ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
เคมีอินทรีย์ (อังกฤษ: Organic chemistry) เป็นสาขาย่อยในวิชาเคมี ที่ว่าด้วยการศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติ องค์ประกอบ ปฏิกิริยา และการเตรียม (ด้วยการสังเคราะห์หรือด้วยวิธีการอื่น) สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นหลัก ไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ของพวกมันอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สารประกอบเหล่านี้อาจมีธาตุอื่นอีกจำนวนหนึ่งด้วยก็ได้ เช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน แฮโลเจน เช่นเดียวกับฟอสฟอรัส ซิลิกอนและซัลเฟอร์
สารประกอบอินทรีย์เป็นพื้นฐานกระบวนการของสิ่งมีชีวิตบนโลกแทบทั้งสิ้น (โดยมีข้อยกเว้นเล็กน้อยมาก) สารประกอบเหล่านี้มีโครงสร้างหลากหลายมาก ลักษณะการนำไปใช้ของสารประกอบอินทรีย์ก็มีมากมาย โดยเป็นได้ทั้งพื้นฐานของ หรือเป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ยา สารที่ได้จากน้ำมันปิโตรเคมี อาหาร วัตถุระเบิด และสี
ประวัติ
เคมีอินทรีย์เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาเคมีที่เริ่มต้นเมื่อ (Friedrich Woehler) สามารถสังเคราะห์สารประกอบยูเรียได้เป็นผลสำเร็จโดยบังเอิญจากการระเหยสารละลาย (ammonium cyanate) NH4OCN เคมีอินทรีย์เข้าใจกันว่าเป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยสายโซ่ของธาตุคาร์บอนและเกิดจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น แต่เมื่อเราสามารถสารประกอบประเภทนี้ได้ มันจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการสังเคราะห์สารประกอบประเภทเดียวกันนี้อีกมากมาย
คุณสมบัติของสารอินทรีย์
สารประกอบเคมีอินทรีย์เป็นสารประกอบที่มีโมเลกุลเกิดจากการดึงดูดกันระหว่างอะตอมของธาตุต่างๆ ด้วยพันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) เนื่องจากธาตุคาร์บอนมีอะตอมที่เชื่อมต่อกันเองและธาตุอื่นๆ ด้วยพันธะโคเวเลนต์แล้วมีความเสถียรสูงมากซึ่งจะเห็นได้การต่อกันเองของธาตุคาร์บอนเป็นโซ่ยาวๆ หรือต่อกันเป็นวงกลมก็ได้ ทำให้สารประกอบเคมีอินทรีย์มีความแตกต่างจากสารประกอบอนินทรีย์เคมีดังนี้
- สารประกอบเคมีอินทรีย์จะหลอมเหลวหรือสะลายตัวที่อุณหภูมิต่ำกว่า 300 °C
- สารประกอบเคมีอินทรีย์ที่เป็นกลางจะละลายในน้ำได้น้อยกว่าสารประกอบอนินทรีย์เคมีประเภทเกลือยกเว้นสารประกอบเคมีอินทรีย์ประเภท และประเภทน้ำหนักโมเลกุลต่ำๆอย่างแอลกอฮอล์และกรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acids)
- สารประกอบเคมีอินทรีย์ละลายได้ดีในตัวทำละลายที่เป็นสารอินทรีย์เช่นอีเทอร์ (ether) หรือแอลกอฮอล์แต่การละลายมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับฟังชั่นแนลกรุ๊ป (functional groups) และโครงสร้างทั่วไปของสารด้วย
การตั้งชื่อและการจัดหมวดหมู่
สารประกอบเคมีอินทรีย์ (organic compound) สามารถตั้งชื่อจัดหมวดหมู่ได้ดังนี้
สารประกอบแอลิฟาติก (Aliphatic compounds)
เป็นสารประกอบที่มีอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นโซ่ยาว (hydrocarbon chains) และไม่มีอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นวงแหวน (aromatic systems) เลย ซึ่งได้แก่
- ไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon)
- แอลเคน (Alkane)
- แอลคีน (Alkene)
- (Dienes or Alkadienes)
- แอลไคน์ (Alkyne)
- (Haloalkane)
(Aromatic compounds)
เป็นสารประกอบที่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของโมเลกุลเป็นวงแหวน (aromatic systems) ซึ่งได้แก่
- เบนซีน (Benzene)
- โทลูอีน (Toluene)
- (Styrene)
- (Xylene)
- (Aniline)
- ฟีนอล (Phenol)
- (Acetophenone)
- (Benzonitrile)
- (Haloarene)
- แนฟทาลีน (Naphthalene)
- แอนทราซีน (Anthracene)
- ฟีแนนทรีน (Phenanthrene)
- เบนโซไพรีน (Benzopyrene)
- (Coronene)
- อะซูลีน (Azulene)
- (Biphenyl)
สารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (Heterocyclic compounds)
เป็นสารประกอบที่มีวงแหวนที่ประกอบด้วยอะตอมต่างชนิด (heteroatom) กัน ซึ่งอะตอมเหล่านี้อาจเป็น ออกซิเจนไนโตรเจน ฟอสฟอรัส หรือกำมะถัน สารประกอบประเภทนี้ได้แก่
หมู่ฟังก์ชัน (Functional groups)
- แอลกอฮอล์ (Alcohol)
- แอลดีไฮด์ (Aldehyde)
- (Alicyclic compound)
- (Amide)
- (Amine)
- คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
- กรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic acid)
- เอสเตอร์ (Ester)
- อีเทอร์ (Ether)
- คีโตน (Ketone)
- ลิพิด (Lipid)
- (Mercaptan)
- (Nitrile)
พอลิเมอร์ (Polymers)
พอลิเมอร์เป็นโมเลกุลชนิดพิเศษมีขนาดใหญ่ประกอบด้วยโมเลกุลย่อยๆ ต่อเรียงกัน ถ้าโมเลกุลย่อยเป็นชนิดเดียวกันจะเรียกพอลิเมอร์นี้ว่า"โฮโมพอลิเมอร์" (homopolymer) และถ้าโมเลกุลย่อยเป็นต่างชนิดกันจะเรียกพอลิเมอร์นี้ว่า"เฮตเทอโรพอลิเมอร์" (heteropolymer) พอลิเมอร์จำแนกได้ดังนี้
- พอลิเมอร์ประเภทสารอินทรีย์ได้แก่
- (polyethylene)
- (polypropylene)
- (Plexiglass) , ฯลฯ
- พอลิเมอร์ประเภทสารอนินทรีย์ได้แก่
- ซิลิโคน (silicone)
- พอลิเมอร์ชีวภาพ (biopolymers)
- โปรตีน (proteins)
- กรดนิวคลีอิก (nucleic acids)
- พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharides)
การหาโครงสร้างโมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์
ปัจจุบันมีด้วยกันหลายวิธี ดังนี้:
- ผลึกศาสตร์ (Crystallography) : วิธีนี้เป็นวิธีที่ละเอียดแม่นยำที่สุด แต่มันก็มีความยากมากที่จะเลี้ยงผลึกให้มีขนาดใหญ่และมีคุณภาพดีเพื่อที่จะได้รูปที่ชัดเจนเพื่อการวิเคราะห์
- (Elemental Analysis) : เป็นวิธีการแยกสลายโมเลกุลเพื่อให้ได้ธาตุเคมีสำหรับการวิเคราะห์
- (Infrared spectroscopy) : เป็นวิธีที่ใช้วิเคราะห์ว่ามีหรือไม่มี ฟังก์ชันนัลกรุป
- (Mass spectrometry) : เป็นวิธีที่ใช้หา น้ำหนักโมเลกุล (molecular weight) ของสารประกอบอินทรีย์และโครงสร้างทางเคมีของสารดังกล่าว
- (Nuclear magnetic resonance (NMR) spectroscopy)
- (UV/VIS spectroscopy) : เป็นวิธีที่ใช้หาระดับขั้นของการเชื่อมต่อกันในระบบ
อ้างอิง
- Robert T. Morrison, Robert N. Boyd, and Robert K. Boyd, Organic Chemistry, 6th edition (Benjamin Cummings, 1992, ) - this is "Morrison and Boyd", a classic textbook
- , , Basic Principles of Organic Chemistry,(W. A. Benjamin, Inc. ,1964) - another classic textbook
- Richard F. and Sally J. Daley, Organic Chemistry, Online organic chemistry textbook. Ochem4free.info
ดูเพิ่ม
- ตารางธาตุ
- Important publications in organic chemistry
- สูตรเคมี
- Structural formula
- Skeletal formula
- รายชื่อสาขาวิชา
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud ekhmixinthriy xngkvs Organic chemistry epnsakhayxyinwichaekhmi thiwadwykarsuksaokhrngsrang khunsmbti xngkhprakxb ptikiriya aelakaretriym dwykarsngekhraahhruxdwywithikarxun sarprakxbthimithatukharbxnepnhlk ihodrkharbxnaelaxnuphnthkhxngphwkmnxyangepnwithyasastr sarprakxbehlanixacmithatuxunxikcanwnhnungdwykid echn ihodrecn inotrecn xxksiecn aeholecn echnediywkbfxsfxrs silikxnaelaslefxr sarprakxbxinthriyepnphunthankrabwnkarkhxngsingmichiwitbnolkaethbthngsin odymikhxykewnelknxymak sarprakxbehlanimiokhrngsranghlakhlaymak lksnakarnaipichkhxngsarprakxbxinthriykmimakmay odyepnidthngphunthankhxng hruxepnxngkhprakxbsakhykhxngphlitphnthtang echn phlastik ya sarthiidcaknamnpiotrekhmi xahar wtthuraebid aelasiprawtiekhmixinthriyepnwithyasastrsakhahnungkhxngwichaekhmithierimtnemux Friedrich Woehler samarthsngekhraahsarprakxbyueriyidepnphlsaercodybngexiycakkarraehysarlalay ammonium cyanate NH4OCN ekhmixinthriyekhaicknwaepnsarekhmithiprakxbdwysayoskhxngthatukharbxnaelaekidcaksingmichiwitethann aetemuxerasamarthsarprakxbpraephthniid mncungepncuderimtnkhxngkarsngekhraahsarprakxbpraephthediywknnixikmakmaykhunsmbtikhxngsarxinthriysarprakxbekhmixinthriyepnsarprakxbthimiomelkulekidcakkardungdudknrahwangxatxmkhxngthatutang dwyphnthaokhewelnt covalent bond enuxngcakthatukharbxnmixatxmthiechuxmtxknexngaelathatuxun dwyphnthaokhewelntaelwmikhwamesthiyrsungmaksungcaehnidkartxknexngkhxngthatukharbxnepnosyaw hruxtxknepnwngklmkid thaihsarprakxbekhmixinthriymikhwamaetktangcaksarprakxbxninthriyekhmidngni sarprakxbekhmixinthriycahlxmehlwhruxsalaytwthixunhphumitakwa 300 C sarprakxbekhmixinthriythiepnklangcalalayinnaidnxykwasarprakxbxninthriyekhmipraephthekluxykewnsarprakxbekhmixinthriypraephth aelapraephthnahnkomelkultaxyangaexlkxhxlaelakrdkharbxksilik carboxylic acids sarprakxbekhmixinthriylalayiddiintwthalalaythiepnsarxinthriyechnxiethxr ether hruxaexlkxhxlaetkarlalaymakhruxnxykhunxyukbfngchnaenlkrup functional groups aelaokhrngsrangthwipkhxngsardwykartngchuxaelakarcdhmwdhmusarprakxbekhmixinthriy organic compound samarthtngchuxcdhmwdhmuiddngni sarprakxbaexlifatik Aliphatic compounds epnsarprakxbthimixatxmkhxngkharbxntxknepnosyaw hydrocarbon chains aelaimmixatxmkhxngkharbxntxknepnwngaehwn aromatic systems ely sungidaek ihodrkharbxn Hydrocarbon aexlekhn Alkane aexlkhin Alkene Dienes or Alkadienes aexlikhn Alkyne Haloalkane Aromatic compounds epnsarprakxbthimiswnhnungswnidkhxngomelkulepnwngaehwn aromatic systems sungidaek ebnsin Benzene othluxin Toluene Styrene Xylene Aniline finxl Phenol Acetophenone Benzonitrile Haloarene aenfthalin Naphthalene aexnthrasin Anthracene fiaennthrin Phenanthrene ebnosiphrin Benzopyrene Coronene xasulin Azulene Biphenyl sarprakxbehethxoriskhlik Heterocyclic compounds epnsarprakxbthimiwngaehwnthiprakxbdwyxatxmtangchnid heteroatom kn sungxatxmehlanixacepn xxksiecninotrecn fxsfxrs hruxkamathn sarprakxbpraephthniidaek ximidaosl Imidazole xinodl Indole Pyridine Pyrrole Thiophene Furan Purine hmufngkchn Functional groups aexlkxhxl Alcohol aexldiihd Aldehyde Alicyclic compound Amide Amine kharobihedrt Carbohydrate krdkharbxksilik Carboxylic acid exsetxr Ester xiethxr Ether khiotn Ketone liphid Lipid Mercaptan Nitrile phxliemxr Polymers phxliemxrepnomelkulchnidphiessmikhnadihyprakxbdwyomelkulyxy txeriyngkn thaomelkulyxyepnchnidediywkncaeriykphxliemxrniwa ohomphxliemxr homopolymer aelathaomelkulyxyepntangchnidkncaeriykphxliemxrniwa ehtethxorphxliemxr heteropolymer phxliemxrcaaenkiddngni phxliemxrpraephthsarxinthriyidaek polyethylene polypropylene Plexiglass l phxliemxrpraephthsarxninthriyidaek siliokhn silicone phxliemxrchiwphaph biopolymers oprtin proteins krdniwkhlixik nucleic acids phxliaeskkhaird polysaccharides karhaokhrngsrangomelkulkhxngsarprakxbxinthriypccubnmidwyknhlaywithi dngni phluksastr Crystallography withiniepnwithithilaexiydaemnyathisud aetmnkmikhwamyakmakthicaeliyngphlukihmikhnadihyaelamikhunphaphdiephuxthicaidrupthichdecnephuxkarwiekhraah Elemental Analysis epnwithikaraeykslayomelkulephuxihidthatuekhmisahrbkarwiekhraah Infrared spectroscopy epnwithithiichwiekhraahwamihruximmi fngkchnnlkrup Mass spectrometry epnwithithiichha nahnkomelkul molecular weight khxngsarprakxbxinthriyaelaokhrngsrangthangekhmikhxngsardngklaw Nuclear magnetic resonance NMR spectroscopy UV VIS spectroscopy epnwithithiichharadbkhnkhxngkarechuxmtxkninrabbxangxingRobert T Morrison Robert N Boyd and Robert K Boyd Organic Chemistry 6th edition Benjamin Cummings 1992 ISBN 0 13 643669 2 this is Morrison and Boyd a classic textbook Basic Principles of Organic Chemistry W A Benjamin Inc 1964 another classic textbook Richard F and Sally J Daley Organic Chemistry Online organic chemistry textbook Ochem4free infoduephimtarangthatu Important publications in organic chemistry sutrekhmi Structural formula Skeletal formula raychuxsakhawicha bthkhwamchiwekhmi ekhmixinthriy aelaomelkulchiwphaphniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk