ในวิชาเลขคณิต วิธีหารแบบยุคลิด เป็นขั้นตอนการหารของจำนวนเต็มสองจำนวน ให้ผลลัพธ์เป็นและเศษ มีทฤษฎีบทกล่าวว่าผลหารและเศษมีอยู่หนึ่งเดียว และมีสมบัติบางประการ จำนวนเต็มคำนวณตัวตั้งและตัวหารเป็นผลหารและเศษ วิธีที่รู้จักกันโดยทั่วไปคือการหารยาว การหารจำนวนเต็มเป็นส่วนประกอบสำคัญสำหรับขั้นตอนวิธีการอื่นๆ เช่นขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดสำหรับหาตัวหารร่วมมากของสองจำนวน
ตัวอย่างโดยทั่วไป
สมมุติว่าพายชิ้นหนึ่งแบ่งเป็น 9 ชิ้นเล็ก คน 4 คนแบ่งพายเท่าๆ กัน โดยวิธีหารแบบยุคลิด 9 หารด้วย 4 ได้ 2 เศษ 1 นั่นคือแต่ละคนได้พาย 2 ชิ้น เหลือ 1 ชิ้น
ประโยคข้างต้นสามารถยืนยันโดยการคูณ การดำเนินการผกผันของการหาร: ถ้าคนทั้ง 4 ได้พายคนละ 2 ชิ้น แล้วพายที่แจกคนเหล่านี้มีจำนวน 4 × 2 = 8 ชิ้น เมื่อรวมกับอีก 1 ชิ้นที่เหลืออยู่จะได้ 9 ชิ้น ดังนั้น 9 = 4 × 2 + 1
โดยทั่วไป ถ้าจำนวนของชิ้นพายแทนด้วย a และจำนวนของคนคือ b สามารถแบ่งพายให้ทุกคน คนละเท่าๆกัน โดยแต่ละคนได้พาย q ชิ้น (ผลหาร)และพายจำนวน r < b ชิ้นเหลืออยู่(เศษ) สมการ a = bq + r เป็นจริงทุกกรณี
ถ้าพาย 9 ชิ้นถูกแบ่งให้คน 3 คน แทนที่จะเป็น 4 คน แต่ละคนจะได้พาย 3 ชิ้นและไม่มีพายเหลืออยู่ ในกรณีนี้ เศษเป็นศูนย์ เพราะ 3 หาร ลงตัว
การหารแบบยุคลิดขยายกรณีเป็นจำนวนเต็มลบได้โดยใช้สูตรเดียวกัน เช่น −9 = 4 × (−3) + 3 ดังนั้น −9 หารด้วย 4 ได้ −3 เศษ 3 เศษเป็นจำนวนเดียวในสี่จำนวนเหล่านี้ไม่สามารถเป็นลบได้
ประพจน์แสดงทฤษฎีบท
กำหนดจำนวนเต็ม และ ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์ จะมีจำนวนเต็ม และ เพียงหนึ่งคู่ที่ และ โดย แทนค่าสัมบูรณ์ของ
จำนวนทั้งสี่ที่ปรากฏในทฤษฎีบทนี้มีชื่อดังนี้ เรียกตัวตั้ง เรียกตัวหาร เรียกผลหาร และ เรียกเศษ
การคำนวณผลหารและเศษจากตัวตั้งและตัวหารเรียกว่าการหารหรือการหารแบบยุคลิดเพื่อเลี่ยงความกำกวม ทฤษฎีบทนี้มักกล่าวถึงด้วยชื่อขั้นตอนการหาร แม้ว่าจะเป็นทฤษฎีและไม่ใช่ขั้นตอนวิธี เพราะการพิสูจน์ก็ให้ขั้นตอนวิธีหารอย่างง่ายสำหรับคำนวณ และ
การหารไม่นิยามถ้า ดูหน้าการหารด้วยศูนย์
ตัวอย่าง
- ถ้า a = 7 และ b = 3 แล้ว q = 2 และ r = 1 เพราะ 7 = 3 × 2 + 1
- ถ้า a = 7 และ b = −3 แล้ว q = −2 และ r = 1 เพราะ 7 = −3 × (−2) + 1
- ถ้า a = −7 และ b = 3 แล้ว q = −3 และ r = 2 เพราะ −7 = 3 × (−3) + 2
- ถ้า a = −7 และ b = −3 แล้ว q = 3 และ r = 2 เพราะ −7 = −3 × 3 + 2
อ้างอิง
