in different parts of 2514 1971 ednnis kabxr shrachxanackr sahrbsingpradisthkhxngekha aela karphthnawithikaroholaekrm holographic method 2515 1972 shrth shrth shrth karphthna superconductivity hruxthiniymeriykwathvsdi BCSph s 2519 2543 kh s 1976 2000 pi ph s kh s chux praeths hwkhx2522 1978 shphaphosewiyt sahrbphukhidkhnaelakhnphbinngandanfisiksxunhphumita orebirt wilsn shrth shrth sahrbkarkhnphbrngsiphunhlngkhxngexkphph 2524 1981 xaethxr lioxnard chxwolw shrth shrth sahrbkarmiswnrwminkarphthnakarhakhwamthicaephaaodyichelesxr laser spectroscopy 2532 1989 shrth sahrbkarpradisthwithikarsnamkarsnaeyk separated oscillatory fields method karichpraoychnkhxngmninemesxrihodrecn hydrogen maser aelanalikaxatxmxun atomic clocks owlfkng ephal shrth eyxrmnitawntk sahrbkarphthnaethkhnikhkardkcbixxxn ion trap technique 2540 1997 shrth frngess shrth sahrbkarphthnawithikarthaihxatxmeynlng aela karkkkhngxatxm dwyaesngelesxr 2543 2000 shrth sahrbnganwicydanrabbpriphnth rsesiy shrth sahrbkarkhidkhnaelaphthnaethkhnikhdanfisikskhxngsarkungtwna ph s 2544 pccubn kh s 2001 pccubn pi ph s kh s chux praeths hwkhx2544 2001 shrth eyxrmni shrth sahrbkarbrrluphlsaercinkartha sthanakhwbaennaebb obs ixnsitn in aeksxlkhailecuxcang aela sahrb karaerkerimsuksaphunthankhxngkhunsmbtikhxng sthanakhwbaenn 2545 2002 shrth yipun karsuksafisiksdarasastrcakkartrwccbxnuphakh niwthrion inxwkas cosmic neutrinos shrth bukebiksakhafisiksdarasastr sungnaipsukarkhnphbaehlngkaenidrngsiexksinxwkas2546 2003 rsesiy rsesiy shrachxanackr epnphukhidkhnthvsditwnayingywdpraephththutiyphumiaelathvsdikhxngehlwyingywdhieliym 3 2547 2004 shrth shrth shrth sahrbkarkhnphb khwamxisraekhaikl inthvsdi ptikiriyaxyangekhm2548 2005 shrth sahrbkarmiswnrwminthvsdikhwxntmkhxng khwamphrxmephriyngechingthsnsastr optical coherence shrth eyxrmni sahrbkarmiswnrwminkarphthna karhakhwamthicaephaathimikhwamaemnyaodykarichelesxr rwmipthungethkhnikhhwikhwamthiechingthsnsastr optical frequency comb technique 2549 2006 cxrc exf smuth shrth shrth sahrbkarkhnphbrupaebbwtthudaaela khwamimsmaesmx Anisotropy khxng rngsickrwalphunhlnginyanimokhrewf cosmic microwave background radiation 2550 2007 xlebirt efirt pietxr krunaebrk frngess eyxrmni sahrbkarkhnphb praktkarn khwamtanthanaemehlk khnadyks Giant magnetoresistive effect khxngphwkekha 2551 2008 yipun shrth sahrbkarkhnphbklikkarthalaysmmatrthiekidkhunexng Spontaneous symmetry breaking infisiksthielkkwaxatxm subatomic physics yipun sahrbkarkhnphbtnkaenidkhxngsmmatrthithukthalay sungthanaykarmixyukhxng khwark xyangnxysamtrakul inthrrmchati 2552 2009 shrachxanackr sahrbkhwamsaercthiepnkuyaecphunthanekiywkbkarsngphanaesnginesniynaaesngsahrbkarsuxsarechingthsnsastr aekhnada shrth sahrbkarpradisth wngcrkungtwna thiekiywkbkarrbphaph twtrwcwdsisidi CCD 2553 2010 rsesiy enethxraelnd rsesiy shrachxanackr sahrbkarthdlxngbukebik ekiywkb krafin wsdusxngmiti 2554 2011 Saul Perlmutter Adam Riess Brian Schmidt shrth shrth shrth xxsetreliy sahrbnganwicyekiywkbsuepxronwaaelakarkhnphbwaexkphphkalngkhyaydwyxtraerngkhngthi 2555 2012 Serge Haroche frngess sahrbwithithdlxngaebbepidolkthichwyihsamarththakarwd aela cdkarrabbkhwxntm echphaaecaacngaetlarabbid David J Wineland shrth2556 2013 frxngsw xxngaeklr Francois Englert ebleyiym sahrbkarkhnphbthvsdi Higgs mechanism sungsnbsnunkhwamekhaiceruxngkarkaenidmwlkhxngxnuphakhtang odythvsdidngklawidrbkaryunyncakkarkhnphbxnuphakhmulthanhiks cakkarthdlxngodyichekhruxngchnxnuphakhkhnadihy LHC inesirn trwcwdodyekhruxng ATLAS aela CMSpietxr hiks Peter Higgs shrachxanackr2557 2014 Isamu Akasaki yipun sahrbnwtkrrmidoxdeplngaesngsinaengin sungsrangaehlngphlngnganaesngkhawthiswangcaaelaprahydphlngngan Hiroshi Amano yipun Shuji Nakamura yipun shrth2558 2015 thakaxaki khacita Takaaki Kajita 梶田隆章 yipun sahrbkarkhnphbpraktkarn sungchiihehnwaniwtrionnnmimwl xarethxr bi aemkhodnld Arthur B McDonald aekhnada2559 2016 David J Thouless Duncan Haldane Michael Kosterlitz shrachxanackr shrth shrachxanackr shrth shrachxanackr shrth sahrbkarkhnphbthangthvsdikhxngkarepliynphanefsthxphxolyiaelaefsthxphxolyikhxngssar 2560 2017 Rainer Weiss Barry Barish Kip Thorne shrth shrth shrth sahrbkarmiswnrwmsakhyinokhrngkarilokaelakartrwchakhlunkhwamonmthwng 2561 2018 Arthur Ashkin shrth sahrbkarpradisthkhidkhnkhrngsakhyinsakhafisikselesxr Gerard Mourou frngessdxnna strikaelnd Donna Strickland aekhnada2562 2019 aekhnada shrth sahrbkarkhnphbthvsdithangckrwalwithyaechingkayphaph miaechl mayxr switesxraelnd sahrbkarkhnphbdawekhraahnxkrabbthiokhcrrxbdawvkskhlaydwngxathity didiey ekol switesxraelnd2563 2020 shrachxanackr sahrbkarkhnphbwakarkxtwkhxnghlumdaepnkarthanaykhxngthvsdismphththphaphthwip eyxrmni sahrbkarkhnphbwtthukathdrdmwlywdyingthiicklangdarackrkhxngera shrth2564 2021 yipun sahrbaebbcalxngphumixakaskhxngolk sungaesdngkhwamaeprprwnaelakarkhadkarnthiechuxthuxidkhxngphawaolkrxn eyxrmni xitali sahrbkarkhnphbptismphnthkhxngkhwamimepnraebiybaelakhwamphnphwninrabbthangkayphaph tngaetradbxatxmthungdawekhraah 2565 2022 frngess sahrbkarthdlxngoftxnechingphwphn sungepnkarlaemidaelabukebik shrth xxsetriy2566 2023 frngess shrth sahrbwithikarthdlxngkarkaenidaesngkaphribradbxtotwinathi ephuxsuksaphlsastrxielktrxnkhxngssar hngkari frngessxangxing The Nobel Prize amounts The Nobel Prize subkhnemux 29 September 2023 raynamphuidrbrangwloneblsakhafisiks the Nobel Foundation 2007 subkhnemux 2007 08 31 The Nobel Prize in Physics 1967 Nobel Foundation subkhnemux 2008 10 09 The Nobel Prize in Physics 1968 Nobel Foundation subkhnemux 2008 10 09 The Nobel Prize in Physics 1969 Nobel Foundation subkhnemux 2008 10 09 The Nobel Prize in Physics 1970 Nobel Foundation subkhnemux 2008 10 09 The Nobel Prize in Physics 2011 Nobel Foundation subkhnemux 2011 10 04 The Nobel Prize in Physics 2012 Nobel Foundation subkhnemux 2012 10 09 The Nobel Prize in Physics 2013 Press Release PDF Nobel Foundation subkhnemux 2013 10 08 CERN khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 10 10 subkhnemux 2021 08 24 The Nobel Prize in Physics 2014 Nobel Foundation subkhnemux October 7 2014 The Nobel Prize in Physics 2015 Nobel Foundation subkhnemux October 6 2015 The Nobel Prize in Physics 2016 Nobel Foundation subkhnemux October 8 2016 The Nobel Prize in Physics 2017 Nobel Foundation subkhnemux October 3 2017 The Nobel Prize in Physics 2018 Nobel Foundation subkhnemux October 2 2018 The Nobel Prize in Physics 2019 Nobelprize org subkhnemux October 8 2019 The Nobel Prize in Physics 2020 Nobelprize org subkhnemux October 6 2020 The Nobel Prize in Physics 2021 PDF Nobel Foundation subkhnemux 5 October 2021 The Nobel Prize in Physics 2022 Nobelprize org subkhnemux 4 October 2022 The Nobel Prize in Physics 2023 Nobelprize org subkhnemux 3 October 2023 aehlngkhxmulxun mulnithionebl ewbistxyangepnthangkar phuidrbrangwloneblsakhafisiks