ในระบบรับความรู้สึก (sensory system) ตัวรับความรู้สึก หรือ รีเซ็ปเตอร์รับความรู้สึก หรือ ปลายประสาทรับความรู้สึก (อังกฤษ: sensory receptor) เป็นส่วนปลายของ (sensory nerve) ที่ตอบสนองต่อตัวกระตุ้นในสิ่งแวดล้อมทั้งภายในภายนอกของสิ่งมีชีวิต และเมื่อตอบสนองต่อตัวกระตุ้น ตัวรับความรู้สึกก็จะทำการถ่ายโอนความรู้สึกที่รับรู้ โดยการสร้าง graded potential หรือศักยะงาน (action potential) ในเซลล์เดียวกันหรือเซลล์ที่อยู่ใกล้ๆ กัน
กิจหน้าที่
ตัวรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการลิ้มรสและการได้กลิ่น ประกอบด้วยโมเลกุลหน่วยรับความรู้สึกที่มีการเข้าไปยึดกับสารเคมีเฉพาะอย่าง ตัวอย่างเช่น ในเซลล์ประสาทตัวรับกลิ่น เริ่มทำงานด้วยการมีปฏิกิริยากับโครงสร้างทางโมเลกุลของโมเลกุลมีกลิ่น และโดยนัยเดียวกัน หน่วยรับรสในปุ่มรับรส ทำปฏิกิริยากับสารเคมีในอาหารที่ก่อให้เกิดศักยะงาน
หน่วยรับความรู้สึกอย่างอื่นๆ เช่นหน่วยรับแรงกลและ ทำการตอบสนองกับตัวกระตุ้นทางกายภาพ ยกตัวอย่างเช่น เซลล์รับแสงในเรตินามีโปรตีนที่มีกิจเฉพาะเช่นโรด็อปซิน (rhodopsin) ที่ทำการถ่ายโอนแรงงานทางกายภาพของแสงไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า และตัวรับแรงกล (mechanoreceptor) บางอย่างยิงศักยะงานเมื่อเยื่อหุ้มเซลล์ของตนยืดออก
กิจการงานของตัวรับความรู้สึกเป็นองค์ประกอบแรกสุดของระบบรับความรู้สึก (sensory system) เป็นการตอบสนองต่อลักษณะเฉพาะอย่างของตัวกระตุ้น ซึ่งกำหนดโดยการกระตุ้นที่เหมาะสม (adequate stimulus) ของตัวรับความรู้สึก โดยเริ่มกระบวนการถ่ายโอนความรู้สึก ที่อาจเกิดขึ้นโดยการเปลี่ยนสภาพของตัวรับความรู้สีก (ดูรูปของสภาวะตามสันนิษฐานทั่วไปที่ [1] โดยมีการอธิบายภาษาอังกฤษที่ [2])
การจำแนกประเภท
โดยการกระตุ้นที่เหมาะสม
การกระตุ้นที่เหมาะสม (adequate stimulus) ของตัวรับความรู้สึก เป็นลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของตัวกระตุ้น ที่ตัวรับความรู้สึกมีตัวช่วยที่เหมาะสมในการถ่ายโอนลักษณะเฉพาะอย่างนั้น (เช่นตัวรับแสงมีโรด็อปซินที่สามารถทำการถ่ายโอนแสงไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า) การกระตุ้นที่เหมาะสมใช้แยกประเภทตัวรับความรู้สึกได้ คือ
- (ในสัตว์มีปลาฉลามเป็นต้น) ตอบสนองต่อสนามไฟฟ้า ความเค็ม และอุณหภูมิ แต่โดยหลักทำหน้าที่เป็นตัวรับไฟฟ้า (electroreceptor)
- ตอบสนองต่อความดันในเส้นเลือด
- Chemoreceptor ตอบสนองต่อตัวกระตุ้นเคมี
- Electromagnetic receptor (ตัวรับแม่เหล็กไฟฟ้า) ตอบสนองต่อรังสีอินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ หรือสนามแม่เหล็ก
- Hydroreceptor ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงของความชื้น
- ตัวรับแรงกล (mechanoreceptor) ตอบสนองต่อแรงกล
- โนซิเซ็ปเตอร์ ตอบสนองต่อตัวกระตุ้นอันตราย (noxious stimuli) ที่อาจจะนำไปสู่ความรู้สึกเจ็บปวด
- ตอบสนองต่อ ของของเหลว (เช่นในไฮโปทาลามัส)
- เซลล์รับแสง (photoreceptor cell) ตอบสนองต่อแสง
- ตัวรับรู้อากัปกิริยา (proprioceptor) รับรู้อากัปกิริยาในข้อต่อและกล้ามเนื้อ
- ตัวรับอุณหภูมิ (thermoreceptor) ตอบสนองต่ออุณหภูมิ ซึ่งอาจจะเป็นความร้อน ความเย็น หรือทั้งสองอย่าง
โดยตำแหน่ง
ตัวรับรู้ความรู้สึกอาจจะจำแนกได้โดยตำแหน่งที่อยู่ คือ
- ตัวรับความรู้สึกที่ผิวหนัง (cutaneous receptor) เป็นตัวรับความรู้สึกที่มีอยู่ในหนังแท้ หรือหนังกำพร้า
- Muscle spindle เป็นตัวรับแรงกลที่ตรวจจับการยืดออกของกล้ามเนื้อ
โดยโครงสร้างสัณฐาน
ตัวรับความรู้สึกของร่างกายที่ใกล้กับผิวหนัง สามารถจำแนกได้เป็นสองกลุ่มตามโครงสร้างสัณฐาน คือ
- ปลายประสาทอิสระ เป็นลักษณะของโนซิเซ็ปเตอร์ และตัวรับอุณหภูมิ แผ่ไปทั่วหนังแท้และหนังกำพร้า ที่เรียกว่าปลายประสาทอิสระก็เพราะว่า ปลายสุดของเซลล์ประสาทนั้นไม่มีปลอกไมอีลิน
- Encapsulated receptor (ตัวรับความรู้สึกมีถุงหุ้ม) ประกอบด้วยตัวรับความรู้สึกที่ผิวหนังประเภทที่เหลือทั้งหมด การมีแคปซูลหรือถุงหุ้มนั้น ทำให้ตัวรับความรู้สึกสามารถทำหน้าที่เฉพาะอย่าง (ดูรูปด้านบน)
โดยอัตราการปรับตัว
- Encapsulated receptor (ตัวรับความรู้สึกมีถุงหุ้ม) ประกอบด้วยตัวรับความรู้สึกที่ผิวหนังประเภทที่เหลือทั้งหมด การมีแคปซูลหรือถุงหุ้มนั้น สามารถยังตัวรับความรู้สึกให้ทำหน้าที่เฉพาะกิจ (ดูรูปด้านบน)
- tonic receptor เป็นตัวรับความรู้สึกที่ปรับตัวอย่างช้า ๆ ไปตามตัวกระตุ้น และจะสร้างศักยะงานต่อไปเรื่อย ๆ ตราบเท่าที่ตัวกระตุ้นยังดำรงอยู่ ดังนั้น มันจึงสามารถส่งข้อมูลเกี่ยวกับช่วงระยะเวลาของการกระตุ้น นอกจากนั้นแล้ว tonic receptor บางประเภทมีการทำงานอยู่ตลอดเวลา เพื่อแสดงระดับตัวกระตุ้นพื้นหลัง ตัวอย่างของ tonic receptor แบบนี้ก็คือ โนซิเซ็ปเตอร์, และ muscle spindle
เส้นประสาท
ตัวรับความรู้สึกต่างๆ กัน มีใยประสาทต่างๆ กัน เช่นกล้ามเนื้อและตัวรับความรู้สึกที่เกี่ยวข้องกัน มีใยประสาทแบบ 1 และแบบ 2 ในขณะที่ตัวรับความรู้สึกที่ผิวหนังมีใยประสาทแบบ Aβ, Aδ และ C
ดู
หมายเหตุและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้คำที่ต่อด้วย "-receptor" ว่า "ปลายประสาท" เช่นคำว่า "thermoreceptor" ซึ่งแปลว่า "ปลายประสาทรับร้อน"
- Michael J. Gregory. "Sensory Systems". Clinton Community College. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-25. สืบค้นเมื่อ 2013-06-06.
- http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/Cutaneous+receptor
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-24. สืบค้นเมื่อ 2013-09-23.
- mentor.lscf.ucsb.edu/course/fall/eemb157/lecture/Lectures%2016,%2017%2018.ppt
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-03. สืบค้นเมื่อ 2013-09-23.
ข้อมูลอื่นๆ
- Sensory Receptors ใน สำหรับหัวข้อเนื้อหาทางการแพทย์ (MeSH)
- (อังกฤษ) ประเภทหลักๆ ของตัวรับความรู้สึกทางกาย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inrabbrbkhwamrusuk sensory system twrbkhwamrusuk hrux riespetxrrbkhwamrusuk hrux playprasathrbkhwamrusuk xngkvs sensory receptor epnswnplaykhxng sensory nerve thitxbsnxngtxtwkratuninsingaewdlxmthngphayinphaynxkkhxngsingmichiwit aelaemuxtxbsnxngtxtwkratun twrbkhwamrusukkcathakarthayoxnkhwamrusukthirbru odykarsrang graded potential hruxskyangan action potential inesllediywknhruxesllthixyuikl kn okhrngsrangkhxngrabbrbkhwamrusukinmnusy swnbnaesdngtwrbkhwamrusukpraephthtang swnklangaesdngpmprasathekiywkhxngkbrabbrbkhwamrusukthisuxsyyanipyngrabbprasathklang aelaswnlangaesdngrabbprasathklang kichnathitwrbkhwamrusukthiekiywkbkarlimrsaelakaridklin prakxbdwyomelkulhnwyrbkhwamrusukthimikarekhaipyudkbsarekhmiechphaaxyang twxyangechn inesllprasathtwrbklin erimthangandwykarmiptikiriyakbokhrngsrangthangomelkulkhxngomelkulmiklin aelaodynyediywkn hnwyrbrsinpumrbrs thaptikiriyakbsarekhmiinxaharthikxihekidskyangan hnwyrbkhwamrusukxyangxun echnhnwyrbaerngklaela thakartxbsnxngkbtwkratunthangkayphaph yktwxyangechn esllrbaesnginertinamioprtinthimikicechphaaechnordxpsin rhodopsin thithakarthayoxnaerngnganthangkayphaphkhxngaesngipepnsyyaniffa aelatwrbaerngkl mechanoreceptor bangxyangyingskyanganemuxeyuxhumesllkhxngtnyudxxk kickarngankhxngtwrbkhwamrusukepnxngkhprakxbaerksudkhxngrabbrbkhwamrusuk sensory system epnkartxbsnxngtxlksnaechphaaxyangkhxngtwkratun sungkahndodykarkratunthiehmaasm adequate stimulus khxngtwrbkhwamrusuk odyerimkrabwnkarthayoxnkhwamrusuk thixacekidkhunodykarepliynsphaphkhxngtwrbkhwamrusik durupkhxngsphawatamsnnisthanthwipthi 1 odymikarxthibayphasaxngkvsthi 2 karcaaenkpraephthodykarkratunthiehmaasm karkratunthiehmaasm adequate stimulus khxngtwrbkhwamrusuk epnlksnaechphaaxyanghnungkhxngtwkratun thitwrbkhwamrusukmitwchwythiehmaasminkarthayoxnlksnaechphaaxyangnn echntwrbaesngmiordxpsinthisamarththakarthayoxnaesngipepnsyyaniffa karkratunthiehmaasmichaeykpraephthtwrbkhwamrusukid khux instwmiplachlamepntn txbsnxngtxsnamiffa khwamekhm aelaxunhphumi aetodyhlkthahnathiepntwrbiffa electroreceptor txbsnxngtxkhwamdninesneluxd Chemoreceptor txbsnxngtxtwkratunekhmi Electromagnetic receptor twrbaemehlkiffa txbsnxngtxrngsixinfraerd aesngthimxngehnid hruxsnamaemehlk Hydroreceptor txbsnxngtxkhwamepliynaeplngkhxngkhwamchun twrbaerngkl mechanoreceptor txbsnxngtxaerngkl onsiespetxr txbsnxngtxtwkratunxntray noxious stimuli thixaccanaipsukhwamrusukecbpwd txbsnxngtx khxngkhxngehlw echninihopthalams esllrbaesng photoreceptor cell txbsnxngtxaesng twrbruxakpkiriya proprioceptor rbruxakpkiriyainkhxtxaelaklamenux twrbxunhphumi thermoreceptor txbsnxngtxxunhphumi sungxaccaepnkhwamrxn khwameyn hruxthngsxngxyangodytaaehnng twrbrukhwamrusukxaccacaaenkidodytaaehnngthixyu khux twrbkhwamrusukthiphiwhnng cutaneous receptor epntwrbkhwamrusukthimixyuinhnngaeth hruxhnngkaphra Muscle spindle epntwrbaerngklthitrwccbkaryudxxkkhxngklamenuxodyokhrngsrangsnthan twrbkhwamrusukkhxngrangkaythiiklkbphiwhnng samarthcaaenkidepnsxngklumtamokhrngsrangsnthan khux playprasathxisra epnlksnakhxngonsiespetxr aelatwrbxunhphumi aephipthwhnngaethaelahnngkaphra thieriykwaplayprasathxisrakephraawa playsudkhxngesllprasathnnimmiplxkimxilin Encapsulated receptor twrbkhwamrusukmithunghum prakxbdwytwrbkhwamrusukthiphiwhnngpraephththiehluxthnghmd karmiaekhpsulhruxthunghumnn thaihtwrbkhwamrusuksamarththahnathiechphaaxyang durupdanbn odyxtrakarprbtw Encapsulated receptor twrbkhwamrusukmithunghum prakxbdwytwrbkhwamrusukthiphiwhnngpraephththiehluxthnghmd karmiaekhpsulhruxthunghumnn samarthyngtwrbkhwamrusukihthahnathiechphaakic durupdanbn tonic receptor epntwrbkhwamrusukthiprbtwxyangcha iptamtwkratun aelacasrangskyangantxiperuxy trabethathitwkratunyngdarngxyu dngnn mncungsamarthsngkhxmulekiywkbchwngrayaewlakhxngkarkratun nxkcaknnaelw tonic receptor bangpraephthmikarthanganxyutlxdewla ephuxaesdngradbtwkratunphunhlng twxyangkhxng tonic receptor aebbnikkhux onsiespetxr aela muscle spindleesnprasathtwrbkhwamrusuktang kn miiyprasathtang kn echnklamenuxaelatwrbkhwamrusukthiekiywkhxngkn miiyprasathaebb 1 aelaaebb 2 inkhnathitwrbkhwamrusukthiphiwhnngmiiyprasathaebb Ab Ad aela Cdukarrbruxakpkiriya esllprasathkhwamrusuk onsiespetxr twkratunhmayehtuaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhathitxdwy receptor wa playprasath echnkhawa thermoreceptor sungaeplwa playprasathrbrxn Michael J Gregory Sensory Systems Clinton Community College khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 06 25 subkhnemux 2013 06 06 http medical dictionary thefreedictionary com Cutaneous receptor khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 08 24 subkhnemux 2013 09 23 mentor lscf ucsb edu course fall eemb157 lecture Lectures 2016 2017 2018 ppt khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 08 03 subkhnemux 2013 09 23 khxmulxunSensory Receptors in sahrbhwkhxenuxhathangkaraephthy MeSH xngkvs praephthhlk khxngtwrbkhwamrusukthangkay