อักษรขอมไทย เป็นอักษรพราหมีรูปแบบหนึ่งที่ใช้เขียนในประเทศไทยและลาว ซึ่งใช้เขียนภาษาบาลี, สันสกฤต และไทย อักษรดังกล่าวนี้สามารถพบได้ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรายา ตำราคาถาอาคม รูปยันต์ต่าง ๆ โดยมากปรากฏในแถบภาคกลาง และอาจพบได้บ้างในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
อักษรขอมไทย | |
---|---|
อักษรขอมไทยในคัมภีร์ทางพุทธศาสนา | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ประมาณ ค.ศ. 1400 - ปัจจุบัน |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | บาลี, สันสกฤต, เขมร และไทย |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบพี่น้อง | สุโขทัย |
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมียังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล | |
ศัพทมูลวิทยา
ในอดีต อักษรนี้มีชื่อว่า อักษรขอม คำว่า ขอม มีหลายความหมาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้ความหมายว่า เขมรโบราณ
พยัญชนะ
พยัญชนะมีทั้งหมด 35 ตัว โดยแต่ละตัวมีทั้งรูปตัวเต็มกับตัวเชิงหรือพยัญชนะซ้อน มีการจัดแบ่งเป็นวรรคตามระบบภาษาสันสกฤต
วรรค กะ | ก | ข | ค | ฆ | ง |
---|---|---|---|---|---|
วรรค จะ | จ | ฉ | ช | ฌ | ญ |
วรรค ฏะ | ฏ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ |
วรรค ตะ | ต | ถ | ท | ธ | น |
วรรค ปะ | ป | ผ | พ | ภ | ม |
เศษวรรค | ย | ร | ล | ว | ศ |
ษ | ส | ห | ฬ | อ |
รูปพยัญชนะอักษรขอมไทยน้อยกว่าอักษรไทย 9 ตัว โดยรูปพยัญชนะที่ขาดไป 9 ตัว คือ ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ และ ฮ ซึ่งการเขียนคำที่มีพยัญชนะที่ขาดไปเป็นดังนี้
- ตัว ด ใช้ ฑ หรือ ต แทน เช่น ไฑ หรือ ไต = ได้, เฑากไม่ หรือ เตากไม่ = ดอกไม้
- ตัว ฝ ใช้ ผ แทน เช่น ผี อาจหมายถึง ผี หรือฝี ขึ้นกับบริบท
- ตัว ซ ใช้ ฌ ช หรือ ส เช่น ฌืตฺรง = ซื่อตรง, แลวใส้ย = แล้วไซร้
- ตัว บ และ ฟ นิยมนำรูปตัว (ป) ของอักษรขอมมาเขียนแทน บ และเพิ่มหางขึ้นไปเป็นรูป ตัว (ป) ส่วนตัว ฟ ใช้รูปตัว (พ) ของอักษรขอมมาเติมหางเช่นกันเป็นรูป (ฟ) แต่ในหลายกรณี รูปตัว ป ของอักษรขอมทั้งที่มีหางและไม่มีหางมักใช้ปะปนกัน บางครั้งแทนเสียง ป บางครั้งแทนเสียง บ เช่น เบน หรือ เปน = เป็น, ไฟเผา = ไฟเผา
- รูปตัว ฝ ใช้อักษรขอม ตัว พ เติมหางเช่นเดียวกับตัว ฟ เช่น ฟาย = ฝ่าย
- ตัว ฃ ฅ ฎ ฮ ไม่มีที่ใช้ โดยใช้ ข ค ฏ และ ห แทน
พยัญชนะทุกตัวใช้เป็นพยัญชนะต้นได้ทั้งหมด ในกรณีของอักษรนำและตัวควบกล้ำ ตัวแรกใช้รูปตัวเต็ม ตัวต่อไปใช้รูปตัวเชิง
ตัวสะกด มี/ร
นิยมเขียนด้วยรูปตัวเชิงใต้พยัญชนะต้นหรือสระ เว้นแต่พยัญชนะมีรูปสระหรือตัวควบกล้ำอยู่ข้างล่างอยู่แล้วจึงใช้รูปตัวเต็ม
สระ
แบ่งเป็นสระลอยกับสระจม รูปสระลอยใช้เขียนคำที่มีเสียง อ มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่
อะ | อา | อิ | อี |
อุ | อู | เอ | โอ |
รูปสระจมหรือประสมคล้ายกับอักษรไทยปัจจุบัน ที่ต่างไปมีดังนี้
- สระเอีย - นิยมเขียนด้วยตัวเชิงของตัว ย เช่น ดฺยว = เดียว หรือใช้ทั้งสระ เอ + อิ (อี) + ตัวเชิงของ ย เช่น เสิย = เสีย
- สระเอือ - มีทั้งแบบที่ใช้รูปสระ เอ + อิ + อ เช่น เพิอ = เพื่อ และ เอ + อิ (อื) + ตัวเชิงของ อ เช่น เงื่อน = เงื่อน
- สระเออ - ใช้สระ เอ กับตัวเชิงของ อ เมื่อไม่มีตัวสะกด เช่น เธอ = เธอ และใช้สระเอ + อี + ตัวเชิงของ อ เมื่อมีตัวสะกด เช่น เตีอม = เติม หรือตัดตัวเชิงของ อ ใช้ตัวเชิงของตัวสะกดแทน
- สระอัว - ใช้ ไม้หันอากาศกับตัวเชิงของ ว เมื่อไม่มีตัวสะกด หรือใช้ตัวเชิงของ ว อย่างเดียวเมื่อมีตัวสะกด เช่น ตฺวฺย = ด้วย
วรรณยุกต์
รูปวรรณยุกต์ของอักษรขอมไทยมีความคล้ายกับวรรณยุกต์ของอักษรไทย โดยมีการใช้งานไม่แน่นอนมีทั้งที่ไม่เติมวรรณยุกต์ ใช้รูปวรรณยุกต์ต่างจากปัจจุบัน หรือใช้เหมือนกัน
ไม้หันอากาศ
มีทั้งเขียนบนพยัญชนะต้นและตัวสะกด บางครั้งไม่ใช้ไม้หันอากาศแต่เพิ่มตัวสะกดเป็น 2 ตัวแทน เช่น วนฺน = วัน, ทงั = ทั้ง
การนำเข้าคอมพิวเตอร์
อักษรขอมไทยยังไม่ได้รับการบรรจุลงในยูนิโคด แต่สามารถใช้อักษรไทยแสดงรูปอักษรขอมไทยได้
ฟาริดา วิรุฬหผลได้ออกแบบฟอนต์อักษรขอมไทยสามแบบเพื่อวัตถุประสงค์ในการสอน ฟอนต์เหล่านี้สามารถทำให้ผู้พิมพ์อักษรไทยคุ้นเคยกับอักษรขอมไทยเร็วขึ้น
หนังสืออ่านเพิ่ม
อ้างอิง
- Virunhaphol 2017, pp. 154.
- Igunma 2013, pp. 1.
- Igunma, Jana. "AKSOON KHOOM: Khmer Heritage in Thai and Lao Manuscript Cultures".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - "ขอม". พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๕. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2567.
- Virunhaphol 2017, pp. 136.
- Virunhaphol 2017, pp. 111.
ข้อมูล
- Virunhaphol, Farida (2017). "Designing Khom Thai Letterforms for Accessibility (Doctoral dissertation). University of Huddersfield" (PDF).
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Igunma, Jana (2013). "Aksoon Khoom: Khmer Heritage in Thai and Lao Manuscript Cultures. Tai Culture, 23: Route of the Roots: Tai-Asiatic Cultural Interaction".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. กทม. มติชน. 2548
- อนันต์ อารีย์พงศ์. อักษรขอม. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยทักษิณ. 2546. (ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการเขียนและอ่านอักษรขอมไทยและขอมบาลี)
แหล่งข้อมูลอื่น
- ตารางอักษรขอมไทย
- ประวัติอักษรขอมไทย 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- อักษรขอมไทย (เว็บไซต์บันทึกขนำริมทุ่งปลักเหม็ด)
- ฟอนต์ตัวอักษรธรรมไทย หรือ ขอมไทย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xksrkhxmithy epnxksrphrahmirupaebbhnungthiichekhiyninpraethsithyaelalaw sungichekhiynphasabali snskvt aelaithy xksrdngklawnisamarthphbidinkhmphirthangphraphuththsasna taraya tarakhathaxakhm rupynttang odymakpraktinaethbphakhklang aelaxacphbidbanginphakhitaelaphakhtawnxxkechiyngehnuxkhxngpraethsithyxksrkhxmithyxksrkhxmithyinkhmphirthangphuththsasnachnidxksrsraprakxbchwngyukhpraman kh s 1400 pccubnthisthangsayipkhwaphasaphudbali snskvt ekhmr aelaithyxksrthiekiywkhxngrabbaem a chudtwxksrfiniechiy a chudtwxksraexraemxik a phrahmipllwaekhmrxksrkhxmithyrabbphinxngsuokhthy a tnkaenidesmitikkhxngxksrphrahmiyngimepnthiyxmrbinradbsakl bthkhwamniprakxbdwyinsthxksrsakl IPA sahrbkhaaenanaebuxngtnekiywkbsylksn IPA oprddu sahrbkhwamaetktangrahwang aela duthi sthxksrsakl wngelbehliymaelathbsphthmulwithyainxdit xksrnimichuxwa xksrkhxm khawa khxm mihlaykhwamhmay phcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2545 ihkhwamhmaywa ekhmrobranphyychnaphyychnamithnghmd 35 tw odyaetlatwmithngruptwetmkbtwechinghruxphyychnasxn mikarcdaebngepnwrrkhtamrabbphasasnskvt wrrkh ka k kh kh kh ngwrrkh ca c ch ch ch ywrrkh ta t th th th nwrrkh ta t th th th nwrrkh pa p ph ph ph messwrrkh y r l w ss s h l xxksrithy xksrkhxmithy aelaelkhithy tiphimphinsaranukrmkhxngdiedxortaeladalxngaebrth phaphtnchbbmacakhnngsux Du Royaume de Siam khxng simng edx la luaebr phimphemux kh s 1691 xksrkhxmithyinhnanicdiwinhwkhx Alphabet Bali xkkhrabali aesdngrupxksraelakaraeckluktwsakdtamxkkhrwithikhxmithy rupphyychnaxksrkhxmithynxykwaxksrithy 9 tw odyrupphyychnathikhadip 9 tw khux kh Kh s d d b f f aela h sungkarekhiynkhathimiphyychnathikhadipepndngni tw d ich th hrux t aethn echn ith hrux it id ethakim hrux etakim dxkim tw f ich ph aethn echn phi xachmaythung phi hruxfi khunkbbribth tw s ich ch ch hrux s echn chut rng suxtrng aelwisy aelwisr tw b aela f niymnaruptw p khxngxksrkhxmmaekhiynaethn b aelaephimhangkhunipepnrup tw p swntw f ichruptw ph khxngxksrkhxmmaetimhangechnknepnrup f aetinhlaykrni ruptw p khxngxksrkhxmthngthimihangaelaimmihangmkichpapnkn bangkhrngaethnesiyng p bangkhrngaethnesiyng b echn ebn hrux epn epn ifepha ifepha ruptw f ichxksrkhxm tw ph etimhangechnediywkbtw f echn fay fay tw kh Kh d h immithiich odyich kh kh t aela h aethn phyychnathuktwichepnphyychnatnidthnghmd inkrnikhxngxksrnaaelatwkhwbkla twaerkichruptwetm twtxipichruptweching twsakd mi r niymekhiyndwyruptwechingitphyychnatnhruxsra ewnaetphyychnamirupsrahruxtwkhwbklaxyukhanglangxyuaelwcungichruptwetmsraphrarachlyckrphrabrmrachoxngkarsahrbphimphhwkradasprakaskdhmaytang aebbthiichinchwngkxn ph s 2483 khxkhwaminaephraethbtxnlangsudepnxksrkhxmkhxkhwam ph rabrm mrachoxng kar aebngepnsralxykbsracm rupsralxyichekhiynkhathimiesiyng x mithnghmd 8 tw idaek xa xa xi xixu xu ex ox rupsracmhruxprasmkhlaykbxksrithypccubn thitangipmidngni sraexiy niymekhiyndwytwechingkhxngtw y echn d yw ediyw hruxichthngsra ex xi xi twechingkhxng y echn esiy esiy sraexux mithngaebbthiichrupsra ex xi x echn ephix ephux aela ex xi xu twechingkhxng x echn enguxn enguxn sraexx ichsra ex kbtwechingkhxng x emuximmitwsakd echn ethx ethx aelaichsraex xi twechingkhxng x emuxmitwsakd echn etixm etim hruxtdtwechingkhxng x ichtwechingkhxngtwsakdaethn sraxw ich imhnxakaskbtwechingkhxng w emuximmitwsakd hruxichtwechingkhxng w xyangediywemuxmitwsakd echn t w y dwywrrnyuktrupwrrnyuktkhxngxksrkhxmithymikhwamkhlaykbwrrnyuktkhxngxksrithy odymikarichnganimaennxnmithngthiimetimwrrnyukt ichrupwrrnyukttangcakpccubn hruxichehmuxnknimhnxakasmithngekhiynbnphyychnatnaelatwsakd bangkhrngimichimhnxakasaetephimtwsakdepn 2 twaethn echn wn n wn thng thngkarnaekhakhxmphiwetxrxksrkhxmithyyngimidrbkarbrrculnginyuniokhd aetsamarthichxksrithyaesdngrupxksrkhxmithyid farida wirulhphlidxxkaebbfxntxksrkhxmithysamaebbephuxwtthuprasngkhinkarsxn fxntehlanisamarththaihphuphimphxksrithykhunekhykbxksrkhxmithyerwkhunhnngsuxxanephimxangxingVirunhaphol 2017 pp 154 Igunma 2013 pp 1 Igunma Jana AKSOON KHOOM Khmer Heritage in Thai and Lao Manuscript Cultures a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help khxm phcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2545 subkhnemux 11 mithunayn 2567 Virunhaphol 2017 pp 136 Virunhaphol 2017 pp 111 khxmulVirunhaphol Farida 2017 Designing Khom Thai Letterforms for Accessibility Doctoral dissertation University of Huddersfield PDF a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Igunma Jana 2013 Aksoon Khoom Khmer Heritage in Thai and Lao Manuscript Cultures Tai Culture 23 Route of the Roots Tai Asiatic Cultural Interaction a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help sucitt wngseths xksrithy macakihn kthm mtichn 2548 xnnt xariyphngs xksrkhxm phimphkhrngthi 2 mhawithyalythksin 2546 ihraylaexiydekiywkbkarekhiynaelaxanxksrkhxmithyaelakhxmbali aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xksrkhxmithy tarangxksrkhxmithy prawtixksrkhxmithy 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin xksrkhxmithy ewbistbnthukkhnarimthungplkehmd fxnttwxksrthrrmithy hrux khxmithy