บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
มารี สกวอดอฟสกา-กูว์รี (โปแลนด์: Marie Skłodowska–Curie) มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา (โปแลนด์: Marya Salomea Skłodowska; ออกเสียง: [ˈmarja salɔˈmɛa skwɔˈdɔfska]; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1867 – 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักเคมีผู้ค้นพบรังสีเรเดียม ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย ด้วยผลงานที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติเหล่านี้ ทำให้มารี กูว์รีได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งด้วยกัน
มารี กูว์รี | |
---|---|
กูว์รี ป. ค.ศ. 1920 | |
เกิด | มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1867 วอร์ซอ คองเกรสโปแลนด์ จักรวรรดิรัสเซีย |
เสียชีวิต | 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1934 จังหวัดโอต-ซาวัว ประเทศฝรั่งเศส | (66 ปี)
สาเหตุเสียชีวิต | |
พลเมือง |
|
ศิษย์เก่า |
|
มีชื่อเสียงจาก |
|
คู่สมรส | ปีแยร์ กูว์รี (สมรส 1895; เสียชีวิต 1906) |
บุตร | |
รางวัล |
|
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | |
สถาบันที่ทำงาน | |
วิทยานิพนธ์ | Recherches sur les substances radioactives (Research on Radioactive Substances) (1903) |
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | กาเบรียล ลิพพ์มานน์ |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | |
ลายมือชื่อ | |
หมายเหตุ | |
เธอป็นบุคคลเดียวที่ได้รับรางวัลโนเบลสองสาขาด้านวิทยาศาสตร์ |
ประวัติ
มารี กูว์รี เป็นชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1867 ที่เมืองวอร์ซอ เขตวิสทูลา จักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศโปแลนด์ เป็นบุตรของบรอญิสวาวา (Bronisława) กับววาดึสวัฟ (Władysław) ววาดึสวัฟ (บิดา) เป็นครูสอนวิทยาศาสตร์ และมักพาเธอมาที่ห้องปฏิบัติการเสมอ จึงทำให้เธอสนใจวิชาด้านวิทยาศาสตร์ตั้งแต่เด็ก แม้จะมีเหตุการณ์ทางการเมืองเมื่อรัสเซียมาปกครองโปแลนด์และบังคับให้ใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาทางการก็ตาม
ในสมัยนั้นค่านิยมในสังคมของผู้หญิงส่วนใหญ่จะต้องเรียนการเป็นแม่บ้าน ซึ่งมารี กูว์รี แตกต่างโดยสิ้นเชิง ที่ใส่ใจค้นคว้าทางด้านวิทยาศาสตร์
หลังจบการศึกษาระดับต้นแล้ว เธอกับพี่สาวก็ทำงานด้วยการเป็นครูสอนอนุบาล สอนหนังสือให้กับเด็ก ๆ แถว ๆ นั้น โดยทั้งสองมุ่งหวังอยากไปเรียนต่อที่ฝรั่งเศส แต่เงินไม่พอกับค่าใช้จ่าย เธอจึงให้บรอญาผู้เป็นพี่สาวไปเรียนต่อด้านแพทยศาสตร์ก่อน พอจบแล้วค่อยส่งเสียเธอเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ต่อไป จนพี่สาวจบมาเธอก็ได้ไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยปารีส สมใจแต่ด้วยเงินอันน้อยนิดจากพี่สาวไม่พอต่อค่าใช้จ่าย เธอจึงดิ้นรนหางานทำจนได้เป็นผู้ช่วยในห้องปฏิบัติการทางเคมีของปีแยร์ กูว์รี จนทั้งสองแต่งงานมีลูกด้วยกัน แต่ปีแยร์เสียชีวิตก่อนเพราะอุบัติเหตุรถม้าชน ระหว่างที่เรียนไปทำงานไป เธอก็มุ่งมั่นศึกษาทดลองไปเรื่อย ๆ จนมาพบรังสีแร่ธาตุเรเดียม โดยได้มาจากแร่ที่เป็นชนิดหนึ่งสามารถได้ จากการเพียรพยายามทดลองมาหลายปีในการสกัดแร่ชนิดต่าง ๆ จนมาพบรังสีดังกล่าวทำให้เธอได้รับปริญญาเอกในการค้นพบแร่ธาตุเรเดียม
จนใน ค.ศ. 1902 เธอก็สามารถสกัดแร่เรเดียมให้บริสุทธิ์ได้ เรียกว่า ที่สามารถแผ่รังสีได้มากกว่ายูเรเนียมหลายเท่า มีคุณสมบัติคือ ให้แสงสว่างและความร้อนได้ และเมื่อแร่นี้แผ่รังสีไปถูกวัตถุอื่น วัตถุนั้นจะเปลี่ยนสภาพเป็นธาตุกัมมันตรังสี และสามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันกับแร่เรเดียม จนทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลต่อมา
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแร่เรเดียมอย่างหนัก และต่อเนื่องกว่า 4 ปี ทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลอีกครั้ง แม้สามีจะเสียชีวิตก็ตาม ด้วยกำลังใจอันล้นเปี่ยม เมื่อเกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งผู้คนส่วนมากล้มตายและถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร เธอจึงอาสาสมัครเป็นอาสาเพื่อช่วยทหารที่บาดเจ็บ ในการเอกซเรย์เคลื่อนที่ตระเวนรักษาตามหน่วยต่าง ๆ จนสงครามสงบเธอก็กลับมาทำงาน แต่ก็ต้องล้มป่วยเพราะผลมาจากการทำงานหนัก และโดนรังสีเรเดียม ทำให้ไขกระดูกถูกทำลายและเสียชีวิตในเวลาต่อมา
อนึ่ง มารี กูว์รี สามารถจดสิทธิบัตรได้ และทำให้เธอเป็นเศรษฐีได้ในพริบตา แต่เธอกลับเลือกที่จะมอบสิ่งที่เธอค้นพบให้กับโลก ทำให้เธอและครอบครัวเป็นเพียงครอบครัวนักวิทยาศาสตร์ที่มีฐานะยากจนตลอดจนเสียชีวิต
หลังการเสียชีวิตของ มารี กูว์รี หนึ่งในลูกสาวของเธออีแรน ฌอลีโย-กูว์รี ก็ได้ค้นคว้างานวิจัยของเธอต่อไป จนประสบความสำเร็จได้รับรางวัลโนเบลในเวลาต่อมา
รางวัลที่ได้รับ
- รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ค.ศ. 1903 จากผลงานการพบธาตุเรเดียม
- Davy Medal ค.ศ. 1903
- Matteucci Medal ค.ศ. 1904
- รางวัลโนเบลสาขาเคมี ค.ศ. 1911 จากผลงานการค้นคว้าหาประโยชน์จากธาตุเรเดียม
การวิพากษ์วิจารณ์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
หลังจากปีแยร์ กูว์รี สามีของเธอจากไป มารีเคยถูกกล่าวหาว่าเป็นชู้กับนักฟิสิกส์ที่มีภรรยาแล้ว มีหลักฐานปรากฏชัดเป็นจดหมายรักที่เธอเขียน เรื่องได้เปิดเผยสู่สาธารณชนก่อนที่เธอจะเข้ารับรางวัลโนเบลครั้งที่สอง มีผู้ออกมาวิพากษ์วิจารณ์และกีดกันไม่ให้เธอเข้ารับรางวัล แต่เธอกลับกล่าวว่าเรื่องส่วนตัวไม่เกี่ยวกับการรับรางวัล[]
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อnobelprize
- Marie Curie profile, nationalstemcellfoundation. Accessed 16 July 2022.
- . www.espci.fr. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2017. สืบค้นเมื่อ 26 September 2017.
- มารี กูรี นักเคมีชาวโปแลนด์เสียชีวิต
- มารี กูว์รี นักวิทยาศาสตร์หญิงผู้มีจิตใจอันประเสริฐ[]
- โนเบลสาขาฟิสิกส์ 2007-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-12-17. สืบค้นเมื่อ 2005-03-28.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ผลงานโดย มารี กูว์รี บนเว็บ (หนังสือเสียง ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ)
- ผลงานโดย มารี กูว์รี ที่
- ผลงานของ มารี กูว์รี ที่โครงการกูเทินแบร์ค
- ผลงานเกี่ยวกับ/โดย มารี กูว์รี ที่อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์
- กฤตภาคจากหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับ มารี กูว์รี ใน ของ
- มารี กูว์รี ที่ Nobelprize.org
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul mari kuwri khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir mari skwxdxfska kuwri opaelnd Marie Sklodowska Curie michuxaetaerkekidwa maeriy salxaemxa skwxdxfska opaelnd Marya Salomea Sklodowska xxkesiyng ˈmarja salɔˈmɛa skwɔˈdɔfska 7 phvscikayn kh s 1867 4 krkdakhm kh s 1934 epnnkekhmiphukhnphbrngsierediym thiichybyngkarkhyaytwkhxngmaerng sungepnorkhraythiimsamarthrksaihhaykhadid aetmixtrakartaykhxngkhnikhepnxndbhnungmathukyukhsmy dwyphlnganthimikhwamsakhytxmnusychatiehlani thaihmari kuwriidrbrangwloneblthung 2 khrngdwyknmari kuwrikuwri p kh s 1920ekidmaeriy salxaemxa skwxdxfska 7 phvscikayn kh s 1867 1867 11 07 wxrsx khxngekrsopaelnd ckrwrrdirsesiyesiychiwit4 krkdakhm kh s 1934 1934 07 04 66 pi cnghwdoxt saww praethsfrngesssaehtuesiychiwitphlemuxngopaelnd tamkaenid frngess hlngaetngngan sisyekamhawithyalyparismichuxesiyngcakphubukebikkarwicykarslayihkmmntrngsiphukhnphbphxoleniymaelaerediymkhusmrspiaeyr kuwri smrs 1895 esiychiwit 1906 butrxiaernrangwlrangwloneblsakhafisiks 1903 1903 1904 1907 1909 1910 rangwloneblsakhaekhmi 1911 1921 1931 xachiphthangwithyasastrsakhafisiksekhmisthabnthithanganmhawithyalypariswithyaniphnthRecherches sur les substances radioactives Research on Radioactive Substances 1903 xacarythipruksainradbpriyyaexkkaebriyl liphphmannluksisyinradbpriyyaexkxiaern chxlioy kuwrimarekxrit epxaerlaymuxchuxhmayehtuethxpnbukhkhlediywthiidrbrangwloneblsxngsakhadanwithyasastrprawtimari kuwri epnchawopaelnd ekidemuxwnthi 7 phvscikayn kh s 1867 thiemuxngwxrsx ekhtwisthula ckrwrrdirsesiy sungpccubnepnpraethsopaelnd epnbutrkhxngbrxyiswawa Bronislawa kbwwaduswf Wladyslaw wwaduswf bida epnkhrusxnwithyasastr aelamkphaethxmathihxngptibtikaresmx cungthaihethxsnicwichadanwithyasastrtngaetedk aemcamiehtukarnthangkaremuxngemuxrsesiymapkkhrxngopaelndaelabngkhbihichphasarsesiyepnphasathangkarktam insmynnkhaniyminsngkhmkhxngphuhyingswnihycatxngeriynkarepnaemban sungmari kuwri aetktangodysineching thiisickhnkhwathangdanwithyasastr hlngcbkarsuksaradbtnaelw ethxkbphisawkthangandwykarepnkhrusxnxnubal sxnhnngsuxihkbedk aethw nn odythngsxngmunghwngxyakiperiyntxthifrngess aetenginimphxkbkhaichcay ethxcungihbrxyaphuepnphisawiperiyntxdanaephthysastrkxn phxcbaelwkhxysngesiyethxeriyntxdanwithyasastrtxip cnphisawcbmaethxkidiperiyntxthimhawithyalyparis smicaetdwyenginxnnxynidcakphisawimphxtxkhaichcay ethxcungdinrnhanganthacnidepnphuchwyinhxngptibtikarthangekhmikhxngpiaeyr kuwri cnthngsxngaetngnganmilukdwykn aetpiaeyresiychiwitkxnephraaxubtiehturthmachn rahwangthieriynipthanganip ethxkmungmnsuksathdlxngiperuxy cnmaphbrngsiaerthatuerediym odyidmacakaerthiepnchnidhnungsamarthid cakkarephiyrphyayamthdlxngmahlaypiinkarskdaerchnidtang cnmaphbrngsidngklawthaihethxidrbpriyyaexkinkarkhnphbaerthatuerediym cnin kh s 1902 ethxksamarthskdaererediymihbrisuththiid eriykwa thisamarthaephrngsiidmakkwayuereniymhlayetha mikhunsmbtikhux ihaesngswangaelakhwamrxnid aelaemuxaerniaephrngsiipthukwtthuxun wtthunncaepliynsphaphepnthatukmmntrngsi aelasamarthaephrngsiidechnediywknkbaererediym cnthaihethxidrbrangwlonebltxma mari kuwri in kh s 1903 karsuksakhnkhwaekiywkbaererediymxyanghnk aelatxenuxngkwa 4 pi thaihethxidrbrangwloneblxikkhrng aemsamicaesiychiwitktam dwykalngicxnlnepiym emuxekidphawasngkhramolkkhrngthi 1 sungphukhnswnmaklmtayaelathukeknthipepnthhar ethxcungxasasmkhrepnxasaephuxchwythharthibadecb inkarexkseryekhluxnthitraewnrksatamhnwytang cnsngkhramsngbethxkklbmathangan aetktxnglmpwyephraaphlmacakkarthanganhnk aelaodnrngsierediym thaihikhkradukthukthalayaelaesiychiwitinewlatxma xnung mari kuwri samarthcdsiththibtrid aelathaihethxepnesrsthiidinphribta aetethxklbeluxkthicamxbsingthiethxkhnphbihkbolk thaihethxaelakhrxbkhrwepnephiyngkhrxbkhrwnkwithyasastrthimithanayakcntlxdcnesiychiwit hlngkaresiychiwitkhxng mari kuwri hnunginluksawkhxngethxxiaern chxlioy kuwri kidkhnkhwanganwicykhxngethxtxip cnprasbkhwamsaercidrbrangwloneblinewlatxmarangwlthiidrbprakasniybtrrangwloneblkhxngmari kuwrirangwloneblsakhafisiks kh s 1903 cakphlngankarphbthatuerediym Davy Medal kh s 1903 Matteucci Medal kh s 1904 rangwloneblsakhaekhmi kh s 1911 cakphlngankarkhnkhwahapraoychncakthatuerediymkarwiphakswicarnswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid hlngcakpiaeyr kuwri samikhxngethxcakip mariekhythukklawhawaepnchukbnkfisiksthimiphrryaaelw mihlkthanpraktchdepncdhmayrkthiethxekhiyn eruxngidepidephysusatharnchnkxnthiethxcaekharbrangwloneblkhrngthisxng miphuxxkmawiphakswicarnaelakidknimihethxekharbrangwl aetethxklbklawwaeruxngswntwimekiywkbkarrbrangwl txngkarxangxing duephimpiaeyr kuwri kuwri hnwy xangxingxangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux nobelprize Marie Curie profile nationalstemcellfoundation Accessed 16 July 2022 www espci fr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 26 September 2017 subkhnemux 26 September 2017 mari kuri nkekhmichawopaelndesiychiwit mari kuwri nkwithyasastrhyingphumiciticxnpraesrith lingkesiy oneblsakhafisiks 2007 09 27 thi ewyaebkaemchchin phuidrbrangwloneblsakhafisiks khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2001 12 17 subkhnemux 2005 03 28 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb mari kuwri wikikhakhmmikhakhmekiywkb mari kuwri phlnganody mari kuwri bnewb hnngsuxesiyng sungepnsatharnsmbti phlnganody mari kuwri thi phlngankhxng mari kuwri thiokhrngkarkuethinaebrkh phlnganekiywkb ody mari kuwri thixinethxrentxarikhf kvtphakhcakhnngsuxphimphekiywkb mari kuwri in khxng mari kuwri thi Nobelprize org