บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (อังกฤษ: photoelectric effect) เป็นปรากฏการณ์ที่อิเล็กตรอนหลุดออกจากสสาร (เรียกสสารเหล่านี้ว่า โฟโตอีมิสสีฟ) เมื่อสสารนั้นสัมผัสกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง พลังงานสูง เช่น รังสีอัลตราไวโอเลต) และเรียกอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาว่า โฟโตอิเล็กตรอน ปรากฏการณ์ดังกล่าวค้นพบโดยนักฟิสิกส์ชื่อไฮน์ริช เฮิร์ตซ์ ในปี พ.ศ. 2430
การอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกจะต้องอาศัยคุณสมบัติของแสงในรูปของอนุภาค โดยเกิดขึ้นได้เมื่ออนุภาคโฟตอน (อนุภาคแสง) ที่มีพลังงานสูงชนกับอิเล็กตรอนในสสาร จึงทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาพร้อมกับมีพลังงานจลน์ติดตัวออกมาด้วย ซึ่งผู้ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้ได้สมบูรณ์คืออัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เขาจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2464 และความเข้าใจคุณสมบัติความเป็นอนุภาคของแสงส่งผลให้เกิดความเข้าใจในเรื่องทวิภาคของคลื่น–อนุภาคในเวลาต่อมา
ประวัติ และความเป็นมา
ในปี 1887 เฮิร์ตซ์พบว่าเมื่อฉายแสงอัลตราไวโอเลตไปยังขั้วไฟฟ้าซึ่งอยู่ในวงจร จะมีประจุไฟฟ้าหลุดออกมา ต่อมาฮอลล์วอชส์ (Wilhelm Hallwachs) พบว่าเมื่อมีแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูงตกกระทบผิวโลหะ จะมีอิเล็กตรอนหลุดออกจากผิวโลหะนั้น ปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (photoelectric effect) และเรียกอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากผิวโลหะที่ถูกแสงว่าโฟโตอิเล็กตรอน (photoelectron)
โดยปกติอิเล็กตรอนนำไฟฟ้าในโลหะนั้นอยู่ในแถบนำไฟฟ้า (conduction band) อิเล็กตรอนเหล่านี้สามารถเคลื่อนที่ในแถบนำไฟฟ้าได้อย่างอิสระ โดยอิเล็กตรอนจะไม่หลุดออกจากโลหะที่อุณหภูมิห้อง ทั้งนี้เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสซึ่งมีประจุบวกกับอิเล็กตรอนภายในโลหะ ดังนั้นจึงเปรียบเสมือนกับว่าอิเล็กตรอนอยู่ภายในโลหะโดยมีกำแพงศักย์ (potential barrier) กั้นอยู่ที่ผิวโลหะ ระดับพลังงานสูงสุดที่มีอิเล็กตรอนคือระดับแฟร์มี (fermi level)
อิเล็กตรอนที่เกาะอยู่กับอะตอมจะเกาะอยู่ด้วยพลังงานยึดเหนี่ยวค่าหนึ่งคือ work function
ในปี 1905 ไอสไตน์ได้อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกโดยใช้แนวความคิดของพลังค์ คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ f ที่ตกกระทบผิวโลหะจะมีลักษณะคล้ายอนุภาคประกอบด้วยพลังงานเล็กๆ E เรียกว่า ควอนตัมของพลังงานหรือ โฟตอน (photon) โดย E = hf ถ้าพลังงานนี้มีค่ามากกว่าเวิร์กฟังก์ชัน อิเล็กตรอนจะหลุดออกจากโลหะด้วยพลังงานจลน์มากสุด Ek (max)
จากการศึกษาปรากฏกาณ์โฟโตอิเล็กทริกสรุปได้ดังนี้
1. อัตราการปล่อยอิเล็กตรอน (หรือ ip) เป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มแสง I เมื่อความถี่ f ของแสงและความต่างศักย์มีค่าคงตัว ดังรุปที่ 2 ถ้าเปลี่ยนความถี่หรือชนิดของโลหะจะได้กราฟระหว่าง ip กับ I เป็นเส้นตรงเหมือนเดิมแต่มีความชันเปลี่ยนไป
2. ถ้าความเข้มคงที่และเปลี่ยนความถี่ของแสง จะได้กราฟ ดังรูปที่ 3 ซึ่งมีความถี่จำกัดค่าหนึ่งที่เริ่มเกิดโฟโตอิเล็กตรอนเรียกว่า ความถี่ขีดเริ่ม f0 (threshold frequency) ความถี่ขีดเริ่มของสารแต่ละชนิดจะไม่เหมือนกัน เมื่อแสงปล่อยพลังงาน hf0 ออกมาในรูปของโฟตอน ซึ่งถ้าเท่ากับ W0 จะได้ Ek (max) = 0 จึงไม่มีอิเล็กตรอนหลุดออกจากโลหะ
3.ถ้าความถี่และความเข้มแสงคงตัว แต่เปลี่ยนค่าความต่างศักย์ V ระหว่างขั้วไฟฟ้าจะได้ความสัมพันธ์ของ ip กับ V ดังรูปที่ 4 ที่ความต่างศักย์มีค่ามาก อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจะคงเดิมจึงเกิดกระแสอิ่มตัว เมื่อเพิ่มศักย์ไฟฟ้าเข้าไปก็ไม่สามารถเพิ่มกระแสได้ และถ้าลดความต่างศักย์กระแสจะลดลงด้วย จนกระทั่งความต่างศักย์เป็นลบที่ค่าหนึ่งจะไม่มีกระแส เรียกศักย์นี้ว่า ศักย์หยุดยั้ง (stopping potential) V s ไม่มีอิเล็กตรอนตัวไหนมีพลังงานจลน์เพียงพอที่จะไปยังขั้วไฟฟ้าได้ ดังนั้น
4. ถ้าความถี่ต่ำกว่าความถี่ขีดเริ่ม f0 จะไม่มีอิเล็กตรอนหลุดออกมา แสดงว่าโฟตอนที่ตกกระทบโลหะมีพลังงานน้อยกว่าเวิร์กฟังก์ชันของสารนั้น แต่ถ้าความถี่เพิ่มขึ้นพลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้น
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกนี้คล้ายกับปรากฏการณ์ปล่อยประจุไฟฟ้าเนื่องจากความร้อน (thermionic emission) ซึ่ง เอดิสัน (Edison) เป็นผู้ค้นพบในปี 1883 ในขณะประดิษฐ์หลอดไฟคือ เมื่อโลหะได้รับความร้อนอิเล็กตรอนในโลหะบางตัวจะได้รับพลังงานสูงกว่าเวิร์กฟังก์ชันในโลหะและหลุดออกจากโลหะได้
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasm praktkarnofotxielkthrik xngkvs photoelectric effect epnpraktkarnthixielktrxnhludxxkcakssar eriykssarehlaniwa ofotximissif emuxssarnnsmphskbkhlunaemehlkiffathimikhwamthisung phlngngansung echn rngsixltraiwoxelt aelaeriykxielktrxnthihludxxkmawa ofotxielktrxn praktkarndngklawkhnphbodynkfisikschuxihnrich ehirts inpi ph s 2430praktkarnofotxielkthrik emuxkhlunaemehlkiffatkkrathbssaraelwthaihxielktrxninssarhludxxkmaphrxmphlngngancln karxthibaypraktkarnofotxielkthrikcatxngxasykhunsmbtikhxngaesnginrupkhxngxnuphakh odyekidkhunidemuxxnuphakhoftxn xnuphakhaesng thimiphlngngansungchnkbxielktrxninssar cungthaihxielktrxnhludxxkmaphrxmkbmiphlngnganclntidtwxxkmadwy sungphuthisamarthxthibaypraktkarnniidsmburnkhuxxlebirt ixnsitn ekhacungidrbrangwloneblsakhafisiksinpi ph s 2464 aelakhwamekhaickhunsmbtikhwamepnxnuphakhkhxngaesngsngphlihekidkhwamekhaicineruxngthwiphakhkhxngkhlun xnuphakhinewlatxmaprawti aelakhwamepnmainpi 1887 ehirtsphbwaemuxchayaesngxltraiwoxeltipyngkhwiffasungxyuinwngcr camipracuiffahludxxkma txmahxllwxchs Wilhelm Hallwachs phbwaemuxmiaesnghruxkhlunaemehlkiffakhwamthisungtkkrathbphiwolha camixielktrxnhludxxkcakphiwolhann praktkarnechnnieriykwa praktkarnofotxielkthrik photoelectric effect aelaeriykxielktrxnthihludxxkcakphiwolhathithukaesngwaofotxielktrxn photoelectron odypktixielktrxnnaiffainolhannxyuinaethbnaiffa conduction band xielktrxnehlanisamarthekhluxnthiinaethbnaiffaidxyangxisra odyxielktrxncaimhludxxkcakolhathixunhphumihxng thngnienuxngcakaerngdungdudrahwangniwekhliyssungmipracubwkkbxielktrxnphayinolha dngnncungepriybesmuxnkbwaxielktrxnxyuphayinolhaodymikaaephngsky potential barrier knxyuthiphiwolha radbphlngngansungsudthimixielktrxnkhuxradbaefrmi fermi level xielktrxnthiekaaxyukbxatxmcaekaaxyudwyphlngnganyudehniywkhahnungkhux work function inpi 1905 ixsitnidxthibaypraktkarnofotxielkthrikodyichaenwkhwamkhidkhxngphlngkh khux khlunaemehlkiffakhwamthi f thitkkrathbphiwolhacamilksnakhlayxnuphakhprakxbdwyphlngnganelk E eriykwa khwxntmkhxngphlngnganhrux oftxn photon odyE hf thaphlngngannimikhamakkwaewirkfngkchn xielktrxncahludxxkcakolhadwyphlngnganclnmaksud Ek max Ek max hf W0 displaystyle E k max hf W 0 cakkarsuksapraktkanofotxielkthriksrupiddngni 1 xtrakarplxyxielktrxn hruxip epnsdswnodytrngkbkhwamekhmaesngI emuxkhwamthif khxngaesngaelakhwamtangskymikhakhngtw dngrupthi 2 thaepliynkhwamthihruxchnidkhxngolhacaidkrafrahwang ip kbI epnesntrngehmuxnedimaetmikhwamchnepliynip 2 thakhwamekhmkhngthiaelaepliynkhwamthikhxngaesng caidkraf dngrupthi 3 sungmikhwamthicakdkhahnungthierimekidofotxielktrxneriykwa khwamthikhiderim f0 threshold frequency khwamthikhiderimkhxngsaraetlachnidcaimehmuxnkn emuxaesngplxyphlngngan hf0 xxkmainrupkhxngoftxn sungthaethakb W0 caid Ek max 0 cungimmixielktrxnhludxxkcakolha 3 thakhwamthiaelakhwamekhmaesngkhngtw aetepliynkhakhwamtangskyV rahwangkhwiffacaidkhwamsmphnthkhxngip kb V dngrupthi 4 thikhwamtangskymikhamak xielktrxnthihludxxkmacakhngedimcungekidkraaesximtw emuxephimskyiffaekhaipkimsamarthephimkraaesid aelathaldkhwamtangskykraaescaldlngdwy cnkrathngkhwamtangskyepnlbthikhahnungcaimmikraaes eriykskyniwaskyhyudyng stopping potential V s immixielktrxntwihnmiphlngnganclnephiyngphxthicaipyngkhwiffaid dngnn Ek max eVs displaystyle E k max eV s 4 thakhwamthitakwakhwamthikhiderim f0 caimmixielktrxnhludxxkma aesdngwaoftxnthitkkrathbolhamiphlngngannxykwaewirkfngkchnkhxngsarnn aetthakhwamthiephimkhunphlngnganclnsungsudkhxngxielktrxncaephimkhun praktkarnofotxielkthriknikhlaykbpraktkarnplxypracuiffaenuxngcakkhwamrxn thermionic emission sung exdisn Edison epnphukhnphbinpi 1883 inkhnapradisthhlxdifkhux emuxolhaidrbkhwamrxnxielktrxninolhabangtwcaidrbphlngngansungkwaewirkfngkchninolhaaelahludxxkcakolhaidxangxinghttp physics info photoelectric http www nobelprize org nobel prizes physics laureates 1921 index html