- Burton, David M. (2010). Elementary Number Theory. McGraw-Hill. pp. 17–19. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inwichaelkhkhnit withiharaebbyukhlid epnkhntxnkarharkhxngcanwnetmsxngcanwn ihphllphthepnaelaess mithvsdibthklawwaphlharaelaessmixyuhnungediyw aelamismbtibangprakar canwnetmkhanwntwtngaelatwharepnphlharaelaess withithiruckknodythwipkhuxkarharyaw karharcanwnetmepnswnprakxbsakhysahrbkhntxnwithikarxun echnkhntxnwithiaebbyukhlidsahrbhatwharrwmmakkhxngsxngcanwn17 thukaebngepn 3 klum klumla 5 odyehlux 2 inthini twtngkhux 17 twharkhux 5 phlharkhux 3 aelaesskhux 2 17 5 3 2twxyangodythwipphayaebngepn 9 chin mikhn 4 khn aetlakhnidphay 2 chin ehluxxik 1 chin smmutiwaphaychinhnungaebngepn 9 chinelk khn 4 khnaebngphayetha kn odywithiharaebbyukhlid 9 hardwy 4 id 2 ess 1 nnkhuxaetlakhnidphay 2 chin ehlux 1 chin praoykhkhangtnsamarthyunynodykarkhun kardaeninkarphkphnkhxngkarhar thakhnthng 4 idphaykhnla 2 chin aelwphaythiaeckkhnehlanimicanwn 4 2 8 chin emuxrwmkbxik 1 chinthiehluxxyucaid 9 chin dngnn 9 4 2 1 odythwip thacanwnkhxngchinphayaethndwy a aelacanwnkhxngkhnkhux b samarthaebngphayihthukkhn khnlaethakn odyaetlakhnidphay q chin phlhar aelaphaycanwn r lt b chinehluxxyu ess smkar a bq r epncringthukkrni thaphay 9 chinthukaebngihkhn 3 khn aethnthicaepn 4 khn aetlakhncaidphay 3 chinaelaimmiphayehluxxyu inkrnini essepnsuny ephraa 3 har lngtw karharaebbyukhlidkhyaykrniepncanwnetmlbidodyichsutrediywkn echn 9 4 3 3 dngnn 9 hardwy 4 id 3 ess 3 essepncanwnediywinsicanwnehlaniimsamarthepnlbidpraphcnaesdngthvsdibthkahndcanwnetm a displaystyle a aela b displaystyle b sungmikhaimepnsuny camicanwnetm q displaystyle q aela r displaystyle r ephiynghnungkhuthi a bq r displaystyle a bq r aela 0 r lt b displaystyle 0 leq r lt b ody b displaystyle b aethnkhasmburnkhxng b displaystyle b canwnthngsithipraktinthvsdibthnimichuxdngni a displaystyle a eriyktwtng b displaystyle b eriyktwhar q displaystyle q eriykphlhar aela r displaystyle r eriykess karkhanwnphlharaelaesscaktwtngaelatwhareriykwakarharhruxkarharaebbyukhlidephuxeliyngkhwamkakwm thvsdibthnimkklawthungdwychuxkhntxnkarhar aemwacaepnthvsdiaelaimichkhntxnwithi ephraakarphisucnkihkhntxnwithiharxyangngaysahrbkhanwn q displaystyle q aela r displaystyle r karharimniyamtha b 0 displaystyle b 0 duhnakarhardwysunytwxyangtha a 7 aela b 3 aelw q 2 aela r 1 ephraa 7 3 2 1 tha a 7 aela b 3 aelw q 2 aela r 1 ephraa 7 3 2 1 tha a 7 aela b 3 aelw q 3 aela r 2 ephraa 7 3 3 2 tha a 7 aela b 3 aelw q 3 aela r 2 ephraa 7 3 3 2xangxingBurton David M 2010 Elementary Number Theory McGraw Hill pp 17 19 ISBN 978 0 07 338314 9