บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ภาษาไทยถิ่นใต้ (โดยย่อว่า ภาษาใต้) หรือ ภาษาตามโพร (อังกฤษ: Dambro) หรือ ภาษาปักษ์ใต้ เป็นภาษาไทกลุ่มหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ มีผู้ใช้ภาษาหนาแน่นบริเวณสิบสี่จังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย มีบางส่วนกระจายตัวไปในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตตะนาวศรีในประเทศพม่า และบริเวณรัฐเกอดะฮ์ รัฐปะลิส รัฐปีนัง และรัฐเปรัก ทางตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราวห้าล้านคน และอีกราว 1.5 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง ได้แก่กลุ่มชนเชื้อสายจีน เปอรานากัน มลายู อูรักลาโวยจ และ
ภาษาไทยถิ่นใต้ | |
---|---|
ภาษาตามโพร | |
ประเทศที่มีการพูด | ภาคใต้ของประเทศไทย, เขตตะนาวศรี (พม่า), รัฐเกอดะฮ์ (มาเลเซีย) |
ชาติพันธุ์ | ไทยใต้ เปอรานากัน ไทยเชื้อสายจีน มาเลเซียเชื้อสายสยาม ไทยเชื้อสายมลายู |
จำนวนผู้พูด | 4.5 ล้านคน (2549) |
ตระกูลภาษา | ขร้า-ไท
|
ระบบการเขียน | อักษรไทย |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | ไทย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | sou |
นอกจากนี้ในภาคใต้ยังมีกลุ่มภาษาไทที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มย่อยของภาษาไทยถิ่นใต้ ได้แก่ ภาษาตากใบ ภาษาสะกอม และภาษาพิเทน เพราะมีเอกลักษณ์เป็นของตนเองที่แตกต่างไปจากภาษาไทยถิ่นใต้หรือภาษามลายู
สัทอักษร
วรรณยุกต์
ภาษาไทยถิ่นใต้ส่วนใหญ่ในพยางค์เดียวมี 5 ระดับเสียง ซึ่งเป็นจริงสำหรับสำเนียงที่อยู่ในระดับละติจูดประมาณ 10° เหนือถึง 7° เหนือกับภาษาถิ่นในเมืองทั่วภาคใต้ ในบางพื้นที่มีวรรณยุกต์หกถึงเจ็ดเสียง โดยสำเนียงจังหวัดนครศรีธรรมราช (ประมาณละติจูด 8° เหนือ) มีวรรณยุกต์ 7 เสียง
ต้น
เสียงนาสิก | [m] ม | [n] ณ, น | [ɲ] ญ* | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงหยุด | [p] ป | [t] ฏ, ต | [c] จ | [k] ก | [ʔ] อ** | ||
[pʰ] ผ, พ, ภ | [tʰ] ฐ, ฑ, ฒ, ถ, ท, ธ | [cʰ] ฉ, ช, ฌ | [kʰ] ข, ฃ, ค, ฅ, ฆ | ||||
[b] บ | [d] ฎ, ด | ||||||
[v] ฝ, ฟ | [s] ซ, ศ, ษ, ส | [ɧ] ง | [ɦ] ห, ฮ | ||||
[l] ล, ฬ | [j] ย | [w] ว | |||||
[r] ร |
- * พบในบางสำเนียง
- ** ตั้งก่อนหน้าสระใด ๆ โดยไม่มีตัวหน้าและหลังสระสั้นโดยไม่มีตัวท้าย
- ***ปัจจุบันไม่ใช้พยัญชนะ ฃ และ ฅ ทำให้เหลือพยัญชนะ 42 ตัว
กลุ่มพยัญชนะ (พยัญชนะควบ)
ในภาษาไทยมีกลุ่มพยัญชนะ 11 แบบ ดังนี้:
- /kr/ (กร), /kl/ (กล), /kw/ (กว)
- /kʰr/ (ขร, คร), /kʰl/ (ขล, คล), /kʰw/ (ขว, คว)
- /pr/ (ปร), /pl/ (ปล)
- /pʰr/ (ผร, พร), /pʰl/ (ผล, พล)
- /tr/ (ตร)
นอกจากนี้ยังมีคำควบกล้ำที่ไม่ได้อยู่ในหลักภาษาไทยมาตรฐานด้วย เช่น
- หฺมฺร เช่น หมฺรับ อ่านว่า "หฺมฺรับ" (ห เป็นอักษรนำ ตามด้วย ม ควบกล้ำด้วย ร) แปลว่า สำรับ ไม่ได้ อ่านว่า หม-รับ หรือ หมับ ให้ออกเสียง "หมฺ" ควบ "ร") เช่น การจัดหฺมฺรับประเพณีสารทเดือนสิบ
ท้าย
เสียงหยุดทั้งหมด ดังนั้น เสียงท้ายของ /p/, /t/ และ /k/ ออกเสียงเป็น [p̚], [t̚] และ [k̚] ตามลำดับ
เสียงนาสิก | [m] ม | [n] ญ, ณ, น, ร, ล, ฬ | [ŋ] ง | ||
---|---|---|---|---|---|
เสียงหยุด | [p] บ, ป, พ, ฟ, ภ | [t] จ, ช, ซ, ฌ, ฎ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ด, ต, ถ, ท, ธ, ศ, ษ, ส | [k] ก, ข, ค, ฆ | [ʔ]* | |
[w] ว | [j] ย |
- * ตรงท้ายออกเสียงเป็นเส้นเสียงหยุด (glottal stop) เมื่อไม่มีตัวท้ายหลังสระสั้น
สระ
สระในภาษาไทยถิ่นใต้มีความคล้ายกับภาษาไทยถิ่นกลาง โดยเป็นไปตามตารางนี้
สั้น | ยาว | สั้น | ยาว | สั้น | ยาว | |
---|---|---|---|---|---|---|
/i/ -ิ | /iː/ -ี | /ɯ/ -ึ | /ɯː/ -ือ, -ื- | /u/ -ุ | /uː/ -ู | |
/e/ เ-ะ | /eː/ เ- | /ɤ/ เ-อะ | /ɤː/ เ-อ | /o/ โ-ะ | /oː/ โ- | |
/ɛ/ แ-ะ | /ɛː/ แ- | /a/ -ะ, -ั- | /aː/ -า | /ɔ/ เ-าะ | /ɔː/ -อ |
สระมักมาเป็น โดยแบ่งไปตามนี้:
ยาว | สั้น | ||
---|---|---|---|
ไทย | IPA | ไทย | IPA |
–า | /aː/ | –ะ | /a/ |
–ี | /iː/ | –ิ | /i/ |
–ู | /uː/ | –ุ | /u/ |
เ– | /eː/ | เ–ะ | /e/ |
แ– | /ɛː/ | แ–ะ | /ɛ/ |
–ือ | /ɯː/ | –ึ | /ɯ/ |
เ–อ | /ɤː/ | เ–อะ | /ɤ/ |
โ– | /oː/ | โ–ะ | /o/ |
–อ | /ɔː/ | เ–าะ | /ɔ/ |
สระพื้นฐานสามารถรวมกันเป็นที่ใช้ในการกำหนดเสียงวรรณยุกต์ สระที่มีสัญลักษณ์ดอกจันในบางครั้งอาจถือเป็นสระยาว:
ยาว | สั้น | ||
---|---|---|---|
อักษรไทย | IPA | อักษรไทย | IPA |
–าย | /aːj/ | ไ–*, ใ–*, ไ–ย, -ัย | /aj/ |
–าว | /aːw/ | เ–า* | /aw/ |
เ–ีย | /iːə/ | เ–ียะ | /iə/ |
– | – | –ิว | /iw/ |
–ัว | /uːə/ | –ัวะ | /uə/ |
–ูย | /uːj/ | –ุย | /uj/ |
เ–ว | /eːw/ | เ–็ว | /ew/ |
แ–ว | /ɛːw/ | – | – |
เ–ือ | /ɯːə/ | เ–ือะ | /ɯə/ |
เ–ย | /ɤːj/ | – | – |
–อย | /ɔːj/ | – | – |
โ–ย | /oːj/ | – | – |
นอกจากนี้ ยังมี 3 แบบที่ใช้ในการกำหนดเสียงวรรณยุกต์ สระที่มีสัญลักษณ์ดอกจันในบางครั้งอาจถือเป็นสระยาว:
อักษรไทย | IPA |
---|---|
เ–ียว* | /iəw/ |
–วย* | /uəj/ |
เ–ือย* | /ɯəj/ |
สำเนียง
ภาษาไทยถิ่นใต้มีภาษาย่อยแตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องถิ่นต่าง ๆ บางแห่งมีการใช้คำศัพท์หรือมีการออกเสียงแตกต่างกันออกไป
รัชฎาภรณ์ ผลยะฤทธิ์ (2561)
Phonyarit (2018) แบ่งสำเนียงหลักของภาษาไทยถิ่นใต้ออกเป็น 9 สำเนียง โดยอิงจากการแยกเสียงวรรณยุกต์และการควบรวมประโยค ได้ดังนี้
- ตะวันออก
- สำเนียงนครศรีธรรมราช (มาตรฐาน) มีผู้พูดบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราชตอนบนและจังหวัดสุราษฎร์ธานีตะวันออก
- สำเนียงทุ่งสง มีผู้พูดในจังหวัดนครศรีธรรมราชตอนล่างและจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดพัทลุง
- สำเนียงสงขลา มีผู้พูดในจังหวัดสงขลาและจังหวัดโดยรอบ ยกเว้นในอำเภอหาดใหญ่ที่พูดสำเนียงกรุงเทพที่มีคำยืมภาษาไทยถิ่นใต้
- สำเนียงไทรบุรี มีผู้พูดในไทรบุรี (รัฐเกอดะฮ์) รัฐปะลิส และจังหวัดสตูล
- ตะวันตก
- สำเนียงไชยา มีผู้พูดในจังหวัดสุราษฎร์ธานีส่วนใหญ่และจังหวัดระนอง จัดให้เป็นภาษาย่อยของกลุ่มชนเปอรานากัน ยกเว้นในอำเภอบ้านดอนที่พูดสำเนียงกรุงเทพที่มีคำยืมภาษาไทยถิ่นใต้
- สำเนียงชุมพร มีผู้พูดในจังหวัดชุมพรและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ตอนใต้
- สำเนียงภูเก็ต พูดโดยกลุ่มชนเปอรานากันในจังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง และจังหวัดพังงา
- สำเนียงสมุย มีผู้พูดในอำเภอเกาะสมุยและอำเภอเกาะพงัน
- สำเนียงตากใบ พูดโดยชนกลุ่มน้อยสยามในจังหวัดปัตตานี
ตามใจ อวิรุทธิโยธิน (2559)
ส่วนตามใจ อวิรุทธิโยธิน (2559) แบ่งภาษาไทยถิ่นใต้ออกเป็นสามสำเนียงใหญ่ ได้แก่
- ภาษาไทยถิ่นใต้กลุ่มตะวันออก เป็นภาษาไทยถิ่นใต้ที่มีผู้ใช้หนาแน่นในบริเวณทางตะวันออกของคาบสมุทร ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา เรื่อยไปจนถึงรัฐเกอดะฮ์ และปะลิสของประเทศมาเลเซีย
- ภาษาไทยถิ่นใต้กลุ่มตะวันตก เป็นภาษาไทยถิ่นใต้ที่มีผู้ใช้หนาแน่นในบริเวณทางตะวันตกของคาบสมุทร ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, ชุมพร, พังงา, ภูเก็ต, กระบี่, ตรัง และเขตตะนาวศรีของประเทศพม่า
- ภาษาไทยถิ่นใต้ตอนล่าง เป็นภาษาไทยถิ่นใต้ที่มีผู้ใช้หนาแน่นในบริเวณสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี, ยะลา และนราธิวาส โดยสำเนียงปัตตานีและยะลามีความเชื่อมโยงกันมาก และใกล้ชิดกับสำเนียงนราธิวาสเป็นลำดับถัดมา มีการยืมคำมลายูค่อนข้างหนาแน่น เพราะตั้งชุมชนอยู่ท่ามกลางชาวไทยเชื้อสายมลายูซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่ โดยเฉพาะในอำเภอทุ่งยางแดง อำเภอสายบุรี และอำเภอตากใบ
คำยืม
ภาษาไทยถิ่นใต้มีความสัมพันธ์กับชาวต่างชาติอย่างหลากหลาย จนเกิดการยืมคำมาใช้ ทั้งนี้พบว่าภาษาไทยถิ่นใต้มีการยืมคำจากภาษาเขมรมากที่สุดถึง 1,320 คำ บางส่วนเป็นคำยืมที่พบได้เพียงแต่ในภาษาไทยถิ่นใต้เท่านั้น ไม่พบในภาษาไทยกลาง เข้าใจว่าคงยืมผ่านโดยตรง ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ พบว่าสำเนาพระราชกฤษฎีกาสมัยสมเด็จพระเพทราชาเรื่องกัลปนาวัดในแขวงเมืองพัทลุงล้วนใช้ภาษาและอักษรเขมรเก่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า อาจมาจากการกวาดต้อนเชลยเขมรเข้าสู่หัวเมืองภาคใต้ นอกจากนี้ยังมีคำยืมภาษาจีนโดยเฉพาะภาษาฮกเกี้ยนหนาแน่นในสำเนียงภูเก็ต (1,239 คำ) และภาษาจีนอื่น ๆ ในสำเนียงสงขลา (396 คำ) และคำยืมภาษามลายูหนาแน่นในสำเนียงปัตตานี ยะลา นราธิวาส (400 คำ) และสตูล (375 คำ) แต่อย่างไรก็ตามคำยืมเหล่านี้มีผู้ใช้น้อยลง และแทนที่ด้วยภาษาไทยมาตรฐาน
ระบบการเขียน
ในอดีตภาษาไทยถิ่นใต้จะใช้อักษรขอมไทยในการจดจารตำรับตำราสำคัญทางศาสนา นับถือว่าหนังสือและอักษรเป็นของศักดิ์สิทธิ์ ถ้าใครเหยียบหรือข้ามหนังสือจะทำให้วิชาความรู้เสื่อมถอย อักษรขอมนี้พัฒนามาจากอักษรหลังปัลลาวะเริ่มใช้เขียนหลัง พ.ศ. 1726 เป็นต้นมา พบหลักฐานที่ฐานพระพุทธรูป จังหวัดสุราษฎร์ธานี จนกระทั่ง พ.ศ. 1773 อักษรขอมนี้มีพัฒนาการในรูปแบบท้องถิ่นภาคใต้โดยเฉพาะ แต่ระยะหลังมีการรับอักษรขอมไทยอย่างภาคกลางมากขึ้นในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ส่วน ปรากฏครั้งแรกในศิลาจารึก จังหวัดสุราษฎร์ธานี แต่มีอักขรวิธีอย่างคนเมืองเหนือ ในช่วงหลังมีการบันทึกวรรณกรรมเป็นอักษรไทยลงสมุดไทยและตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมา พ.ศ. 2357 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีการใช้อักษรไทยอยุธยาเขียนตามสำเนียงใต้โดยไม่คำนึงถึงรูปแบบที่ถูกต้อง หรือมีอักขรวิธีตามความพอใจของผู้เขียนเอง ครั้นเมื่อมีการพัฒนาด้านการศึกษาในประเทศไทย ภาษาไทยถิ่นใต้จึงพัฒนามาเขียนด้วยอักษรไทยอย่างกรุงเทพมหานครจนถึงปัจจุบัน
ภาษาทองแดง
ภาษาทองแดง ใน พจนานุกรมภาษาถิ่นใต้ พุทธศักราช 2525 ให้ความหมายไว้ว่า "การพูดภาษากลางปนภาษาใต้หรือพูดเพี้ยน" ซึ่งเกิดขึ้นได้กับทุกคนที่ใช้ภาษาไทยผิดเพี้ยนไปจากมาตรฐานกำหนด ไม่ได้จำกัดว่าเป็นคนภาคใดหรือจังหวัดใด ๆ อย่างเช่น เมื่อผู้ใช้ภาษาไทยถิ่นใต้เป็นภาษาแม่ไปพูดภาษาไทยมาตรฐาน ก็ย่อมจะนำลักษณะบางประการของภาษาถิ่นของตนปะปนเข้ากับภาษาไทยมาตรฐานจนผิดเพี้ยน เรียกว่า "ทองแดง" และชาวไทยเชื้อสายมลายูในสามจังหวัดชายแดนใต้ที่พูดภาษาไทยมาตรฐานไม่ชัด เพราะติดสำเนียงมลายู ก็จะถูกเรียกว่า "ทองแดง" เช่นกัน
แต่เดิมชาวไทยในแถบภาคใต้จะไม่นิยมใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เพราะเป็นภาษาของเจ้านายหรือราชสำนัก เมื่อมีชนชั้นนำหรือเจ้านายพูดภาษาไทยมาตรฐาน ชาวบ้านจึงต้องออกเสียงให้ตรงกับภาษาของนาย เรียกว่า "แหลงข้าหลวง" ซึ่งเป็นความพยายามอย่างหนึ่งของคนใต้ ที่ต้องการให้ส่วนกลางเข้าใจเนื้อหาคำพูดของตน แม้จะออกเสียงผิดเพี้ยนไปบ้าง และหากชาวใต้คนใดพูดภาษาไทยกลางหรือ "แหลงบางกอก" ก็จะถูกคนใต้ด้วยกันมองด้วยเชิงตำหนิว่า "ลืมถิ่น" หรือ "ดัดจริต" เพราะแม้จะพูดภาษาไทยมาตรฐานแต่ยังคงติดสำเนียงใต้อยู่ จึงถูกล้อเลียนว่า "พูดทองแดง" เพราะมีการออกเสียงพยัญชนะและสระต่างกัน มีการตัดคำหน้าของสระเสียงสั้นออกไป เพื่อความสะดวกในการออกเสียง เช่น "เงาะ" เป็น "เฮาะ", "ลอยกระทง" เป็น "ลอยกระตง", "สังขยา" เป็น "สังหยา" นอกจากนี้ยังมีการใช้คำต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน แต่มีความหมายเดียวกัน เช่น "ปวดท้อง" ว่า "เจ็บพุง", "ปวดหัว" ว่า "เจ็บเบ็ดหัว", "ชักช้า" ว่า "ลำลาบ"
ปัจจุบันภาษาไทยมาตรฐานมีอิทธิพลเหนือภาษาไทยถิ่นใต้มาขึ้นตามลำดับ โดยเฉพาะจากการศึกษาในระบบ และผ่านการสื่อสารมวลชน ทำให้ภาษาไทยถิ่นใต้เกิดความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทุกขณะ
อ้างอิง
- ดาริกา ธนะศักดิ์ศิริ (2555). รักษ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ (PDF). ปทุมธานี: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก. p. 12.
- ภาษาไทยถิ่นใต้ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- (PDF) (ภาษาอังกฤษ และ ไทย). United Nations Committee on the Elimination of Racial Discrimination. 28 กรกฎาคม 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2016.
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม (2016). ภาษา : มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ (PDF). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์. p. 62. ISBN . (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 เมษายน 2022. สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2021.
- ตามใจ อวิรุทธิโยธิน (2559). "ภาพรวมการศึกษาภาษาไทยถิ่นใต้". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 13 (1), หน้า 9. ISSN 2697-5971.
- Diller, Anthony (1979). Nguyen, Dang Liem (บ.ก.). "How Many Tones For Southern Thai?" (PDF). South-east Asian Linguistic Studies. Pacific Linguistics, the Australian National University. 4: 122. ISBN .
- Phonyarit, Ratchadaporn (2018). Tonal Geography of the Southern Thai Dialects. Paper presented at the 28th Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society, held May 17–19, 2018 in Kaohsiung, Taiwan.
- ตามใจ อวิรุทธิโยธิน (2559). "ภาพรวมการศึกษาภาษาไทยถิ่นใต้". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 13 (1), หน้า 18. ISSN 2697-5971.
- ตามใจ อวิรุทธิโยธิน (2559). "ภาพรวมการศึกษาภาษาไทยถิ่นใต้". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 13 (1), หน้า 21. ISSN 2697-5971.
- ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. "สาส์นสมเด็จ (15 มิถุนายน พ.ศ. 2478 ดร)". วชิรญาณ. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2565.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. "สาส์นสมเด็จ (18 มิถุนายน พ.ศ. 2478 น)". วชิรญาณ. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2565.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - เฉลิมชัย ส่งศรี (ตุลาคม 2541–มีนาคม 2542). "ภาษาไทยถิ่นใต้ในบริบททางวัฒนธรรม[]". วารสารปาริชาด. มหาวิทยาลัยทักษิณ. 11 (2). หน้า 48. ISSN 0857-0884.
- ชะเอม แก้วคล้าย (17 ตุลาคม 2018). "พัฒนาการอักษรที่ใช้บันทึกวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้". สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2021.
- ปรีชา ทิชินพงศ์ (เมษายน–กันยายน 2006). "ลักษณะทางภาษาทองแดงของชาวไทยภาคใต้" (PDF). วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยทักษิณ. 1 (1). ISSN 1905-3959. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2021.[]
- นิยามาล อาแย (2009). ตัวตนคนมลายูมุสลิมในเขตเมืองยะลา (PDF) (M.A.). สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. p. 124.
- ประพนธ์ เรืองณรงค์ (2007). เล่าเรื่องเมืองใต้: ภาษา วรรณกรรม ความเชื่อ. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์. p. 8. ISBN .
- ประพนธ์ เรืองณรงค์ (2007). เล่าเรื่องเมืองใต้: ภาษา วรรณกรรม ความเชื่อ. p. 9.
บรรณานุกรม
- Bradley, David. (1992). "Southwestern Dai as a lingua franca." Atlas of Languages of Intercultural Communication in the Pacific, Asia, and the Americas. Vol. II.I:13, pp. 780–781. ISBN
- Levinson, David. Ethnic Groups Worldwide: A Ready Reference Handbook. Greenwood Publishing Group. ISBN .
- Miyaoka, Osahito. (2007). The Vanishing Languages of the Pacific Rim. Oxford University Press. ISBN .
- Taher, Mohamed. (1998). Encylopaedic Survey of Islamic Culture. Anmol Publications Pvt. Ltd. ISBN .
- Yegar, Moshe. Between Integration and Secession: The Muslim Communities of the Southern Philippines, Southern Thailand, and Western Burma/Myanmar. Lexington Books. ISBN .
- Diller, A. Van Nostrand. (1976). Toward a Model of Southern Thai Diglossic Speech Variation. Cornell University Publishers. OCLC 3956175.
- Li, Fang Kuei. (1977). A Handbook of Comparative Tai. University of Hawaii Press. ISBN .
- พจนานุกรมภาษาถิ่นใต้ พุทธศักราช 2550 พิมพ์ครั้งที่ 5. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, มูลนิธิร่วมพัฒนาภาคใต้ และสถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2551. OCLC 538022818.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul phasaithythinit khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phasaithythinit odyyxwa phasait hrux phasatamophr xngkvs Dambro hrux phasapksit epnphasaithklumhnung cdxyuinklumphasaithtawntkechiyngit miphuichphasahnaaennbriewnsibsicnghwdphakhitkhxngpraethsithy mibangswnkracaytwipincnghwdpracwbkhirikhnth ekhttanawsriinpraethsphma aelabriewnrthekxdah rthpalis rthpinng aelartheprk thangtxnehnuxkhxngpraethsmaelesiy miphuphudepnphasaaemrawhalankhn aelaxikraw 1 5 lankhnichepnphasathisxng idaekklumchnechuxsaycin epxranakn mlayu xurklaowyc aelaphasaithythinitphasatamophrpraethsthimikarphudphakhitkhxngpraethsithy ekhttanawsri phma rthekxdah maelesiy chatiphnthuithyit epxranakn ithyechuxsaycin maelesiyechuxsaysyam ithyechuxsaymlayucanwnphuphud4 5 lankhn 2549 trakulphasakhra ith ithtawntkechiyngitechiyngaesnsuokhthy txngkarxangxing phasaithythinitrabbkarekhiynxksrithysthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin ithyrhsphasaISO 639 3sou nxkcakniinphakhityngmiklumphasaiththiimidcdxyuinklumyxykhxngphasaithythinit idaek phasatakib phasasakxm aelaphasaphiethn ephraamiexklksnepnkhxngtnexngthiaetktangipcakphasaithythinithruxphasamlayusthxksrwrrnyukt phasaithythinitswnihyinphyangkhediywmi 5 radbesiyng sungepncringsahrbsaeniyngthixyuinradblaticudpraman 10 ehnuxthung 7 ehnuxkbphasathininemuxngthwphakhit inbangphunthimiwrrnyukthkthungecdesiyng odysaeniyngcnghwdnkhrsrithrrmrach pramanlaticud 8 ehnux miwrrnyukt 7 esiyng tn esiyngnasik m m n n n ɲ y esiynghyud p p t t t c c k k ʔ x pʰ ph ph ph tʰ th th th th th th cʰ ch ch ch kʰ kh kh kh Kh kh b b d d d v f f s s s s s ɧ ng ɦ h h l l l j y w w r r phbinbangsaeniyng tngkxnhnasraid odyimmitwhnaaelahlngsrasnodyimmitwthay pccubnimichphyychna kh aela Kh thaihehluxphyychna 42 twklumphyychna phyychnakhwb inphasaithymiklumphyychna 11 aebb dngni kr kr kl kl kw kw kʰr khr khr kʰl khl khl kʰw khw khw pr pr pl pl pʰr phr phr pʰl phl phl tr tr nxkcakniyngmikhakhwbklathiimidxyuinhlkphasaithymatrthandwy echn h m r echn hm rb xanwa h m rb h epnxksrna tamdwy m khwbkladwy r aeplwa sarb imid xanwa hm rb hrux hmb ihxxkesiyng hm khwb r echn karcdh m rbpraephnisartheduxnsibthay esiynghyudthnghmd dngnn esiyngthaykhxng p t aela k xxkesiyngepn p t aela k tamladb esiyngnasik m m n y n n r l l ŋ ngesiynghyud p b p ph f ph t c ch s ch d t th th th d t th th th s s s k k kh kh kh ʔ w w j y trngthayxxkesiyngepnesnesiynghyud glottal stop emuximmitwthayhlngsrasnsra srainphasaithythinitmikhwamkhlaykbphasaithythinklang odyepniptamtarangni sn yaw sn yaw sn yaw i i iː i ɯ u ɯː ux u u u uː u e e a eː e ɤ e xa ɤː e x o o a oː o ɛ ae a ɛː ae a a aː a ɔ e aa ɔː x sramkmaepn odyaebngiptamni yaw snithy IPA ithy IPA a aː a a i iː i i u uː u u e eː e a e ae ɛː ae a ɛ ux ɯː u ɯ e x ɤː e xa ɤ o oː o a o x ɔː e aa ɔ sraphunthansamarthrwmknepnthiichinkarkahndesiyngwrrnyukt srathimisylksndxkcninbangkhrngxacthuxepnsrayaw yaw snxksrithy IPA xksrithy IPA ay aːj i i i y y aj aw aːw e a aw e iy iːe e iya ie iw iw w uːe wa ue uy uːj uy uj e w eːw e w ew ae w ɛːw e ux ɯːe e uxa ɯe e y ɤːj xy ɔːj o y oːj nxkcakni yngmi 3 aebbthiichinkarkahndesiyngwrrnyukt srathimisylksndxkcninbangkhrngxacthuxepnsrayaw xksrithy IPAe iyw iew wy uej e uxy ɯej saeniyngphasaithythinitmiphasayxyaetktangknxxkipinaetlathxngthintang bangaehngmikarichkhasphthhruxmikarxxkesiyngaetktangknxxkip rchdaphrn phlyavththi 2561 Phonyarit 2018 aebngsaeniynghlkkhxngphasaithythinitxxkepn 9 saeniyng odyxingcakkaraeykesiyngwrrnyuktaelakarkhwbrwmpraoykh iddngni tawnxxk saeniyngnkhrsrithrrmrach matrthan miphuphudbriewncnghwdnkhrsrithrrmrachtxnbnaelacnghwdsurasdrthanitawnxxk saeniyngthungsng miphuphudincnghwdnkhrsrithrrmrachtxnlangaelacnghwdodyrxb echn cnghwdphthlung saeniyngsngkhla miphuphudincnghwdsngkhlaaelacnghwdodyrxb ykewninxaephxhadihythiphudsaeniyngkrungethphthimikhayumphasaithythinit saeniyngithrburi miphuphudinithrburi rthekxdah rthpalis aelacnghwdstul tawntk saeniyngichya miphuphudincnghwdsurasdrthaniswnihyaelacnghwdranxng cdihepnphasayxykhxngklumchnepxranakn ykewninxaephxbandxnthiphudsaeniyngkrungethphthimikhayumphasaithythinit saeniyngchumphr miphuphudincnghwdchumphraelacnghwdpracwbkhirikhnthtxnit saeniyngphuekt phudodyklumchnepxranaknincnghwdphuekt cnghwdkrabi cnghwdtrng aelacnghwdphngnga saeniyngsmuy miphuphudinxaephxekaasmuyaelaxaephxekaaphngn saeniyngtakib phudodychnklumnxysyamincnghwdpttanitamic xwiruththioythin 2559 swntamic xwiruththioythin 2559 aebngphasaithythinitxxkepnsamsaeniyngihy idaek phasaithythinitklumtawnxxk epnphasaithythinitthimiphuichhnaaenninbriewnthangtawnxxkkhxngkhabsmuthr tngaetcnghwdsurasdrthani nkhrsrithrrmrach phthlung sngkhla eruxyipcnthungrthekxdah aelapaliskhxngpraethsmaelesiy phasaithythinitklumtawntk epnphasaithythinitthimiphuichhnaaenninbriewnthangtawntkkhxngkhabsmuthr tngaetcnghwdsurasdrthani nkhrsrithrrmrach chumphr phngnga phuekt krabi trng aelaekhttanawsrikhxngpraethsphma phasaithythinittxnlang epnphasaithythinitthimiphuichhnaaenninbriewnsamcnghwdchayaednphakhit idaek cnghwdpttani yala aelanrathiwas odysaeniyngpttaniaelayalamikhwamechuxmoyngknmak aelaiklchidkbsaeniyngnrathiwasepnladbthdma mikaryumkhamlayukhxnkhanghnaaenn ephraatngchumchnxyuthamklangchawithyechuxsaymlayusungepnchnklumihy odyechphaainxaephxthungyangaedng xaephxsayburi aelaxaephxtakibkhayumphasaithythinitmikhwamsmphnthkbchawtangchatixyanghlakhlay cnekidkaryumkhamaich thngniphbwaphasaithythinitmikaryumkhacakphasaekhmrmakthisudthung 1 320 kha bangswnepnkhayumthiphbidephiyngaetinphasaithythinitethann imphbinphasaithyklang ekhaicwakhngyumphanodytrng sastracary yxrch eseds phbwasaenaphrarachkvsdikasmysmedcphraephthrachaeruxngklpnawdinaekhwngemuxngphthlunglwnichphasaaelaxksrekhmreka smedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaphthrngsnnisthanwa xacmacakkarkwadtxnechlyekhmrekhasuhwemuxngphakhit nxkcakniyngmikhayumphasacinodyechphaaphasahkekiynhnaaenninsaeniyngphuekt 1 239 kha aelaphasacinxun insaeniyngsngkhla 396 kha aelakhayumphasamlayuhnaaenninsaeniyngpttani yala nrathiwas 400 kha aelastul 375 kha aetxyangirktamkhayumehlanimiphuichnxylng aelaaethnthidwyphasaithymatrthanrabbkarekhiyninxditphasaithythinitcaichxksrkhxmithyinkarcdcartarbtarasakhythangsasna nbthuxwahnngsuxaelaxksrepnkhxngskdisiththi thaikhrehyiybhruxkhamhnngsuxcathaihwichakhwamruesuxmthxy xksrkhxmniphthnamacakxksrhlngpllawaerimichekhiynhlng ph s 1726 epntnma phbhlkthanthithanphraphuththrup cnghwdsurasdrthani cnkrathng ph s 1773 xksrkhxmnimiphthnakarinrupaebbthxngthinphakhitodyechphaa aetrayahlngmikarrbxksrkhxmithyxyangphakhklangmakkhuninchwngtnkrungrtnoksinthr swn praktkhrngaerkinsilacaruk cnghwdsurasdrthani aetmixkkhrwithixyangkhnemuxngehnux inchwnghlngmikarbnthukwrrnkrrmepnxksrithylngsmudithyaelatrngkbrchsmysmedcphranaraynmharach txma ph s 2357 trngkbrchsmyphrabathsmedcphraphuththelishlanphaly mikarichxksrithyxyuthyaekhiyntamsaeniyngitodyimkhanungthungrupaebbthithuktxng hruxmixkkhrwithitamkhwamphxickhxngphuekhiynexng khrnemuxmikarphthnadankarsuksainpraethsithy phasaithythinitcungphthnamaekhiyndwyxksrithyxyangkrungethphmhankhrcnthungpccubnphasathxngaednginkaraesdnghnngtalung twlakhrthiepnecanaycaphakydwykaraehlngkhahlwng swntwlakhrthiepnchawbancaphakydwyphasathinit phasathxngaedng in phcnanukrmphasathinit phuththskrach 2525 ihkhwamhmayiwwa karphudphasaklangpnphasaithruxphudephiyn sungekidkhunidkbthukkhnthiichphasaithyphidephiynipcakmatrthankahnd imidcakdwaepnkhnphakhidhruxcnghwdid xyangechn emuxphuichphasaithythinitepnphasaaemipphudphasaithymatrthan kyxmcanalksnabangprakarkhxngphasathinkhxngtnpapnekhakbphasaithymatrthancnphidephiyn eriykwa thxngaedng aelachawithyechuxsaymlayuinsamcnghwdchayaednitthiphudphasaithymatrthanimchd ephraatidsaeniyngmlayu kcathukeriykwa thxngaedng echnkn aetedimchawithyinaethbphakhitcaimniymichphasaithymatrthan ephraaepnphasakhxngecanayhruxrachsank emuxmichnchnnahruxecanayphudphasaithymatrthan chawbancungtxngxxkesiyngihtrngkbphasakhxngnay eriykwa aehlngkhahlwng sungepnkhwamphyayamxyanghnungkhxngkhnit thitxngkarihswnklangekhaicenuxhakhaphudkhxngtn aemcaxxkesiyngphidephiynipbang aelahakchawitkhnidphudphasaithyklanghrux aehlngbangkxk kcathukkhnitdwyknmxngdwyechingtahniwa lumthin hrux ddcrit ephraaaemcaphudphasaithymatrthanaetyngkhngtidsaeniyngitxyu cungthuklxeliynwa phudthxngaedng ephraamikarxxkesiyngphyychnaaelasratangkn mikartdkhahnakhxngsraesiyngsnxxkip ephuxkhwamsadwkinkarxxkesiyng echn engaa epn ehaa lxykrathng epn lxykratng sngkhya epn snghya nxkcakniyngmikarichkhatangcakphasaithymatrthan aetmikhwamhmayediywkn echn pwdthxng wa ecbphung pwdhw wa ecbebdhw chkcha wa lalab pccubnphasaithymatrthanmixiththiphlehnuxphasaithythinitmakhuntamladb odyechphaacakkarsuksainrabb aelaphankarsuxsarmwlchn thaihphasaithythinitekidkhwamepliynaeplngekidkhunthukkhnaxangxingdarika thnaskdisiri 2555 rkswthnthrrmklumchatiphnthu PDF pthumthani phiphithphnthsthanaehngchati kaycnaphiesk p 12 phasaithythinit thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik PDF phasaxngkvs aela ithy United Nations Committee on the Elimination of Racial Discrimination 28 krkdakhm 2011 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 9 tulakhm 2016 subkhnemux 8 tulakhm 2016 krmsngesrimwthnthrrm 2016 phasa mrdkphumipyyathangwthnthrrmkhxngchati PDF krungethph sankngankickarorngphimph xngkhkarsngekhraahthharphansuk inphrabrmrachupthmph p 62 ISBN 978 616 543 381 5 PDF cakaehlngedimemux 16 emsayn 2022 subkhnemux 25 knyayn 2021 tamic xwiruththioythin 2559 phaphrwmkarsuksaphasaithythinit warsarmnusysastraelasngkhmsastr mhawithyalyrachphtsurasdrthani 13 1 hna 9 ISSN 2697 5971 Diller Anthony 1979 Nguyen Dang Liem b k How Many Tones For Southern Thai PDF South east Asian Linguistic Studies Pacific Linguistics the Australian National University 4 122 ISBN 0 85883 201 1 Phonyarit Ratchadaporn 2018 Tonal Geography of the Southern Thai Dialects Paper presented at the 28th Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society held May 17 19 2018 in Kaohsiung Taiwan tamic xwiruththioythin 2559 phaphrwmkarsuksaphasaithythinit warsarmnusysastraelasngkhmsastr mhawithyalyrachphtsurasdrthani 13 1 hna 18 ISSN 2697 5971 tamic xwiruththioythin 2559 phaphrwmkarsuksaphasaithythinit warsarmnusysastraelasngkhmsastr mhawithyalyrachphtsurasdrthani 13 1 hna 21 ISSN 2697 5971 darngrachanuphaph smedcphraecabrmwngsethx krmphraya sasnsmedc 15 mithunayn ph s 2478 dr wchiryan subkhnemux 18 emsayn 2565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help darngrachanuphaph smedcphraecabrmwngsethx krmphraya sasnsmedc 18 mithunayn ph s 2478 n wchiryan subkhnemux 18 emsayn 2565 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help echlimchy sngsri tulakhm 2541 minakhm 2542 phasaithythinitinbribththangwthnthrrm lingkesiy warsarparichad mhawithyalythksin 11 2 hna 48 ISSN 0857 0884 chaexm aekwkhlay 17 tulakhm 2018 phthnakarxksrthiichbnthukwrrnkrrmthxngthinphakhit sthabnithysuksa culalngkrnmhawithyaly subkhnemux 24 knyayn 2021 pricha thichinphngs emsayn knyayn 2006 lksnathangphasathxngaedngkhxngchawithyphakhit PDF warsarmnusysastrsngkhmsastr mhawithyalythksin 1 1 ISSN 1905 3959 subkhnemux 24 knyayn 2021 lingkesiy niyamal xaaey 2009 twtnkhnmlayumusliminekhtemuxngyala PDF M A sakhawichaphthnamnusyaelasngkhm mhawithyalysngkhlankhrinthr p 124 praphnth eruxngnrngkh 2007 elaeruxngemuxngit phasa wrrnkrrm khwamechux krungethph sthaphrbukhs p 8 ISBN 978 974 9967 82 9 praphnth eruxngnrngkh 2007 elaeruxngemuxngit phasa wrrnkrrm khwamechux p 9 brrnanukrmBradley David 1992 Southwestern Dai as a lingua franca Atlas of Languages of Intercultural Communication in the Pacific Asia and the Americas Vol II I 13 pp 780 781 ISBN 978 3 11 013417 9 Levinson David Ethnic Groups Worldwide A Ready Reference Handbook Greenwood Publishing Group ISBN 1 573 56019 7 Miyaoka Osahito 2007 The Vanishing Languages of the Pacific Rim Oxford University Press ISBN 0 19 926662 X Taher Mohamed 1998 Encylopaedic Survey of Islamic Culture Anmol Publications Pvt Ltd ISBN 81 261 0403 1 Yegar Moshe Between Integration and Secession The Muslim Communities of the Southern Philippines Southern Thailand and Western Burma Myanmar Lexington Books ISBN 0 7391 0356 3 Diller A Van Nostrand 1976 Toward a Model of Southern Thai Diglossic Speech Variation Cornell University Publishers OCLC 3956175 Li Fang Kuei 1977 A Handbook of Comparative Tai University of Hawaii Press ISBN 0 8248 0540 2 phcnanukrmphasathinit phuththskrach 2550 phimphkhrngthi 5 sngkhla mhawithyalyrachphtnkhrsrithrrmrach mulnithirwmphthnaphakhit aelasthabnthksinkhdisuksa 2551 OCLC 538022818 aehlngkhxmulxunbthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk