ปลายประสาทรับร้อน หรือ ตัวรับอุณหภูมิ (อังกฤษ: thermoreceptor) เป็นปลายประสาทของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกในผิวหนังและในเยื่อเมือกบางชนิด ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิหรือการแลกเปลี่ยนความร้อนได้ดีที่สุด คือ ตัวรับอุณหภูมิ ไม่ว่าจะรับเย็นหรืออุ่น จะตอบสนองต่ออุณหภูมิโดยเฉพาะ ๆ หรือต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ โดยเป็นฟังก์ชันของการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างผิวหนังกับวัตถุที่สัมผัส และโดยหลักในพิสัยที่ไม่มีอันตราย เพราะโนซิเซ็ปเตอร์รับอุณหภูมิจะเป็นตัวส่งข้อมูลในพิสัยที่อาจเป็นอันตราย
ปลายประสาทรับร้อน (thermoreceptor) | |
---|---|
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก 4 อย่างพร้อมกับตัวรับความรู้สึกที่คู่กัน ปลายประสาทรับร้อนเป็นปลายประสาทอิสระที่แสดงเป็นแบบ A | |
ตัวระบุ | |
MeSH | D013823 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
ในช่วงอุณหภูมิ 31-36°C (32-34°C) ถ้าอุณหภูมิที่ผิวหนังเปลี่ยนอย่างช้า ๆ เราจะไม่รู้สึกอะไร ถ้าต่ำกว่าช่วงนี้ เราจะรู้สึกเย็นไปจนถึงหนาวและเริ่ิมที่ 10-15°C จะรู้สึกหนาวเหน็บ (เจ็บ) และถ้าสูงกว่าช่วงนี้ เราจะรู้สึกอุ่นไปจนถึงร้อนและเริ่มที่ 45°C จะรู้สึกร้อนลวก (เจ็บ) ความรู้สึกอุ่นเย็นที่ไม่เจ็บมาจากตัวรับอุณหภูมิ ส่วนความรู้สึกเจ็บแบบหนาวเหน็บ/ร้อนลวกมาจากโนซิเซ็ปเตอร์ที่รับอุณหภูมิ (thermal nociceptor)
ตัวรับอุณหภูมิที่ผิวหนังเชื่อว่าเป็นใยประสาทใน 3 กลุ่ม ทั้งหมดเป็นแบบปรับตัวช้า ๆ (slowly adapting) คือ ตัวรับเย็นสองชนิดที่มีใยประสาทในกลุ่ม A delta และกลุ่ม C และตัวรับอุ่นหนึ่งชนิดที่มีใยประสาทในกลุ่ม C
ความอุ่นขึ้นเป็นสิ่งเร้าที่พอกระตุ้นตัวรับอุ่น ซึ่งจะเพิ่มอัตราการยิงศักยะงานของนิวรอน และความอุ่นที่ลดลงก็จะลดอัตราการยิงศักยะงาน สำหรับตัวรับเย็น อัตราการยิงศักยะงานจะสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง และจะต่ำลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น บางครั้งตัวรับเย็นปรากฏว่าตอบสนองต่อความร้อน (เช่นที่ 46°C) และตัวรับร้อนตอบสนองต่อความเย็น (เช่นที่ 16°C) ซึ่งเป็นการตอบสนองแบบขัดแย้ง (paradoxical response) แต่กลไกที่ทำให้มีการตอบสนองเยี่ยงนี้ก็ยังระบุไม่ได้
ในมนุษย์ ความรู้สึกอุ่นเย็นจะส่งไปสู่คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (postcentral gyrus) ผ่านวิถีประสาทสองระบบ คือ
- จากร่างกายทั้งหมดรวมทั้งศีรษะครึ่งหลัง จะส่งผ่านไขสันหลังในระบบ anterolateral system/spinothalamic tract
- จากศีรษะด้านหน้ารวมทั้งใบหน้า จะส่งผ่านก้านสมองในระบบ
ตัวรับอุณหภูมิแบบพิเศษยังพบในงูบางชนิด เช่น งูในวงศ์งูแมวเซา (Viperidae) มีอวัยวะเหนือปากที่เรียกว่า pit organs ซึ่งมีตัวรับอุณหภูมิที่ไวความร้อนซึ่งเกิดจากการแผ่รังสีอินฟราเรด ซึ่งเมื่อบวกกับการเห็น ช่วยให้งูสามารถรับรู้สิ่งแวดล้อมและเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวตลอด 24 ชม. ช่วยหาเหยื่อที่เป็นสัตว์เลือดอุ่น และช่วยหาที่อุ่น ๆ เพื่อพักและทำรัง
โครงสร้าง
ตัวรับอุณหภูมิได้พรรณนามาโดยดั้งเดิมว่า เป็นปลายประสาทอิสระที่ไม่มีอะไรพิเศษ แต่กลไกการทำงานตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิก็ยังไม่ชัดเจนทั้งหมด
ใยประสาทรับอุณหภูมิ 3 อย่าง
ตัวรับอุณหภูมิที่ผิวหนังเชื่อว่าเป็นใยประสาทใน 3 กลุ่ม ทั้งหมดเป็นแบบปรับตัวช้า ๆ (slowly adapting) มีลานรับสัญญาณแบบเป็นจุด โดยตัวรับเย็นมีทั้งตัวเซลล์ทั้งใยประสาทมากกว่าตัวรับอุ่น คือ
- ตัวรับเย็น เป็นใยประสาทกลุ่ม A delta และกลุ่ม C ทั้งสองชนิดตอบสนองต่อสารเคมีบางชนิด เช่น เมนทอล ที่ทำให้รู้สึกเย็น
- กลุ่ม A delta - พบในหนังกำพร้า มีปลอกไมอีลินบาง ๆ (เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-6 ไมโครเมตร) จึงสื่อประสาทได้เร็วกว่า (4-36 เมตรต่อวินาที) มีขีดเริ่มเปลี่ยนต่ำและไวต่อการเปลี่ยนลดอุณหภูมิอย่างฉับพลันมากกว่าค่อย ๆ เปลี่ยนถึง 100 เท่า ทำให้สามารถรู้สึกลมพัดจากหน้าต่างที่ไกล ๆ มีการแสดงออกของช่องไอออน TRPM8
- กลุ่ม B - พบในหนังกำพร้า ไร้ปลอกไมอีลิน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.2-1.5 ไมโครเมตร) จึงสื่อประสาทได้ช้ากว่า (0.4-2 เมตร/วินาที) มีขีดเริ่มเปลี่ยนสูงแต่สามารถส่งสัญญาณการเปลี่ยนอุณหภูมิแบบฉับพลันแม้ต่ำกว่า 0°C มีการแสดงออกของช่องไอออน TRPM8 และ TRPA1
- ตัวรับอุ่น ตอบสนองต่อสารเคมีบางชนิด เช่น การบูร
- กลุ่ม C - พบในหนังแท้ด้านบน (ลึกกว่าตัวรับเย็น) ไร้ปลอกไมอีลิน จึงสื่อประสาทได้ช้า ไวต่อการเปลี่ยนอุณหภูมิน้อยกว่าตัวรับเย็น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสำหรับคนไวสุดต้องอย่างน้อย 0.1°C ใยประสาทจะตอบสนองตามความอุ่นอย่างเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงจุดร้อนลวก แล้วก็จะตอบสนองแบบอิ่มตัวโดยไม่เพิ่มขึ้นอีก มีการแสดงออกของช่องไอออน TRPV3
หน้าที่ ตำแหน่ง และการกระจายตัว
ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ตัวรับอุณหภูมิจะอยู่ในเนื้อเยื่อต่าง ๆ รวมทั้งผิวหนัง (cutaneous receptor) กระจกตา และกระเพาะปัสสาวะ ตัวรับอุณหภูมิทั้งแบบอุ่นแบบเย็น มีบทบาทในการรับรู้อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีอันตราย อุณหภูมิในระดับที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต จะตรวจจับด้วยโนซิเซ็ปเตอร์แบบต่าง ๆ ที่อาจตอบสนองต่อความเย็นอันตราย ความร้อนอันตราย หรือสิ่งเร้าที่เป็นอันตรายหลายรูปแบบ (คือโนซิเซ็ปเตอร์หนึ่งอาจตอบสนองต่อสิ่งเร้าหลายรูปแบบ เพราะเป็น polymodal)
ปลายประสาทที่มักตอบสนองต่อความเย็นอยู่ที่ผิวหนังอย่างหนาแน่นระดับกลาง ๆ แต่มีอย่างหนาแน่นที่กระจกตา ลิ้น กระเพาะปัสสาวะ และผิวหนังใบหน้า คาดว่า ตัวรับความเย็นที่ลิ้นจะส่งข้อมูลที่ควบคุมการรับรสชาติ คือ อาหารบางอย่างจะอร่อยเมื่อเย็น บางอย่างก็ไม่อร่อย
ตัวรับอุณหภูมิที่ไวความเย็น จะทำให้รู้สึกเย็น หนาว และสดชื่น ส่วนที่กระจกตา ตัวรับอุณหภูมิเชื่อว่า ตอบสนองต่อความเย็นจากการระเหยของน้ำตาด้วยอัตราการยิงศักยะงานที่ถี่ขึ้น แล้วทำให้เกิดรีเฟล็กซ์กะพริบตา
ตัวรับอุณหภูมิที่มือช่วยให้รู้สึกความร้อนเย็นของวัตถุที่สัมผัส และตัวรับอุณหภูมิที่ผิวหนังที่มีขน มีบทบาทในกระบวนการปรับอุณหภูมิกาย คือ
- ปลายประสาทที่ผิวหนังจะส่งข้อมูลความเย็นร้อนไปยังสมอง ซึ่งส่งสัญญาณให้เส้นเลือดตีบเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนของร่างกายถ้าหนาว หรือให้เส้นเลือดขยายเพื่อเพิ่มการถ่ายเทความร้อนถ้าร้อน ถ้านี่ยังไม่ทำให้เป็นปกติ สมองก็จะส่งสัญญาณให้เหงื่อออก ให้ขนลุก (ซึ่งไม่ช่วยอะไรในมนุษย์) ให้ตัวสั่น ให้เพิ่มเมแทบอลิซึมในฤดูหนาว และสนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมที่ปรับความร้อนเย็น เช่น ใส่เสื้อผ้ามากขึ้น หลบออกจากแดดเป็นต้น
- บริเวณ preoptic ของไฮโปทาลามัสในสมองที่อยู่ก่อนส่วนไขว้ประสาทตา (optic chiasm) ทำหน้าที่เป็นตัวรับอุณหภูมิจากเลือด โดยได้รับสัญญาณจากตัวรับอุณหภูมิที่ผิวหนังด้วย แล้วส่งสัญญาณไปในบริเวณสมองอื่นที่ลดหรือเพิ่มการเสียความร้อนของร่างกายดังกล่าวในข้อแรก โดยเป็นกระบวนการป้อนกลับแบบลบ
ที่กระเพาะปัสสาวะ
ในกระเพาะปัสสาวะ ช่องไอออนที่อำนวยการรับรู้อุณหภูมิพบอยู่ในที่ต่าง ๆ รวมทั้ง (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับช่องไอออนในหัวข้อ "ช่องไอออนกลุ่ม TRP")
- TRPV1 - มีตลอดวิถีประสาทนำเข้ารวมทั้ง Urothelial cells ซึ่งบุ Urinary tract, ปลายส่วนนอก (peripheral terminal) ของใยประสาทนำเข้าที่อยู่ใกล้ ๆ กับ Urothelial cell, ตัวนิวรอนในปมประสาทรากหลัง (dorsal root ganglion) ที่มีใยประสาทขนาดเล็กจนถึงกลาง, ปลายส่วนกลาง (central terminal) ของใยประสาทนำเข้า, และในปีกหลังของไขสันหลัง (dorsal horn) ชั้นแรก ๆ
- TRPV1 ในใยประสาทกลุ่ม C ที่ตรวจจับการพองของกระเพาะ (เป็นตัวรับแรงกลแบบยืดหด) หรือสารเคมีที่ระคายเคือง
- TRPV2, TRPV4, TRPM8, และ TRPA1 ใน Urothelial cells
แต่ว่า ช่องไอออนเหล่านี้อาจมีบทบาทอื่น ๆ นอกจากการรับรู้อุณหภูมิรวมทั้ง
- TRPV1 มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับโนซิเซ็ปชันและการทำงานเป็นปกติของกระเพาะปัสสาวะ
- TRPV1 ใน Urothelial cells สัมพันธ์กับระดับแคลเซียมในเซลล์ที่สูงขึ้นและการปล่อยสารสื่อประสาทต่าง ๆ
- ในนิวรอน TRPV1 เชื่อว่ามีหน้าที่รวบรวมหรือเพิ่มการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ และมีบทบาทสำคัญในภาวะรู้สึกเจ็บมากกว่าปรกติที่เกิดจากการอักเสบ
- แม้ว่าการแสดงออกของช่อง TRPV2, TRPV4, TRPM8, และ TRPA1 จะแสดงนัยว่า Urothelial cells มีการรับรู้อุณหภูมิ แต่ว่า บทบาทหลักความจริงอาจเป็นเพื่อตรวจจับสิ่งเร้าอันตราย (noxious stimuli)
- นอกจากนั้น TRPM8 อาจมีบทบาทเกี่ยวกับการเพิ่มจำนวนเซลล์อีกด้วย
กลไกการถ่ายโอนสัญญาณประสาท
งานวิจัยเรื่องนี้ได้รับความสนใจมากขึ้นเมื่อมีการระบุและการโคลนหมู่โปรตีน Transient Receptor Potential (TRP) เพราะช่อง TRPM8 เป็นตัวอำนวยการถ่ายโอนอุณหภูมิให้เป็นสัญญาณประสาทในตัวรับอุณหภูมิแบบเย็น ช่องไอออนนี้อนุญาตแคตไอออนแบบผสมให้ผ่านเข้าไปในเซลล์ประสาทได้ (โดยหลักเป็นไอออน Na+ แม้ Ca2+ ก็จะเข้าได้ด้วย) ในระดับมากน้อยโดยเป็นสัดส่วนผกผันกับอุณหภูมิ
ช่องนี้ไวต่ออุณหภูมิระหว่าง 8-28°C แต่ก็อาจทำงานเนื่องจากการยึดกับลิแกนด์นอกเซลล์ เช่น เมนทอล/การบูรอาจเริ่มการทำงานของช่อง TRPM8 แต่เนื่องจากโปรตีน TRPM8 มีการแสดงออกในนิวรอนที่ส่งสัญญาณความเย็น การบูรบนผิวหนังจึงทำให้รู้สึกเย็น ความรู้สึกสดชื่นยังสัมพันธ์กับการทำงานของตัวรับความเย็นเนื่องจากการบูร โดยเฉพาะที่ใบหน้าซึ่งมีแอกซอนของเส้นประสาทไทรเจมินัล (V) นี่เป็นเหตุของการใส่เมนทอล/การบูรในเครื่องอาบน้ำต่าง ๆ รวมทั้งยาสีฟัน โลชั่นโกนหนวด ครีมทาหน้า เป็นต้น
องค์ประกอบอีกอย่างของการถ่ายโอนความเย็น ก็คือ ช่องรั่ว (leak channel) ซึ่งปล่อยให้กระแสไฟคือประจุไอออนโพแทสเซียมไหลออกโดยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ช่องรั่วบางส่วนเป็นอนุพันธุ์ของ "Tandem pore domain potassium channel" และในบรรดาช่องเหล่านี้ บางชนิดจะปิดทันทีเมื่ออุณหภูมิลดลงน้อยกว่า 28°C (เช่น TRAAK, TREK) อนึ่ง อุณหภูมิยังควบคุมการทำงานของ Na+/K+-ATPase ด้วย ซึ่งเป็นปั๊มแบบ P-type ที่ปั๊มไอออน 3Na+ ออกจากเซลล์แลกเปลี่ยนกับไอออน 2K+ โดยได้พลังงานจากการแยก ATP ที่อาศัยน้ำ ผลก็คือการไหลของประจุบวกออกจากเซลล์โดยสุทธิ คือ เป็นกระแสไฟฟ้าแบบเพิ่มขั้ว (hyperpolarizing) ซึ่งทำให้เซลล์กระตุ้นได้ยากขึ้น โดยระดับกระแสไฟจะขึ้นอยู่กับอัตราการปั๊ม
มีนักวิชาการที่เสนอว่า นิวรอนต้องอาศัยโปรตีนไวอุณหภูมิต่าง ๆ รวมกันเพื่อสร้างตัวรับอุณหภูมิคุณสมบัติแบบอุบัติ (emergence) ของนิวรอนเช่นนี้เชื่อว่าประกอบด้วยการแสดงออกของโปรตีนดังที่กล่าวแล้ว พร้อมกับช่องไวความต่างศักย์ (voltage-sensitive channel) ต่าง ๆ รวมทั้งช่อง HCN (hyperpolarization-activated cyclic nucleotide-gated), และช่อง IKA (rapidly activating and inactivating transient potassium channel)
ช่องไอออนกลุ่ม TRP
งานวิจัยปี 2544 พบว่าความร้อนเย็นจะกระตุ้นช่องไอออนกลุ่ม TRP (Transient potential receptor) ซึ่งให้แคตไอออนซึมผ่านได้อย่างไม่เลือก (รวมทั้งแคลเซียมและแมกนีเซียม) และมีโครงสร้างคล้ายกับช่องที่เปิดปิดด้วยศักย์ไฟฟ้า (voltage-gated channel) โดยช่อง TRP แต่ละอย่างจะไวความเย็นร้อนต่าง ๆ กัน คือ เมื่อถึงขีดเริ่มเปลี่ยนทางอุณหภูมิ ช่องก็จะเปิดให้แคตไอออนไหลผ่านเข้ามากขึ้น
ช่องไอออน | อุณหภูมิ (°C) | สาร/เคมี | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
TRPA1 | <17 | กระเทียม (allicin), ผักกาด (allyl isothiocyanate), icilin, ขิง (gingerol), cinnamic aldehyde, เมทิลซาลิไซเลต, ยูเจนอล (น้ำมันกานพลู) | พบในตัวรับเย็นที่มีขีดเริ่มเปลี่ยนสูง |
TRPM8 | 8-28 | เมนทอล, พืชวงศ์กะเพรา (กะเพรา โหระพา แมงลักเป็นต้น), icilin | พบในตัวรับเย็นทั้งมีขีดเริ่มเปลี่ยนสูงและต่ำ |
TRPV4 | >27 | กรด | รับรู้สัมผัส/แรงกล |
TRPV3 | >31/39 | การบูร, ยูเจนอล, carvacrol, thymol | พบในตัวรับอุ่น |
TRPV1 | >43 | แคปไซซิน (จากพริก), กรด, Anandamide, resiniferatoxin, เอทานอล, ยูเจนอล | พบในโนซิเซ็ปเตอร์รับร้อนทั้งแบบ Aδ และ C |
TRPV2 | >52 | - | พบในโนซิเซ็ปเตอร์รับร้อนแบบ Aδ ทำให้รู้สึกร้อนลวก |
ช่อง TRPM8 และ TRPA1 ที่เปิดเมื่อเย็นลงและปิดเมื่ออุ่นขึ้น ทั้งสองมีการแสดงออกที่ปลายประสาทรับเย็นที่มีขีดเริ่มเปลี่ยนสูง แต่ปลายประสาทรับเย็นที่มีขีดเริ่มเปลี่ยนต่ำจะมีเพียงแค่ช่อง TRPM8 เท่านั้น ส่วนปลายประสาทรับอุ่นมีช่อง TRPV3
วิถีประสาท
- ดูเทียบกับ "(วิถีประสาทของระบบรับความรู้สึกทางกาย)"
ในมนุษย์ ความรู้สึกร้อนเย็น (รวมทั้งแบบหนาวเหน็บร้อนลวก) จะส่งไปสู่ทาลามัสแล้วสู่เปลือกสมองส่วนต่าง ๆ ผ่านวิถีประสาทสองระบบ คือ
- ส่งข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งอุณหภูมิที่มาจากศีรษะส่วนหน้ารวมทั้งใบหน้า ผ่านก้านสมองไปยังทาลามัส แล้วต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของเปลือกสมอง โดย first order neuron อยู่ที่ปมประสาทของเส้นประสาทสมอง (รวมทั้ง trigeminal [V], facial [VII], glossopharyngeal [IX], และ vagus [X]) ซึ่งส่งแอกซอนลงไปยัง second order neuron ใน medulla ซีกร่างกายเดียวกันที่ spinal trigeminal nucleus ซึงก็จะส่งแอกซอนข้ามไขว้ทแยง medulla ไปสุดที่ทาลามัสส่วน ventral posterior medial nucleus (VPM)
- anterolateral system/spinothalamic tract ส่งข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งอุณหภูมิจากร่างกายรวมศีรษะครึ่งหลัง ผ่านไขสันหลังไปยังทาลามัส แล้วต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของเปลือกสมอง โดย first order neuron อยู่ที่ปมประสาทรากหลัง (dorsal root ganglion) ซึ่งส่งแอกซอนขึ้น/ลงผ่าน Lissauer's tract 1-2 ข้อไขสันหลังไปยัง second order neuron ในปีกหลังของไขสันหลัง (dorsal horn) ในซีกร่างกายเดียวกันแต่อยู่ต่างระดับไขสันหลังกัน second order neuron ก็จะส่งแอกซอนข้ามไขว้ทแยงที่ไขสันหลังแล้วขึ้นไปตาม anterolateral column/spinothalamic tract ไปยังทาลามัสส่วน ventral posteriorlateral nucleus (VPL)
ให้สังเกตว่า เนื่องจากว่า เป้าหมายในทาลามัสของความรู้สึกร้อนเย็นมาจากการอนุมานที่เนื่องกับวิถีประสาทของความเจ็บปวด จึงยังไม่มติร่วมกันว่า ส่วนไหนของทาลามัสเป็นเป้าหมายของความรู้สึกร้อนเย็นกันแน่ นอกจากที่ส่วน VPMและ VPL ตามที่ว่าแล้ว ยังมีนักวิชาการที่กำหนดเขตต่อไปนี้ คือ
- ใยประสาทจาก lamina I (รวมทั้งจากตัวรับอุณหภูมิทั้งสามอย่าง) ของ dorsal horn ไปสุดที่ส่วนหลังของ VPN และส่วนหลังของ ventral medial nucleus ที่อยู่ติดกัน
- ใยประสาทจาก lamina I (รวมทั้งจากตัวรับอุณหภูมิทั้งสามอย่าง) ของ dorsal horn ไปสุดที่ VMpo (ventromedial posterior nucleus) ที่อยู่ทาง medial ของ VPL
งานศึกษาโดยใช้ fMRI พบว่า เปลือกสมองส่วนต่าง ๆ จะทำงานเมื่อมนุษย์ได้ตัวกระตุ้นร้อนเย็น รวมทั้ง superior parietal lobule, insular cortex, และ orbitofrontal cortex
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถ
- 32-40°C
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "thermoreceptor", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕,
(แพทยศาสตร์) ปลายประสาทรับร้อน
- Purves et al 2008, Glossary, หน้า G-15 "thermoreceptors - Receptors specialized to transduce changes in temperature."
- Saladin 2010, pp. 1197 "thermoreceptor - A neuron specialized to respond to heat or cold, found in the skin and mucous membranes, for example."
- Rice & Albrecht 2008, Glossary, pp. 3 "thermoreceptor - A sensory ending that that responds optimally to heat exchange"
- Rice & Albrecht 2008, 6.01.1.3.1. (ii) Stimulus modality, pp. 5
- Willis 2008, 6.06.2.2 Thermoreceptive Circuits, pp. 94-95 ในเรื่องการเชื่อมต่อของ lamina I STT กับ VMpo ที่อยู่ทาง medial ของ VPL อ้าง
- Craig, AD; Bushnell, MC; Zhang, ET; Blomqvist, A (1994). "A thalamic nucleus specific for pain and temperature sensation". Nature. 372: 770–773.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Blomqvist, A; Zhang, ET; Craig, AD (2000). "Cytoarchitecture and immunohistochemical characterization of a specific pain and temperature relay, the posterior portion of the ventral medial nucleus, in the human thalamus". Brain. 123: 601–619.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Craig, AD (2004). "Distribution of trigeminothalamic and spinothalamic lamina I terminations in the macaque monkey". J. Comp. Neurol. 477: 119–148.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
- Craig, AD; Bushnell, MC; Zhang, ET; Blomqvist, A (1994). "A thalamic nucleus specific for pain and temperature sensation". Nature. 372: 770–773.
- Gardner & Johnson 2013a, p. 486 อ้างอิง
- Julius, D; Basbaum, AI (2001). "Molecular mechanisms of noiception". Nature. 413: 203–210.
- Krantz 2012, Receptors, pp. 12.2-12.4 อ้างอิง
- Somino, R; Dubner, R (1981). "Response characteristics of specific thermoreceptive afferents innervating monkey facial skin and their relationship to human thermal sensitivity". Brain Research Reviews. 3 (2): 105–122.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
- Somino, R; Dubner, R (1981). "Response characteristics of specific thermoreceptive afferents innervating monkey facial skin and their relationship to human thermal sensitivity". Brain Research Reviews. 3 (2): 105–122.
- Gardner & Johnson 2013a, p. 488-495
- Johnson 2008, 6.16.2.4 Heat-Sensory Pit Organs of Snakes, p. 334-335
- Gardner & Johnson 2013a, p. 477, 486-487
- Johnson 2008, 6.16.2 Thermal Sensory Systems, p. 332-335
- Goodwin & Wheat 2008, 6.03.1 Introduction, p. 39
- Saladin 2010, Chapter 6 - The Integumentary System, pp. 189 (205)
- Saladin 2010, Chapter 26 - Nutrition and Metabolism, pp. 1040 (1056)
- Birder 2008, 5.40.1.1 Sensor Molecules Expressed in Urothelium Which Could Contribute to Bladder Pain, pp. 585-587 อ้างอิง
- เกี่ยวกับบทบาทของ TRPV1 ในโนซิเซ็ปชันและการทำงานเป็นปกติของกระเพาะปัสสาวะ
- Szallasi, A (2001). "Vanilloid receptor ligands: hopes and realities for the future". Drugs Aging. 18: 561–573.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
- Szallasi, A (2001). "Vanilloid receptor ligands: hopes and realities for the future". Drugs Aging. 18: 561–573.
- เกี่ยวกับ TRPV1 ที่ Urothelial cells
- Birder, L; Kanai, AJ; de Groat, WC; Kiss, S; Nealen, ML; Burke, NE; Dineley, KE; Watkins, S; Reynolds, IJ; Caterina, MJ (2001). "Vanilloid receptor expression suggests a sensory role for urinary bladder epithelial cells". Proc. Natl. Acad. Sci. U. S. A. 98: 13396–13401.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Birder, L; Nakamura, Y; Kiss, S; Nealen, ML; Barrick, SR; Kanai, AJ; Wang, E; Ruiz, WG; de Groat, WC; Apodaca, G; Watkins, S; Caterina, MJ (2002a). "Altered urinary bladder function in mice lacking the vanilloid receptor TRPV1". Nat. Neurosci. 5: 856–860.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
- Birder, L; Kanai, AJ; de Groat, WC; Kiss, S; Nealen, ML; Burke, NE; Dineley, KE; Watkins, S; Reynolds, IJ; Caterina, MJ (2001). "Vanilloid receptor expression suggests a sensory role for urinary bladder epithelial cells". Proc. Natl. Acad. Sci. U. S. A. 98: 13396–13401.
- เกี่ยวกับบทบาทของ TRPV1 ในนิวรอน
- Ghuang, HH; Prescott, ED; Kong, H; Shields, S; Jordt, SE; Basbaum, AI; Chao, MV; Julius, D (2001). "Bradykinin and nerve growth factor release the capsaicin receptor from PtdIns (4,5)P 2-mediated inhibition". Nature. 411: 957–962.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Holzer, P (2004). "TRPV1 and the gut: from a tasty receptor for a painful vanilloid to a key player in hyperalgesia". Eur. J. Pharmacol. 500: 231–241.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
- Ghuang, HH; Prescott, ED; Kong, H; Shields, S; Jordt, SE; Basbaum, AI; Chao, MV; Julius, D (2001). "Bradykinin and nerve growth factor release the capsaicin receptor from PtdIns (4,5)P 2-mediated inhibition". Nature. 411: 957–962.
- เกี่ยวกับบทบาทของ TRPV1 ในโนซิเซ็ปชันและการทำงานเป็นปกติของกระเพาะปัสสาวะ
- Viana F, de la Peña E, Belmonte C (2002). "Specificity of cold thermotransduction is determined by differential ionic channel expression". . 5 (3): 254–260. doi:10.1038/nn809. PMID 11836533. S2CID 21291629.
- Johnson 2008, 6.16.2.1 Receptor Structure and Function, p. 333
- Gardner & Johnson 2013a, Thermo Receptors Detect Changes in Skin Temperature, pp. 485-486; Figure 22-8, pp. 487
- Lackie, JM (2007). The Dictionary of Cell and Molecular Biology (4th ed.). Elsevier. TRP Channels, p. 433. ISBN .
Capsaicin and resiniferatoxin are agonists for TRPV1, menthol for TRPM8 (cold receptor), and icilin for both TRPM8 and TRPA1.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Simons & Carstens 2008, Table 1 Thermo- and chemosensitive transient receptor potentials (TRPs), p. 350
- Beisel et al 2008, 3.05.2.1.1 The transient receptor potential superfamily, p. 86
- Purves et al 2008b, Box 10A - Capsaisin, pp. 234
- Purves et al 2008b, Transduction of Nociceptive Signals, pp. 233
- Purves et al 2008b, pp. 241–242
- Purves et al 2008b, p. 233-238, 242
- Gardner & Johnson 2013a, p. 494-495
แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ
- Krantz, John H. (2012). "12 Skin Senses". Experiencing Sensation and Perception (PDF). Pearson Education. (pre-printed files)
- Saladin, KS (2010). Anatomy and Physiology: The Unity of Form and Function (5th ed.). New York: McGraw-Hill. ISBN .
- Neuroscience (2008)
- Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; McNamara, James O; White, Leonard E, บ.ก. (2008b). "10 - Pain". Neuroscience (4th ed.). Sinauer Associates. pp. 231–251. ISBN .
- Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; McNamara, James O; White, Leonard E, บ.ก. (2008). Neuroscience (4th ed.). Sinauer Associates. ISBN .
- Principles of Neural Science (2013)
- Gardner, Esther P; Johnson, Kenneth O (2013a). "22 - The Somatosensory System: Receptors and Central Pathway". ใน Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ (บ.ก.). Principles of Neural Science (5th ed.). United State of America: McGraw-Hill. pp. 475–497. ISBN .
- Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; McNamara, James O; White, Leonard E, บ.ก. (2008a). "9 - The Somatic Sensory System: Touch and Proprioception". Neuroscience (4th ed.). Sinauer Associates. pp. 207–229. ISBN .
- The Senses: A Comprehensive Reference (2008)
- Beisel, KW; He, D; Hallworth, R; Fritzsch, B (2008). Dallos, Peter; Oertel, Donata (บ.ก.). 3.05 Genetics of Mechanoreceptor Evolution and Development. The Senses: A Comprehensive Reference. Vol. 3: Audition. Elsevier.
- Simons, CT; Carstens, E (2008). Firestein, Stuart; Beauchamp, Gary K (บ.ก.). 4.18 Oral Chemesthesis and Taste. The Senses: A Comprehensive Reference. Vol. 4: Olfaction & Taste. Elsevier.
- Birder, LA (2008). Bushnell, M Catherine; Basbaum, Allan I (บ.ก.). 5.40 Urothelium as a Pain Organ. The Senses: A Comprehensive Reference. Vol. 5: Pain. Elsevier.
- Rice, FL; Albrecht, PJ (2008). Kaas, JH; Gardner, EP (บ.ก.). 6.01 Cutaneous Mechanisms of Tactile Perception: Morphological and Chemical Organization of the Innervation to the Skin. The Senses: A Comprehensive Reference. Vol. 6: Somatosensation. Elsevier.
- Goodwin, AW; Wheat, HE (2008). Kaas, JH; Gardner, EP (บ.ก.). 6.03 Physiological Responses of Sensory Afferents in Glabrous and Hairy Skin of Humans and Monkeys. The Senses: A Comprehensive Reference. Vol. 6: Somatosensation. Elsevier.
- Willis, WD (Jr) (2008). Kaas, JH; Gardner, EP (บ.ก.). 6.06 Physiological Characteristics of Second-Order Somatosensory Circuits in Spinal Cord and Brainstem. The Senses: A Comprehensive Reference. Vol. 6: Somatosensation. Elsevier.
- Johnson, JI (2008). Kaas, JH; Gardner, EP (บ.ก.). 6.16 Specialized Somatosensory Systems. The Senses: A Comprehensive Reference. Vol. 6: Somatosensation. Elsevier.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
playprasathrbrxn hrux twrbxunhphumi xngkvs thermoreceptor epnplayprasathkhxngesllprasathrbkhwamrusukinphiwhnngaelaineyuxemuxkbangchnid thitxbsnxngtxkarepliynaeplngkhxngxunhphumihruxkaraelkepliynkhwamrxniddithisud khux twrbxunhphumi imwacarbeynhruxxun catxbsnxngtxxunhphumiodyechphaa hruxtxkarepliynaeplngkhxngxunhphumi odyepnfngkchnkhxngkaraelkepliynkhwamrxnrahwangphiwhnngkbwtthuthismphs aelaodyhlkinphisythiimmixntray ephraaonsiespetxrrbxunhphumicaepntwsngkhxmulinphisythixacepnxntrayplayprasathrbrxn thermoreceptor esllprasathrbkhwamrusuk 4 xyangphrxmkbtwrbkhwamrusukthikhukn playprasathrbrxnepnplayprasathxisrathiaesdngepnaebb AtwrabuMeSHD013823 aekikhbnwikisneths inchwngxunhphumi 31 36 C 32 34 C thaxunhphumithiphiwhnngepliynxyangcha eracaimrusukxair thatakwachwngni eracarusukeynipcnthunghnawaelaeriimthi 10 15 C carusukhnawehnb ecb aelathasungkwachwngni eracarusukxunipcnthungrxnaelaerimthi 45 C carusukrxnlwk ecb khwamrusukxuneynthiimecbmacaktwrbxunhphumi swnkhwamrusukecbaebbhnawehnb rxnlwkmacakonsiespetxrthirbxunhphumi thermal nociceptor twrbxunhphumithiphiwhnngechuxwaepniyprasathin 3 klum thnghmdepnaebbprbtwcha slowly adapting khux twrbeynsxngchnidthimiiyprasathinklum A delta aelaklum C aelatwrbxunhnungchnidthimiiyprasathinklum C khwamxunkhunepnsingerathiphxkratuntwrbxun sungcaephimxtrakaryingskyangankhxngniwrxn aelakhwamxunthildlngkcaldxtrakaryingskyangan sahrbtwrbeyn xtrakaryingskyangancasungkhunemuxxunhphumildlng aelacatalngemuxxunhphumisungkhun bangkhrngtwrbeynpraktwatxbsnxngtxkhwamrxn echnthi 46 C aelatwrbrxntxbsnxngtxkhwameyn echnthi 16 C sungepnkartxbsnxngaebbkhdaeyng paradoxical response aetklikthithaihmikartxbsnxngeyiyngnikyngrabuimid inmnusy khwamrusukxuneyncasngipsukhxrethksrbkhwamrusukthangkay postcentral gyrus phanwithiprasathsxngrabb khux cakrangkaythnghmdrwmthngsirsakhrunghlng casngphanikhsnhlnginrabb anterolateral system spinothalamic tract caksirsadanhnarwmthngibhna casngphankansmxnginrabb twrbxunhphumiaebbphiessyngphbinngubangchnid echn nguinwngsnguaemwesa Viperidae mixwywaehnuxpakthieriykwa pit organs sungmitwrbxunhphumithiiwkhwamrxnsungekidcakkaraephrngsixinfraerd sungemuxbwkkbkarehn chwyihngusamarthrbrusingaewdlxmaelaehtukarnthikalngekidkhunrxb twtlxd 24 chm chwyhaehyuxthiepnstweluxdxun aelachwyhathixun ephuxphkaelatharngokhrngsrangtwrbxunhphumiidphrrnnamaodydngedimwa epnplayprasathxisrathiimmixairphiess aetklikkarthangantxbsnxngtxkarepliynaeplngkhxngxunhphumikyngimchdecnthnghmdiyprasathrbxunhphumi 3 xyangtwrbxunhphumithiphiwhnngechuxwaepniyprasathin 3 klum thnghmdepnaebbprbtwcha slowly adapting milanrbsyyanaebbepncud odytwrbeynmithngtwesllthngiyprasathmakkwatwrbxun khux twrbeyn epniyprasathklum A delta aelaklum C thngsxngchnidtxbsnxngtxsarekhmibangchnid echn emnthxl thithaihrusukeyn klum A delta phbinhnngkaphra miplxkimxilinbang esnphasunyklang 1 6 imokhremtr cungsuxprasathiderwkwa 4 36 emtrtxwinathi mikhiderimepliyntaaelaiwtxkarepliynldxunhphumixyangchbphlnmakkwakhxy epliynthung 100 etha thaihsamarthrusuklmphdcakhnatangthiikl mikaraesdngxxkkhxngchxngixxxn TRPM8 klum B phbinhnngkaphra irplxkimxilin esnphasunyklang 0 2 1 5 imokhremtr cungsuxprasathidchakwa 0 4 2 emtr winathi mikhiderimepliynsungaetsamarthsngsyyankarepliynxunhphumiaebbchbphlnaemtakwa 0 C mikaraesdngxxkkhxngchxngixxxn TRPM8 aela TRPA1 twrbxun txbsnxngtxsarekhmibangchnid echn karbur klum C phbinhnngaethdanbn lukkwatwrbeyn irplxkimxilin cungsuxprasathidcha iwtxkarepliynxunhphuminxykwatwrbeyn karepliynaeplngxunhphumisahrbkhniwsudtxngxyangnxy 0 1 C iyprasathcatxbsnxngtamkhwamxunxyangephimkhuneruxy cnthungcudrxnlwk aelwkcatxbsnxngaebbximtwodyimephimkhunxik mikaraesdngxxkkhxngchxngixxxn TRPV3hnathi taaehnng aelakarkracaytwinstweliynglukdwynm twrbxunhphumicaxyuinenuxeyuxtang rwmthngphiwhnng cutaneous receptor krackta aelakraephaapssawa twrbxunhphumithngaebbxunaebbeyn mibthbathinkarrbruxunhphumikhxngsingaewdlxmthiimmixntray xunhphumiinradbthiepnxntraytxsingmichiwit catrwccbdwyonsiespetxraebbtang thixactxbsnxngtxkhwameynxntray khwamrxnxntray hruxsingerathiepnxntrayhlayrupaebb khuxonsiespetxrhnungxactxbsnxngtxsingerahlayrupaebb ephraaepn polymodal playprasaththimktxbsnxngtxkhwameynxyuthiphiwhnngxyanghnaaennradbklang aetmixyanghnaaennthikrackta lin kraephaapssawa aelaphiwhnngibhna khadwa twrbkhwameynthilincasngkhxmulthikhwbkhumkarrbrschati khux xaharbangxyangcaxrxyemuxeyn bangxyangkimxrxy twrbxunhphumithiiwkhwameyn cathaihrusukeyn hnaw aelasdchun swnthikrackta twrbxunhphumiechuxwa txbsnxngtxkhwameyncakkarraehykhxngnatadwyxtrakaryingskyanganthithikhun aelwthaihekidrieflkskaphribta twrbxunhphumithimuxchwyihrusukkhwamrxneynkhxngwtthuthismphs aelatwrbxunhphumithiphiwhnngthimikhn mibthbathinkrabwnkarprbxunhphumikay khux playprasaththiphiwhnngcasngkhxmulkhwameynrxnipyngsmxng sungsngsyyanihesneluxdtibephuxldkarthayethkhwamrxnkhxngrangkaythahnaw hruxihesneluxdkhyayephuxephimkarthayethkhwamrxntharxn thaniyngimthaihepnpkti smxngkcasngsyyanihehnguxxxk ihkhnluk sungimchwyxairinmnusy ihtwsn ihephimemaethbxlisuminvduhnaw aelasnbsnunihekidphvtikrrmthiprbkhwamrxneyn echn isesuxphamakkhun hlbxxkcakaeddepntn briewn preoptic khxngihopthalamsinsmxngthixyukxnswnikhwprasathta optic chiasm thahnathiepntwrbxunhphumicakeluxd odyidrbsyyancaktwrbxunhphumithiphiwhnngdwy aelwsngsyyanipinbriewnsmxngxunthildhruxephimkaresiykhwamrxnkhxngrangkaydngklawinkhxaerk odyepnkrabwnkarpxnklbaebblbthikraephaapssawa inkraephaapssawa chxngixxxnthixanwykarrbruxunhphumiphbxyuinthitang rwmthng duraylaexiydekiywkbchxngixxxninhwkhx chxngixxxnklum TRP TRPV1 mitlxdwithiprasathnaekharwmthng Urothelial cells sungbu Urinary tract playswnnxk peripheral terminal khxngiyprasathnaekhathixyuikl kb Urothelial cell twniwrxninpmprasathrakhlng dorsal root ganglion thimiiyprasathkhnadelkcnthungklang playswnklang central terminal khxngiyprasathnaekha aelainpikhlngkhxngikhsnhlng dorsal horn chnaerk TRPV1 iniyprasathklum C thitrwccbkarphxngkhxngkraephaa epntwrbaerngklaebbyudhd hruxsarekhmithirakhayekhuxng TRPV2 TRPV4 TRPM8 aela TRPA1 in Urothelial cells aetwa chxngixxxnehlanixacmibthbathxun nxkcakkarrbruxunhphumirwmthng TRPV1 mibthbathsakhyekiywkbonsiespchnaelakarthanganepnpktikhxngkraephaapssawa TRPV1 in Urothelial cells smphnthkbradbaekhlesiyminesllthisungkhunaelakarplxysarsuxprasathtang inniwrxn TRPV1 echuxwamihnathirwbrwmhruxephimkartxbsnxngtxsingeratang aelamibthbathsakhyinphawarusukecbmakkwaprktithiekidcakkarxkesb aemwakaraesdngxxkkhxngchxng TRPV2 TRPV4 TRPM8 aela TRPA1 caaesdngnywa Urothelial cells mikarrbruxunhphumi aetwa bthbathhlkkhwamcringxacepnephuxtrwccbsingeraxntray noxious stimuli nxkcaknn TRPM8 xacmibthbathekiywkbkarephimcanwnesllxikdwyklikkarthayoxnsyyanprasathnganwicyeruxngniidrbkhwamsnicmakkhunemuxmikarrabuaelakarokhlnhmuoprtin Transient Receptor Potential TRP ephraachxng TRPM8 epntwxanwykarthayoxnxunhphumiihepnsyyanprasathintwrbxunhphumiaebbeyn chxngixxxnnixnuyataekhtixxxnaebbphsmihphanekhaipinesllprasathid odyhlkepnixxxn Na aem Ca2 kcaekhaiddwy inradbmaknxyodyepnsdswnphkphnkbxunhphumi chxngniiwtxxunhphumirahwang 8 28 C aetkxacthanganenuxngcakkaryudkbliaekndnxkesll echn emnthxl karburxacerimkarthangankhxngchxng TRPM8 aetenuxngcakoprtin TRPM8 mikaraesdngxxkinniwrxnthisngsyyankhwameyn karburbnphiwhnngcungthaihrusukeyn khwamrusuksdchunyngsmphnthkbkarthangankhxngtwrbkhwameynenuxngcakkarbur odyechphaathiibhnasungmiaexksxnkhxngesnprasathithrecminl V niepnehtukhxngkarisemnthxl karburinekhruxngxabnatang rwmthngyasifn olchnoknhnwd khrimthahna epntn xngkhprakxbxikxyangkhxngkarthayoxnkhwameyn kkhux chxngrw leak channel sungplxyihkraaesifkhuxpracuixxxnophaethsesiymihlxxkodykhunxyukbxunhphumi chxngrwbangswnepnxnuphnthukhxng Tandem pore domain potassium channel aelainbrrdachxngehlani bangchnidcapidthnthiemuxxunhphumildlngnxykwa 28 C echn TRAAK TREK xnung xunhphumiyngkhwbkhumkarthangankhxng Na K ATPase dwy sungepnpmaebb P type thipmixxxn 3Na xxkcakesllaelkepliynkbixxxn 2K odyidphlngngancakkaraeyk ATP thixasyna phlkkhuxkarihlkhxngpracubwkxxkcakesllodysuththi khux epnkraaesiffaaebbephimkhw hyperpolarizing sungthaihesllkratunidyakkhun odyradbkraaesifcakhunxyukbxtrakarpm minkwichakarthiesnxwa niwrxntxngxasyoprtiniwxunhphumitang rwmknephuxsrangtwrbxunhphumikhunsmbtiaebbxubti emergence khxngniwrxnechnniechuxwaprakxbdwykaraesdngxxkkhxngoprtindngthiklawaelw phrxmkbchxngiwkhwamtangsky voltage sensitive channel tang rwmthngchxng HCN hyperpolarization activated cyclic nucleotide gated aelachxng IKA rapidly activating and inactivating transient potassium channel chxngixxxnklum TRP nganwicypi 2544 phbwakhwamrxneyncakratunchxngixxxnklum TRP Transient potential receptor sungihaekhtixxxnsumphanidxyangimeluxk rwmthngaekhlesiymaelaaemkniesiym aelamiokhrngsrangkhlaykbchxngthiepidpiddwyskyiffa voltage gated channel odychxng TRP aetlaxyangcaiwkhwameynrxntang kn khux emuxthungkhiderimepliynthangxunhphumi chxngkcaepidihaekhtixxxnihlphanekhamakkhun chxngixxxnklum TRP Transient potential receptor chxngixxxn xunhphumi C sar ekhmi hmayehtuTRPA1 lt 17 kraethiym allicin phkkad allyl isothiocyanate icilin khing gingerol cinnamic aldehyde emthilsaliiselt yuecnxl namnkanphlu phbintwrbeynthimikhiderimepliynsungTRPM8 8 28 emnthxl phuchwngskaephra kaephra ohrapha aemnglkepntn icilin phbintwrbeynthngmikhiderimepliynsungaelataTRPV4 gt 27 krd rbrusmphs aerngklTRPV3 gt 31 39 karbur yuecnxl carvacrol thymol phbintwrbxunTRPV1 gt 43 aekhpissin cakphrik krd Anandamide resiniferatoxin exthanxl yuecnxl phbinonsiespetxrrbrxnthngaebb Ad aela CTRPV2 gt 52 phbinonsiespetxrrbrxnaebb Ad thaihrusukrxnlwk chxng TRPM8 aela TRPA1 thiepidemuxeynlngaelapidemuxxunkhun thngsxngmikaraesdngxxkthiplayprasathrbeynthimikhiderimepliynsung aetplayprasathrbeynthimikhiderimepliyntacamiephiyngaekhchxng TRPM8 ethann swnplayprasathrbxunmichxng TRPV3withiprasathduethiybkb withiprasathkhxngrabbrbkhwamrusukthangkay inmnusy khwamrusukrxneyn rwmthngaebbhnawehnbrxnlwk casngipsuthalamsaelwsuepluxksmxngswntang phanwithiprasathsxngrabb khux sngkhxmultang rwmthngxunhphumithimacaksirsaswnhnarwmthngibhna phankansmxngipyngthalams aelwtxipyngswntang khxngepluxksmxng ody first order neuron xyuthipmprasathkhxngesnprasathsmxng rwmthng trigeminal V facial VII glossopharyngeal IX aela vagus X sungsngaexksxnlngipyng second order neuron in medulla sikrangkayediywknthi spinal trigeminal nucleus sungkcasngaexksxnkhamikhwthaeyng medulla ipsudthithalamsswn ventral posterior medial nucleus VPM anterolateral system spinothalamic tract sngkhxmultang rwmthngxunhphumicakrangkayrwmsirsakhrunghlng phanikhsnhlngipyngthalams aelwtxipyngswntang khxngepluxksmxng ody first order neuron xyuthipmprasathrakhlng dorsal root ganglion sungsngaexksxnkhun lngphan Lissauer s tract 1 2 khxikhsnhlngipyng second order neuron inpikhlngkhxngikhsnhlng dorsal horn insikrangkayediywknaetxyutangradbikhsnhlngkn second order neuron kcasngaexksxnkhamikhwthaeyngthiikhsnhlngaelwkhuniptam anterolateral column spinothalamic tract ipyngthalamsswn ventral posteriorlateral nucleus VPL ihsngektwa enuxngcakwa epahmayinthalamskhxngkhwamrusukrxneynmacakkarxnumanthienuxngkbwithiprasathkhxngkhwamecbpwd cungyngimmtirwmknwa swnihnkhxngthalamsepnepahmaykhxngkhwamrusukrxneynknaen nxkcakthiswn VPMaela VPL tamthiwaaelw yngminkwichakarthikahndekhttxipni khux iyprasathcak lamina I rwmthngcaktwrbxunhphumithngsamxyang khxng dorsal horn ipsudthiswnhlngkhxng VPN aelaswnhlngkhxng ventral medial nucleus thixyutidkn iyprasathcak lamina I rwmthngcaktwrbxunhphumithngsamxyang khxng dorsal horn ipsudthi VMpo ventromedial posterior nucleus thixyuthang medial khxng VPL ngansuksaodyich fMRI phbwa epluxksmxngswntang cathanganemuxmnusyidtwkratunrxneyn rwmthng superior parietal lobule insular cortex aela orbitofrontal cortexduephimkarlwngsmphstaaekrngehlkrxnechingxrrth32 40 Cechingxrrthaelaxangxing thermoreceptor sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr playprasathrbrxn Purves et al 2008 Glossary hna G 15 thermoreceptors Receptors specialized to transduce changes in temperature Saladin 2010 pp 1197 thermoreceptor A neuron specialized to respond to heat or cold found in the skin and mucous membranes for example Rice amp Albrecht 2008 Glossary pp 3 thermoreceptor A sensory ending that that responds optimally to heat exchange Rice amp Albrecht 2008 6 01 1 3 1 ii Stimulus modality pp 5 Willis 2008 6 06 2 2 Thermoreceptive Circuits pp 94 95 ineruxngkarechuxmtxkhxng lamina I STT kb VMpo thixyuthang medial khxng VPL xang Craig AD Bushnell MC Zhang ET Blomqvist A 1994 A thalamic nucleus specific for pain and temperature sensation Nature 372 770 773 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Blomqvist A Zhang ET Craig AD 2000 Cytoarchitecture and immunohistochemical characterization of a specific pain and temperature relay the posterior portion of the ventral medial nucleus in the human thalamus Brain 123 601 619 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Craig AD 2004 Distribution of trigeminothalamic and spinothalamic lamina I terminations in the macaque monkey J Comp Neurol 477 119 148 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Gardner amp Johnson 2013a p 486 xangxing Julius D Basbaum AI 2001 Molecular mechanisms of noiception Nature 413 203 210 Krantz 2012 Receptors pp 12 2 12 4 xangxing Somino R Dubner R 1981 Response characteristics of specific thermoreceptive afferents innervating monkey facial skin and their relationship to human thermal sensitivity Brain Research Reviews 3 2 105 122 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Gardner amp Johnson 2013a p 488 495 Johnson 2008 6 16 2 4 Heat Sensory Pit Organs of Snakes p 334 335 Gardner amp Johnson 2013a p 477 486 487 Johnson 2008 6 16 2 Thermal Sensory Systems p 332 335 Goodwin amp Wheat 2008 6 03 1 Introduction p 39 Saladin 2010 Chapter 6 The Integumentary System pp 189 205 Saladin 2010 Chapter 26 Nutrition and Metabolism pp 1040 1056 Birder 2008 5 40 1 1 Sensor Molecules Expressed in Urothelium Which Could Contribute to Bladder Pain pp 585 587 xangxing ekiywkbbthbathkhxng TRPV1 inonsiespchnaelakarthanganepnpktikhxngkraephaapssawa Szallasi A 2001 Vanilloid receptor ligands hopes and realities for the future Drugs Aging 18 561 573 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter ekiywkb TRPV1 thi Urothelial cells Birder L Kanai AJ de Groat WC Kiss S Nealen ML Burke NE Dineley KE Watkins S Reynolds IJ Caterina MJ 2001 Vanilloid receptor expression suggests a sensory role for urinary bladder epithelial cells Proc Natl Acad Sci U S A 98 13396 13401 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Birder L Nakamura Y Kiss S Nealen ML Barrick SR Kanai AJ Wang E Ruiz WG de Groat WC Apodaca G Watkins S Caterina MJ 2002a Altered urinary bladder function in mice lacking the vanilloid receptor TRPV1 Nat Neurosci 5 856 860 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter ekiywkbbthbathkhxng TRPV1 inniwrxn Ghuang HH Prescott ED Kong H Shields S Jordt SE Basbaum AI Chao MV Julius D 2001 Bradykinin and nerve growth factor release the capsaicin receptor from PtdIns 4 5 P 2 mediated inhibition Nature 411 957 962 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Holzer P 2004 TRPV1 and the gut from a tasty receptor for a painful vanilloid to a key player in hyperalgesia Eur J Pharmacol 500 231 241 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Viana F de la Pena E Belmonte C 2002 Specificity of cold thermotransduction is determined by differential ionic channel expression 5 3 254 260 doi 10 1038 nn809 PMID 11836533 S2CID 21291629 Johnson 2008 6 16 2 1 Receptor Structure and Function p 333 Gardner amp Johnson 2013a Thermo Receptors Detect Changes in Skin Temperature pp 485 486 Figure 22 8 pp 487 Lackie JM 2007 The Dictionary of Cell and Molecular Biology 4th ed Elsevier TRP Channels p 433 ISBN 978 0 12 373986 5 Capsaicin and resiniferatoxin are agonists for TRPV1 menthol for TRPM8 cold receptor and icilin for both TRPM8 and TRPA1 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Simons amp Carstens 2008 Table 1 Thermo and chemosensitive transient receptor potentials TRPs p 350 Beisel et al 2008 3 05 2 1 1 The transient receptor potential superfamily p 86 Purves et al 2008b Box 10A Capsaisin pp 234 Purves et al 2008b Transduction of Nociceptive Signals pp 233 Purves et al 2008b pp 241 242 Purves et al 2008b p 233 238 242 Gardner amp Johnson 2013a p 494 495aehlngxangxingxun Krantz John H 2012 12 Skin Senses Experiencing Sensation and Perception PDF Pearson Education pre printed files Saladin KS 2010 Anatomy and Physiology The Unity of Form and Function 5th ed New York McGraw Hill ISBN 978 0 39 099995 5 Neuroscience 2008 Purves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel McNamara James O White Leonard E b k 2008b 10 Pain Neuroscience 4th ed Sinauer Associates pp 231 251 ISBN 978 0 87893 697 7 Purves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel McNamara James O White Leonard E b k 2008 Neuroscience 4th ed Sinauer Associates ISBN 978 0 87893 697 7 Principles of Neural Science 2013 Gardner Esther P Johnson Kenneth O 2013a 22 The Somatosensory System Receptors and Central Pathway in Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth AJ b k Principles of Neural Science 5th ed United State of America McGraw Hill pp 475 497 ISBN 978 0 07 139011 8 Purves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel McNamara James O White Leonard E b k 2008a 9 The Somatic Sensory System Touch and Proprioception Neuroscience 4th ed Sinauer Associates pp 207 229 ISBN 978 0 87893 697 7 The Senses A Comprehensive Reference 2008 Beisel KW He D Hallworth R Fritzsch B 2008 Dallos Peter Oertel Donata b k 3 05 Genetics of Mechanoreceptor Evolution and Development The Senses A Comprehensive Reference Vol 3 Audition Elsevier Simons CT Carstens E 2008 Firestein Stuart Beauchamp Gary K b k 4 18 Oral Chemesthesis and Taste The Senses A Comprehensive Reference Vol 4 Olfaction amp Taste Elsevier Birder LA 2008 Bushnell M Catherine Basbaum Allan I b k 5 40 Urothelium as a Pain Organ The Senses A Comprehensive Reference Vol 5 Pain Elsevier Rice FL Albrecht PJ 2008 Kaas JH Gardner EP b k 6 01 Cutaneous Mechanisms of Tactile Perception Morphological and Chemical Organization of the Innervation to the Skin The Senses A Comprehensive Reference Vol 6 Somatosensation Elsevier Goodwin AW Wheat HE 2008 Kaas JH Gardner EP b k 6 03 Physiological Responses of Sensory Afferents in Glabrous and Hairy Skin of Humans and Monkeys The Senses A Comprehensive Reference Vol 6 Somatosensation Elsevier Willis WD Jr 2008 Kaas JH Gardner EP b k 6 06 Physiological Characteristics of Second Order Somatosensory Circuits in Spinal Cord and Brainstem The Senses A Comprehensive Reference Vol 6 Somatosensation Elsevier Johnson JI 2008 Kaas JH Gardner EP b k 6 16 Specialized Somatosensory Systems The Senses A Comprehensive Reference Vol 6 Somatosensation Elsevier