บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
โมโนแซ็กคาไรด์ (ภาษาอังกฤษ: monosaccharide) หรือ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว เป็นรูปแบบคาร์โบไฮเดรตที่พื้นฐานที่สุด เนื่องจากเป็นมอนอเมอร์ของคาร์โบไฮเดรต
โมโนแซ็กคาไรด์ ประกอบด้วยหนึ่งโมเลกุลของน้ำตาล ซึ่งอยู่ในรูปของผลึกของแข็งไม่มีสี ละลายน้ำได้ดี มอโนแซ็กคาไรด์บางตัวมีรสหวาน
ตัวอย่างของโมโนแซ็กคาไรด์ มีดังนี้
กลูโคสเป็นน้ำตาลที่สำคัญที่สุด เพราะร่างกายสามารถดูดซึมเอาไปใช้ได้โดยตรง ถ้าร่างกายมีกลูโคสในเลือดต่ำกว่า 90-110 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตรของเลือด จะมีอาการวิงเวียน อ่อนเพลีย ไม่มีแรง และอาจทำให้หมดสติได้ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดจะได้รับสารละลายกลูโคส 0.6-0.9% ผ่านทางหลอดเลือด
ร่างกายสามารถดูดซึมกลูโคสเข้าไปในผนังลำไส้เล็กได้ทันที แต่แป้งหรือน้ำตาลชนิดอื่น ร่างกายไม่สามารถนำไปใช้ได้โดยตรง กลูโคสจะถูกดูดซึมไปที่ลำไส้เล็ก เพื่อสลายเป็นพลังงานให้พอเพียงกับความต้องการของร่างกาย ที่เหลือจะนำไปเก็บไว้ที่ตับ เพื่อรักษาระดับกลูโคสในเลือดและส่งไปเลี้ยงสมอง เมื่อร่างกายขาดแคลนพลังงาน ไกลโคเจนที่ถูกสะสมจะถูกนำมาสลายเป็นกลูโคส ซึ่งทำปฏิกิริยากับออกซิเจนที่เราหายใจ เรียกว่าเป็นการหายใจระดับเซลล์
โครงสร้าง
โมโนแซ็กคาไรด์เป็นโครงสร้างพื้นฐานของไดแซ็กคาไรด์ อย่างซูโครส และพอลิแซ็กคาไรด์ (เช่น เซลลูโลส และแป้ง) ยิ่งไปกว่านั้นแต่ละคาร์บอนอะตอมที่ติดอยู่กับหมู่ไฮดรอกซิล (ยกเว้นอันแรกและอันสุดท้าย) เป็น (chirality) ตามจำนวนรูปแบบของไอโซเมอร์ (isomer) ทั้งที่มีสูตรเคมีเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น กาแล็กโทส และกลูโคส ทั้งสองเป็นอัลโดเฮกโซสเหมือนกัน แต่มีคุณสมบัติทั้งทางฟิสิกส์และเคมีต่างกัน
ด้วยข้อยกเว้นที่น้อย เช่น (deoxyribose) โมโนแซ็กคาไรด์มีสูตรเอมไพริกัล ดังนี้:
- (CH2O)n
โมโนแซ็กคาไรด์ไม่มีหมู่ฟังก์ชันคีโตน ก็จะเป็น อัลดีไฮด์ และหมู่ไฮดรอกซิลเป็นส่วนใหญ่ หรือ ทั้งหมดของคาร์บอน อะตอมที่ไม่ใช่ - โมโนแซ็กคาไรด์เกือบทั้งหมดมีสูตรโครงสร้างดังนี้ H(CHOH)nC=O(CHOH)mH ถ้า n หรือ m เป็น 0 มันจะเป็น หรือมิฉะนั้นก็เป็น
ไอโซเมอริซึม
จำนวนความเป็นไปได้ทั้งหมดของ (stereoisomer) ของสารปรกอบตัวหนึ่ง (n) เป็นอิสระต่อจำนวนของศูนย์ไครัล (chiral centers) (c) ในโมเลกุล: n = 2c
การตั้งชื่อโมโนแซ็กคาไรด์
โมโนแซ็กคาไรด์ ถูกจัดกลุ่มตามจำนวนของคาร์บอนอะตอมที่มีดังนี้:
- Monose - 1 คาร์บอนอะตอม
- Diose - 2 คาร์บอนอะตอม
- Triose - 3 คาร์บอนอะตอม
- Tetrose - 4 คาร์บอนอะตอม
- Pentose - 5 คาร์บอนอะตอม
- Hexose - 6 คาร์บอนอะตอม
- Heptose - 7 คาร์บอนอะตอม
- Octose - 8 คาร์บอนอะตอม
- Nonose - 9 คาร์บอนอะตอม
โมโนแซ็กคาไรด์ ที่ถูกจัดกลุ่มตามประเภทของหมู่ฟังก์ชัน มีดังนี้:
การจัดกลุ่มทั้งหมดนี้สามารถจะผสมผสานกันได้ เป็นผลให้มีชื่อดังนี้ D-อัลโดเฮกเซส (D-aldohexose) หรือ คีโตไตรโอส (ketotriose) โมโนแซ็กคาไรด์ถูกจัดกลุ่มตาม (configuration) ที่คาร์บอน 2:
- D หรือ d, การจัดเรียงตัวเหมือนใน D-
- L or l, การจัดเรียงตัวเหมือนใน L-
รายชื่อโมโนแซ็กคาไรด์
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของโมโนแซ็กคาไรด์บางตัว บางส่วนพบในธรรมชาติ บางส่วนได้จากการสังเคราะห์:
ปฏิกิริยา
- การเกิด
- การเกิด และ
- การเกิด
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "Carbohydrates". Chemistry for Biologists. Royal Society of Chemistry. สืบค้นเมื่อ 10 March 2017.
- Collins, Peter M.; Ferrier, Robert J. (1995). Monosaccharides : their chemistry and their roles in natural products (ภาษาอังกฤษ). Robert J. Ferrier. Chichester: Wiley & Sons. p. 4. ISBN . OCLC 30894482.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Nomenclature of Carbohydrates
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaena omonaeskkhaird phasaxngkvs monosaccharide hrux natalomelkulediyw epnrupaebbkharobihedrtthiphunthanthisud enuxngcakepnmxnxemxrkhxngkharobihedrt omonaeskkhaird prakxbdwyhnungomelkulkhxngnatal sungxyuinrupkhxngphlukkhxngaekhngimmisi lalaynaiddi mxonaeskkhairdbangtwmirshwan twxyangkhxngomonaeskkhaird midngni kluokhs glucose hrux dextrose frkoths fructose kaaelkoths galactose kluokhsepnnatalthisakhythisud ephraarangkaysamarthdudsumexaipichidodytrng tharangkaymikluokhsineluxdtakwa 90 110 millikrmtxlukbaskesntiemtrkhxngeluxd camixakarwingewiyn xxnephliy immiaerng aelaxacthaihhmdstiid phupwyhlngphatdcaidrbsarlalaykluokhs 0 6 0 9 phanthanghlxdeluxd rangkaysamarthdudsumkluokhsekhaipinphnnglaiselkidthnthi aetaepnghruxnatalchnidxun rangkayimsamarthnaipichidodytrng kluokhscathukdudsumipthilaiselk ephuxslayepnphlngnganihphxephiyngkbkhwamtxngkarkhxngrangkay thiehluxcanaipekbiwthitb ephuxrksaradbkluokhsineluxdaelasngipeliyngsmxng emuxrangkaykhadaekhlnphlngngan iklokhecnthithuksasmcathuknamaslayepnkluokhs sungthaptikiriyakbxxksiecnthierahayic eriykwaepnkarhayicradbesllokhrngsrangomonaeskkhairdepnokhrngsrangphunthankhxngidaeskkhaird xyangsuokhrs aelaphxliaeskkhaird echn eslluols aelaaepng yingipkwannaetlakharbxnxatxmthitidxyukbhmuihdrxksil ykewnxnaerkaelaxnsudthay epn chirality tamcanwnrupaebbkhxngixosemxr isomer thngthimisutrekhmiehmuxnkn twxyangechn kaaelkoths aelakluokhs thngsxngepnxlodehkossehmuxnkn aetmikhunsmbtithngthangfisiksaelaekhmitangkn dwykhxykewnthinxy echn deoxyribose omonaeskkhairdmisutrexmiphrikl dngni CH2O n omonaeskkhairdimmihmufngkchnkhiotn kcaepn xldiihd aelahmuihdrxksilepnswnihy hrux thnghmdkhxngkharbxn xatxmthiimich omonaeskkhairdekuxbthnghmdmisutrokhrngsrangdngni H CHOH nC O CHOH mH tha n hrux m epn 0 mncaepn hruxmichannkepn ixosemxrisum canwnkhwamepnipidthnghmdkhxng stereoisomer khxngsarprkxbtwhnung n epnxisratxcanwnkhxngsunyikhrl chiral centers c inomelkul n 2ckartngchuxomonaeskkhairdomonaeskkhaird thukcdklumtamcanwnkhxngkharbxnxatxmthimidngni Monose 1 kharbxnxatxm Diose 2 kharbxnxatxm Triose 3 kharbxnxatxm Tetrose 4 kharbxnxatxm Pentose 5 kharbxnxatxm Hexose 6 kharbxnxatxm Heptose 7 kharbxnxatxm Octose 8 kharbxnxatxm Nonose 9 kharbxnxatxm omonaeskkhaird thithukcdklumtampraephthkhxnghmufngkchn midngni CHO xldiihd C O khiotn karcdklumthnghmdnisamarthcaphsmphsanknid epnphlihmichuxdngni D xlodehkess D aldohexose hrux khiotitroxs ketotriose omonaeskkhairdthukcdklumtam configuration thikharbxn 2 D hrux d karcderiyngtwehmuxnin D L or l karcderiyngtwehmuxnin L raychuxomonaeskkhairdtxipniepnraychuxkhxngomonaeskkhairdbangtw bangswnphbinthrrmchati bangswnidcakkarsngekhraah Monose formaldehyde Diose Trioses and Tetroses Pentoses Aldo pentoses arabinose ribose Keto pentoses Hexoses Aldo ketoses galactose glucose mannose Keto hexoses fructose Heptoses Keto heptoses Octoses Nonoses ptikiriyakarekid karekid aela karekidduephimkharobihedrt idaeskkhaird oxliokaeskkhaird phxliaeskkhairdxangxing Carbohydrates Chemistry for Biologists Royal Society of Chemistry subkhnemux 10 March 2017 Collins Peter M Ferrier Robert J 1995 Monosaccharides their chemistry and their roles in natural products phasaxngkvs Robert J Ferrier Chichester Wiley amp Sons p 4 ISBN 0 471 95343 1 OCLC 30894482 aehlngkhxmulxunNomenclature of Carbohydratesbthkhwamchiwekhmi ekhmixinthriy aelaomelkulchiwphaphniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk