โมเลกุลชีวภาพ หรือ ชีวโมเลกุล (อังกฤษ: biomolecule) หมายถึง โมเลกุลใด ๆ ที่สิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ขึ้น รวมทั้ง มหโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน พอลิแซคคาไรด์ ลิพิด และกรดนิวคลีอิก และโมเลกุลขนาดเล็ก เช่น เมทาบอไลต์ (metabolite) จัดเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย มีโมเลกุลตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่มาก มีธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักแต่ละชนิดมีโครงสร้าง สมบัติและปฏิกิริยาที่ต่างกัน ทำให้มีหน้าทีและประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกันไป
ประเภทของโมเลกุลชีวภาพ
โมเลกุลชีวภาพต่าง ๆ มีดังนี้
- โมเลกุลเล็ก:
- มอนอเมอร์, โอลิโกเมอร์ และพอลิเมอร์:
มอนอเมอร์ชีวภาพ | กระบวนการพอลิเมอไรเซชัน | ชื่อพันธะโควาเลนต์ระหว่างสมาชิก | |
---|---|---|---|
กรดอะมิโน | พอลิเพปไทด์, โปรตีน | พันธะเพปไทด์ | |
มอโนแซ็กคาไรด์ | พอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่น | ||
พอลีเทอพรีน: ซิส-1,4-พอลิไอโซพรีน ยางธรรมชาติ และ ทรานส์-1,4-พอลิไอโซพรีน | |||
นิวคลีโอไทด์ | , กรดนิวคลีอิก (ดีเอ็นเอ, อาร์เอ็นเอ) |
ลักษณะสำคัญ
ลักษณะที่สำคัญของโมเลกุลชีวภาพเป็นดังนี้
- ประกอบด้วยธาตุขนาดเล็ก มีมวลโมเลกุลต่ำ เช่น C, H, O, N, S, P ธาตุชนิดอื่นมีพบบ้าง (เช่น Fe, Cu, Zn) แม้จัดว่าน้อยเมื่อเทียบกับน้ำหนักของร่างกาย แต่ก็มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตด้วย
- เป็นสารประกอบของคาร์บอน โดยคาร์บอนจะเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโควาเลนต์เกิดเป็นโครงร่างคาร์บอน จากนั้นอะตอมอื่นๆจะเติมเข้ามาในโครงร่างคาร์บอนนี้
- อะตอมที่เติมเข้ามา เรียกว่า หมู่ฟังก์ชัน (functional group) ซึ่งเป็นตัวกำหนดลักษณะเฉพาะของโมเลกุลนั้นๆ
- โมเลกุลชีวภาพมีโครงสร้างสามมิติซึ่งมีบทบาทสำคัญในการทำงาน
- โมเลกุลชีวภาพส่วนใหญ่อยู่ในรูปอสมมาตร
- โมเลกุลชีวภาพเกิดจากโมเลกุลขนาดเล็ก เรียกว่า มอนอเมอร์ (monomer) ที่มีโครงสร้างใกล้เคียงกัน จัดเรียงตัวเป็นโมเลกุลที่ใหญ่ขึ้น เรียกว่า พอลิเมอร์ (polymer) การรวมตัวกันนี้ต้องใช้พลังงาน ส่วนการย่อยสลายโพลีเมอร์จะได้พลังงาน
แซ็กคาไรด์
มอโนแซ็กคาไรด์เป็นรูปอย่างง่ายที่สุดของคาร์โบไฮเดรตโดยมีน้ำตาลเพียงหนึ่งโมเลกุล โดยพื้นฐาน มอโนแซ็กคาไรด์มีหมู่อัลดีไฮด์หรือคีโตนในโครงสร้าง การมีหมู่อัลดีไฮด์ในมอโนแซ็กคาไรด์ชี้ได้จากคำอุปสรรค์ อัลโด- ส่วนหมู่คีโตน จะมีคำอุปสรรคว่า คีโต- ตัวอย่างของมอโนแซ็กคาไรด์ ได้แก่ น้ำตาล กลูโคส ฟรักโทส และกาแล็กโทส และน้ำตาล ไรโบสและ ฟรักโทสและกลูโคสที่ถูกบริโภคมีอัตราส่งออกจากกระเพาะ (gastric emptying) ต่างกัน ร่างกายดูดซึมและมีเมแทบอลิซึมต่างกัน ทำให้มีหลายโอกาสที่แซ็กคาไรด์ 2 ชนิดที่ต่างกันมีผลต่อการรับประทานอาหาร แซ็กคาไรด์ส่วนมากให้พลังงานแก่การหายใจระดับเซลล์
ไดแซ็กคาไรด์เกิดขึ้นจากมอโนแซ็กคาไรด์ 2 ชนิดสร้างพันธะระหว่างกัน แล้วหลุดน้ำออกมา ไดแซ็กคาไรด์สามารถถูกไฮโดรไลซ์โดยต้มกับกรดเจือจางหรือทำปฏิกิริยากับเอนไซม์ที่เหมาะสม ตัวอย่างไดแซ็กคาไรด์ เช่น ซูโครส มอลโทสและแลคโทส
พอลิแซ็กคาไรด์เป็นคาร์โบไฮเดรตที่เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด์ทำปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันกัน ประกอบด้วยน้ำตาลเดี่ยวจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น เซลลูโลสและไกลโคเจน มักมีขนาดใหญ่และแตกกิ่งซับซ้อน เพราะขนาดของมัน ทำให้พอลิแซ็กคาไรด์ไม่ละลายน้ำ แต่หมู่ไฮดรอกซีจำนวนมากของมันรวมกับน้ำ (hydrate) แยกจากกันเมื่อสัมผัสน้ำ และพอลิแซ็กคาไรด์บางตัวมีการแพร่กระจายของคอลลอยด์ (colloidal dispersion) ที่หนาเมื่อให้ความร้อนในน้ำ พอลิแซ็กคาไรด์สายสั้น คือ มีมอนอเมอร์ระหว่าง 3-10 ตัว เรียกว่า โอลิโกแซ็กคาไรด์
ลิพิด
ลิพิดส่วนมากเป็นสารเอสเทอร์ของกรดไขมัน และเป็นส่วนประกอบของโครงสร้างเยื่อชีวภาพ (biological membrane) อีกบทบาทหนึ่ง คือ การเก็บสะสมพลังงาน (นั่นคือ ไตรกลีเซอไรด์) ลิพิดส่วนใหญ่ประกอบด้วยหัวที่มีขั้วหรือชอบน้ำ (ตามปกติคือ กลีเซอรอล) และหางกรดไขมันที่ไม่มีขั้วหรือไม่ชอบน้ำจำนวนหนึ่งถึงสามสาย ลิพิดจึงเป็น (amphiphilic) กรดไขมันประกอบด้วยสายของอะตอมคาร์บอนไม่แตกกิ่งที่เชื่อมต่อกันด้วยพันธะเดี่ยวอย่างเดียว (กรดไขมันอิ่มตัว) หรือทั้งพันธะเดี่ยวและพันธะคู่ (กรดไขมันไม่อิ่มตัว) สายนี้โดยปกติยาว 14-24 หมู่คาร์บอน แต่จำนวนหมู่นี้เป็นจำนวนคู่เสมอ
สำหรับลิพิดที่พบในเยื่อชีวภาพ หัวที่ชอบน้ำจัดเป็นหนึ่งในสามประเภทด้านล่างนี้
- ไกลโคลิพิด ซึ่งหัวมีโอลิโกแซ็กคาไรด์ที่มีแซ็กคาไรด์ 1-15 ตัวอยู่ด้วย
- ฟอสโฟลิพิด ซึ่งหัวมีหมู่ประจุบวกที่เชื่อมต่อกับหางโดยหมู่ฟอสเฟตที่มีประจุลบ
- สเตอรอล ซึ่งหัวมีวงแหวนสเตอรอยด์ระนาบ ตัวอย่างเช่น คอเลสเตอรอล
ลิพิดอื่น ๆ มีโปรสตาแกลนดิน (prostaglandin) และลิวโคไตรอีน (leukotriene) ซึ่งมีหน่วยแอซิลไขมัน 20 คาร์บอน ที่ถูกสังเคราะห์จากกรดอะราคิโดนิก (arachidonic acid) ทั้งคู่
ฮอร์โมน
ฮอร์โมน ถูกผลิตใน ต่อมไร้ท่อ และถูกปลดปล่อยออกมาสู่กระแสเลือด มันมีหน้าที่หลากหลายในหลายอวัยวะประกอบด้วยการควบคุม (metabolic pathway) และควบคุมกระบวนการขนส่งผ่านเมมเบรน ฮอร์โมน อาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มโครงสร้างดังนี้:
- สเตอรอยด์ (steroid) เป็นประเภทหนึ่งของฮอร์โมนที่มีหลายหน้าที่ และสเตอรอยด์ทุกตัวจะถูกผลิตจาก คอเลสเตอรอล
- ธรรมดา หรือ กรดอะมิโน
- เพปไทด์ หรือ โปรตีน
โปรตีน
โปรตีน คือ สารชีวโมเลกุลประเภทสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุ C, H, O, N เป็นองค์ประกอบสำคัญนอกจากนั้นยังมีธาตุอื่น ๆ เช่น S, P, Fe, Zn ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของโปรตีน
องค์ประกอบย่อยของโปรตีนเรียกว่ากรดอะมิโน โปรตีนและเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโนเรียงตัวกันเป็นสายยาวโดยมีพันธะเพปไทด์เป็นพันธะเชื่อมโยง พันธะเพปไทด์ เป็นพันธะเอไมด์ ที่เกิดจากการรวมตัวกันของหมู่คาร์บอกซิลของกรดอะมิโนตัวที่หนึ่งกับหมู่อะมิโนของกรดอะมิโนตัวถัดไปและมีการสูญเสียน้ำหนึ่งโมเลกุล
เอนไซม์
เอนไซม์เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง แต่เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่เชิงชีวภาพเฉพาะ ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
นิวคลีโอไทด์
นิวคลีโอไทด์แต่ละตัวประกอบขึ้นจากไนโตรจินัสเบส น้ำตาลเพนโทสและหมู่ฟอสเฟตหนึ่งถึงสามหมู่ ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน ไฮโดรเจน และฟอสฟอรัส เป็นแหล่งพลังงานเคมี (อะดีโนซีนไตรฟอสเฟตและ) มีส่วนในการสื่อสารของเซลล์ (ไซคลิกกวาโนซีนมอโนฟอสเฟตและไซคลิกอะดีโนซีนมอโนฟอสเฟต) และเป็นโคแฟกเตอร์ที่สำคัญในปฏิกิริยาที่ใช้เอนไซม์ (โคเอนไซม์เอ, ฟลาวินอะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์, ฟลาวินมอนอนิวคลีโอไทด์ และนิโคตินาไมด์อะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต)
นิวคลีโอไซด์เป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วยนิวคลีโอเบสต่อกับวงแหวนไรโบส สามารถถูกเติมหมู่ฟอสเฟต (phosphorylate) โดยเอนไซม์ไคเนสที่เจาะจงในเซลล์ แล้วสังเราะห์นิวคลีโอไทด์ได้ ทั้งดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอเป็นพอลิเมอร์ ประกอบด้วยโมเลกุลเส้นตรงสายยาว นิวคลีโอไทด์เป็นหน่วยมอนอเมอร์ของกรดนิวคลีอิก
อ้างอิง
- ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน
- Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth
- Peng, Bo, and Yu Qin (June 2009). "Fructose and Satiety". Journal of Nutrition: 6137–42.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Slabaugh, Michael R., and Seager, Spencer L. (2007). Organic and Biochemistry for Today (6th ed.). Pacific Grove: Brooks Cole. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Pigman, W.; Horton, D. (1972). The Carbohydrates. Vol. 1A. San Diego: Academic Press. p. 3. ISBN .
- Alberts B, Johnson A, Lewis J, Raff M, Roberts K & Wlater P (2002). Molecular biology of the cell (4th ed.). New York: Garland Science. pp. 120–1. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
omelkulchiwphaph hrux chiwomelkul xngkvs biomolecule hmaythung omelkulid thisingmichiwitsngekhraahkhun rwmthng mhomelkulkhnadihy echn oprtin phxliaeskhkhaird liphid aelakrdniwkhlixik aelaomelkulkhnadelk echn emthabxilt metabolite cdepnxngkhprakxbphunthankhxngxaharthicaepntxrangkay miomelkultngaetkhnadelkcnthungkhnadihymak mithatuihodrecnaelakharbxnepnxngkhprakxbhlkaetlachnidmiokhrngsrang smbtiaelaptikiriyathitangkn thaihmihnathiaelapraoychntxrangkayaetktangknipokhrngsrangsammitikhxngimoxoklbin aesdngthiennsi oprtinniepntwaerkthiokhrngsrangidrbkarxthibayodyphliksastrrngsiexks X ray crystallography ody Max Perutz aela John Kendrew in kh s 1958 epnphlnganthithaihthngsxngidrbrangwloneblsakhaekhmipraephthkhxngomelkulchiwphaphomelkulchiwphaphtang midngni omelkulelk liphid fxsofliphid iklokhliphid setxrxl witamin hxromn sarsuxprasath emaethbxilt mxnxemxr oxliokemxr aelaphxliemxr mxnxemxrchiwphaph krabwnkarphxliemxireschn chuxphnthaokhwaelntrahwangsmachikkrdxamion phxliephpithd oprtin phnthaephpithdmxonaeskkhaird phxliemxireschnaebbkhwbaennphxliethxphrin sis 1 4 phxliixosphrin yangthrrmchati aela thrans 1 4 phxliixosphrinniwkhlioxithd krdniwkhlixik diexnex xarexnex lksnasakhylksnathisakhykhxngomelkulchiwphaphepndngni prakxbdwythatukhnadelk mimwlomelkulta echn C H O N S P thatuchnidxunmiphbbang echn Fe Cu Zn aemcdwanxyemuxethiybkbnahnkkhxngrangkay aetkmikhwamcaepntxkardarngchiwitdwy epnsarprakxbkhxngkharbxn odykharbxncaechuxmtxkndwyphnthaokhwaelntekidepnokhrngrangkharbxn caknnxatxmxuncaetimekhamainokhrngrangkharbxnni xatxmthietimekhama eriykwa hmufngkchn functional group sungepntwkahndlksnaechphaakhxngomelkulnn omelkulchiwphaphmiokhrngsrangsammitisungmibthbathsakhyinkarthangan omelkulchiwphaphswnihyxyuinrupxsmmatr omelkulchiwphaphekidcakomelkulkhnadelk eriykwa mxnxemxr monomer thimiokhrngsrangiklekhiyngkn cderiyngtwepnomelkulthiihykhun eriykwa phxliemxr polymer karrwmtwknnitxngichphlngngan swnkaryxyslayophliemxrcaidphlngnganaeskkhairdmxonaeskkhairdepnrupxyangngaythisudkhxngkharobihedrtodyminatalephiynghnungomelkul odyphunthan mxonaeskkhairdmihmuxldiihdhruxkhiotninokhrngsrang karmihmuxldiihdinmxonaeskkhairdchiidcakkhaxupsrrkh xlod swnhmukhiotn camikhaxupsrrkhwa khiot twxyangkhxngmxonaeskkhaird idaek natal kluokhs frkoths aelakaaelkoths aelanatal irobsaela frkothsaelakluokhsthithukbriophkhmixtrasngxxkcakkraephaa gastric emptying tangkn rangkaydudsumaelamiemaethbxlisumtangkn thaihmihlayoxkasthiaeskkhaird 2 chnidthitangknmiphltxkarrbprathanxahar aeskkhairdswnmakihphlngnganaekkarhayicradbesll idaeskkhairdekidkhuncakmxonaeskkhaird 2 chnidsrangphntharahwangkn aelwhludnaxxkma idaeskkhairdsamarththukihodrilsodytmkbkrdecuxcanghruxthaptikiriyakbexnismthiehmaasm twxyangidaeskkhaird echn suokhrs mxlothsaelaaelkhoths phxliaeskkhairdepnkharobihedrtthiekidcakmxonaeskkhairdthaptikiriyaphxliemxireschnkn prakxbdwynatalediywcanwnmak twxyangechn eslluolsaelaiklokhecn mkmikhnadihyaelaaetkkingsbsxn ephraakhnadkhxngmn thaihphxliaeskkhairdimlalayna aethmuihdrxksicanwnmakkhxngmnrwmkbna hydrate aeykcakknemuxsmphsna aelaphxliaeskkhairdbangtwmikaraephrkracaykhxngkhxllxyd colloidal dispersion thihnaemuxihkhwamrxninna phxliaeskkhairdsaysn khux mimxnxemxrrahwang 3 10 tw eriykwa oxliokaeskkhairdliphidliphidswnmakepnsarexsethxrkhxngkrdikhmn aelaepnswnprakxbkhxngokhrngsrangeyuxchiwphaph biological membrane xikbthbathhnung khux karekbsasmphlngngan nnkhux itrkliesxird liphidswnihyprakxbdwyhwthimikhwhruxchxbna tampktikhux kliesxrxl aelahangkrdikhmnthiimmikhwhruximchxbnacanwnhnungthungsamsay liphidcungepn amphiphilic krdikhmnprakxbdwysaykhxngxatxmkharbxnimaetkkingthiechuxmtxkndwyphnthaediywxyangediyw krdikhmnximtw hruxthngphnthaediywaelaphnthakhu krdikhmnimximtw sayniodypktiyaw 14 24 hmukharbxn aetcanwnhmuniepncanwnkhuesmx sahrbliphidthiphbineyuxchiwphaph hwthichxbnacdepnhnunginsampraephthdanlangni iklokhliphid sunghwmioxliokaeskkhairdthimiaeskkhaird 1 15 twxyudwy fxsofliphid sunghwmihmupracubwkthiechuxmtxkbhangodyhmufxseftthimipraculb setxrxl sunghwmiwngaehwnsetxrxydranab twxyangechn khxelsetxrxl liphidxun mioprstaaeklndin prostaglandin aelaliwokhitrxin leukotriene sungmihnwyaexsilikhmn 20 kharbxn thithuksngekhraahcakkrdxarakhiodnik arachidonic acid thngkhuhxromnhxromn thukphlitin txmirthx aelathukpldplxyxxkmasukraaeseluxd mnmihnathihlakhlayinhlayxwywaprakxbdwykarkhwbkhum metabolic pathway aelakhwbkhumkrabwnkarkhnsngphanemmebrn hxromn xacaebngidepn 3 klumokhrngsrangdngni setxrxyd steroid epnpraephthhnungkhxnghxromnthimihlayhnathi aelasetxrxydthuktwcathukphlitcak khxelsetxrxl thrrmda hrux krdxamion ephpithd hrux oprtinoprtinoprtin khux sarchiwomelkulpraephthsarxinthriythiprakxbdwythatu C H O N epnxngkhprakxbsakhynxkcaknnyngmithatuxun echn S P Fe Zn thngnikhunxyukbchnidkhxngoprtin xngkhprakxbyxykhxngoprtineriykwakrdxamion oprtinaelaephpithd prakxbdwykrdxamioneriyngtwknepnsayyawodymiphnthaephpithdepnphnthaechuxmoyng phnthaephpithd epnphnthaeximd thiekidcakkarrwmtwknkhxnghmukharbxksilkhxngkrdxamiontwthihnungkbhmuxamionkhxngkrdxamiontwthdipaelamikarsuyesiynahnungomelkul exnism exnismepnoprtinchnidhnung aetepnoprtinthithahnathiechingchiwphaphechphaa sungthahnathiepntwerngptikiriyaniwkhlioxithdniwkhlioxithdaetlatwprakxbkhuncakinotrcinsebs natalephnothsaelahmufxsefthnungthungsamhmu prakxbdwythatukharbxn inotrecn xxksiecn ihodrecn aelafxsfxrs epnaehlngphlngnganekhmi xadionsinitrfxseftaela miswninkarsuxsarkhxngesll iskhlikkwaonsinmxonfxseftaelaiskhlikxadionsinmxonfxseft aelaepnokhaefketxrthisakhyinptikiriyathiichexnism okhexnismex flawinxadininidniwkhlioxithd flawinmxnxniwkhlioxithd aelaniokhtinaimdxadininidniwkhlioxithdfxseft niwkhlioxisdepnomelkulthiprakxbdwyniwkhlioxebstxkbwngaehwnirobs samarththuketimhmufxseft phosphorylate odyexnismikhensthiecaacnginesll aelwsngeraahniwkhlioxithdid thngdiexnexaelaxarexnexepnphxliemxr prakxbdwyomelkulesntrngsayyaw niwkhlioxithdepnhnwymxnxemxrkhxngkrdniwkhlixikxangxingsphthbyyti rachbnthitysthan Lehninger A L Nelson D L and Cox M M 1993 Principle of Biochemistry 2nd ed New York Worth Peng Bo and Yu Qin June 2009 Fructose and Satiety Journal of Nutrition 6137 42 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Slabaugh Michael R and Seager Spencer L 2007 Organic and Biochemistry for Today 6th ed Pacific Grove Brooks Cole ISBN 0 495 11280 1 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Pigman W Horton D 1972 The Carbohydrates Vol 1A San Diego Academic Press p 3 ISBN 978 0 12 395934 8 Alberts B Johnson A Lewis J Raff M Roberts K amp Wlater P 2002 Molecular biology of the cell 4th ed New York Garland Science pp 120 1 ISBN 0 8153 3218 1 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk