บทความนี้ไม่มีจาก |
การแยกตัวประกอบ (อังกฤษ: factorization) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึงการแบ่งย่อยวัตถุทางคณิตศาสตร์ (เช่น จำนวน พหุนาม หรือเมทริกซ์) ให้อยู่ในรูปผลคูณของวัตถุอื่น ซึ่งเมื่อคูณตัวประกอบเหล่านั้นเข้าด้วยกันจะได้ผลลัพธ์ดังเดิม ตัวอย่างเช่น จำนวน 15 สามารถแยกตัวประกอบให้เป็นจำนวนเฉพาะได้เป็น 3 × 5 และพหุนาม สามารถแยกได้เป็น เป็นต้นจำนวนเชิงซ้อน (อังกฤษ : complex number) ในทางคณิตศาสตร์ คือ เซตที่ต่อเติมจากเซตของจำนวนจริงโดยเพิ่มจำนวน ซึ่งทำให้สมการ เป็นจริง และหลังจากนั้นเพิ่มสมาชิกตัวอื่น ๆ เข้าไปจนกระทั่งเซตที่ได้ใหม่มีสมบัติการปิดภายใต้การบวกและการคูณ จำนวนเชิงซ้อน ทุกตัวสามารถเขียนอยู่ในรูป โดยที่ และ เป็นจำนวนจริง โดยเราเรียก และ ว่าส่วนจริง (real part) และส่วนจินตภาพ (imaginary part) ของ ตามลำดับ
จุดมุ่งหมายของการแยกตัวประกอบคือการลดทอนวัตถุให้เล็กลง อาทิ จากจำนวนไปเป็นจำนวนเฉพาะ จากพหุนามไปเป็น (irreducible polynomial) การแยกตัวประกอบจำนวนเต็มเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต ส่วนการแยกตัวประกอบพหุนามเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต สำหรับพหุนาม สิ่งที่ตรงข้ามกับการแยกตัวประกอบคือ (polynomial expansion) ซึ่งเป็นการคูณตัวประกอบทุกตัวเข้าด้วยกันเป็นพหุนามใหม่
การแยกตัวประกอบจำนวนเต็มสำหรับจำนวนขนาดใหญ่อาจกลายเป็นข้อปัญหาที่ยุ่งยาก ซึ่งไม่มีวิธีใดที่สามารถแยกตัวประกอบจำนวนขนาดใหญ่ได้อย่างรวดเร็ว แต่ความยุ่งยากนี้เป็นประโยชน์ต่อการรักษาความปลอดภัยในขั้นตอนวิธีของการเข้ารหัสลับแบบกุญแจอสมมาตร อย่างเช่น RSA
สำหรับการแยกตัวประกอบของเมทริกซ์เรียกว่า (matrix decomposition) ซึ่งมีวิธีการที่เหมาะสมแตกต่างกันไปสำหรับเมทริกซ์นั้นๆ เช่น (QR decomposition) เป็นต้น วิธีหลักอย่างหนึ่งที่นิยมคือการทำให้เป็นผลคูณของ (orthogonal matrix) หรือ (unitary matrix) กับ (triangular matrix)
อีกตัวอย่างหนึ่งของการแยกตัวประกอบคือการแยกฟังก์ชันให้กลายเป็น (function composition) กับฟังก์ชันอื่นโดยมีเงื่อนไขที่เจาะจง ตัวอย่างเงื่อนไขเช่น ฟังก์ชันทุกฟังก์ชันสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของการประกอบของฟังก์ชันทั่วถึง (surjective function) กับฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (injective function) เป็นต้น
จำนวนเต็ม
พหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามกำลังสอง
พหุนามกำลังสองใดๆ บนจำนวนเชิงซ้อน (คือพหุนามที่อยู่ในรูป เมื่อ ) สามารถแยกตัวประกอบให้เป็นนิพจน์ที่อยู่ในรูป เมื่อ และ คือของพหุนาม ซึ่งคำนวณได้จากสูตรกำลังสองดังนี้
พหุนามที่สามารถแยกได้บนจำนวนเต็ม
บางครั้งพหุนามกำลังสองสามารถแยกออกได้เป็นทวินาม (binomial) สองตัวด้วยสัมประสิทธิ์ที่เป็นจำนวนเต็ม โดยไม่จำเป็นต้องใช้สูตรกำลังสองในการคำนวณ ซึ่งมีประโยชน์สำหรับการหารากของสมการกำลังสอง โดยที่พหุนาม
สามารถแยกได้เป็น
เมื่อ
จากนั้นจึงให้ทวินามแต่ละตัวเท่ากับศูนย์ แล้วคำนวณหาค่าของ x เพื่อหารากของสมการกำลังสอง
ไตรนามกำลังสองสมบูรณ์
พหุนามกำลังสองบางชนิดสามารถแยกตัวประกอบออกได้เป็นทวินามที่เหมือนกัน พหุนามนั้นเรียกว่า ไตรนามกำลังสองสมบูรณ์ หรือเพียงแค่ กำลังสองสมบูรณ์ ซึ่งพหุนามดังกล่าวสามารถแยกได้ดังนี้
ผลบวกและผลต่างกำลังสอง
การแยกตัวประกอบทางพีชคณิตอีกอย่างหนึ่งเรียกว่า ผลต่างกำลังสอง มีสูตรดังนี้
ซึ่งเป็นจริงสำหรับทั้งสองพจน์ ไม่ว่าจำนวนเหล่านั้นจะเป็นกำลังสองสมบูรณ์หรือไม่ ถ้าพจน์ทั้งสองลบกัน ก็ให้แทนด้วยสูตรดังกล่าวได้ทันที แต่ถ้าพจน์ทั้งสองบวกกัน ทวินามที่ได้จากการแยกตัวประกอบจะต้องมีจำนวนจินตภาพเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งแสดงได้ดังนี้
ตัวอย่างเช่น สามารถแยกได้เป็น เป็นต้น
การแยกตัวประกอบพหุนามอื่น ๆ
ผลบวกและผลต่างกำลังสาม
สูตรสำหรับการแยกตัวประกอบของผลบวกและผลต่างกำลังสามเป็นดังนี้ ผลบวกและผลต่างสามารถแยกตัวประกอบเป็น
เช่น x3 − 103 (or x3 − 1000) สามารถแยกตัวประกอบเป็น (x − 10)(x2 + 10x + 100)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karaeyktwprakxb xngkvs factorization inthangkhnitsastr hmaythungkaraebngyxywtthuthangkhnitsastr echn canwn phhunam hruxemthriks ihxyuinrupphlkhunkhxngwtthuxun sungemuxkhuntwprakxbehlannekhadwykncaidphllphthdngedim twxyangechn canwn 15 samarthaeyktwprakxbihepncanwnechphaaidepn 3 5 aelaphhunam x2 4 displaystyle x 2 4 samarthaeykidepn x 2 x 2 displaystyle x 2 x 2 epntncanwnechingsxn xngkvs complex number inthangkhnitsastr khux estthitxetimcakestkhxngcanwncringodyephimcanwn i displaystyle i sungthaihsmkar i2 1 0 displaystyle i 2 1 0 epncring aelahlngcaknnephimsmachiktwxun ekhaipcnkrathngestthiidihmmismbtikarpidphayitkarbwkaelakarkhun canwnechingsxn z displaystyle z thuktwsamarthekhiynxyuinrup x iy displaystyle x iy odythi x displaystyle x aela y displaystyle y epncanwncring odyeraeriyk x displaystyle x aela y displaystyle y waswncring real part aelaswncintphaph imaginary part khxng z displaystyle z tamladbphhunam x2 cx d emux a b c aela ab d samarthaeyktwprakxbihepn x a x b cudmunghmaykhxngkaraeyktwprakxbkhuxkarldthxnwtthuihelklng xathi cakcanwnipepncanwnechphaa cakphhunamipepn irreducible polynomial karaeyktwprakxbcanwnetmepnswnhnungkhxngthvsdibthmulthankhxngelkhkhnit swnkaraeyktwprakxbphhunamepnswnhnungkhxngthvsdibthmulthankhxngphichkhnit sahrbphhunam singthitrngkhamkbkaraeyktwprakxbkhux polynomial expansion sungepnkarkhuntwprakxbthuktwekhadwyknepnphhunamihm karaeyktwprakxbcanwnetmsahrbcanwnkhnadihyxacklayepnkhxpyhathiyungyak sungimmiwithiidthisamarthaeyktwprakxbcanwnkhnadihyidxyangrwderw aetkhwamyungyakniepnpraoychntxkarrksakhwamplxdphyinkhntxnwithikhxngkarekharhslbaebbkuyaecxsmmatr xyangechn RSA sahrbkaraeyktwprakxbkhxngemthrikseriykwa matrix decomposition sungmiwithikarthiehmaasmaetktangknipsahrbemthriksnn echn QR decomposition epntn withihlkxyanghnungthiniymkhuxkarthaihepnphlkhunkhxng orthogonal matrix hrux unitary matrix kb triangular matrix xiktwxyanghnungkhxngkaraeyktwprakxbkhuxkaraeykfngkchnihklayepn function composition kbfngkchnxunodymienguxnikhthiecaacng twxyangenguxnikhechn fngkchnthukfngkchnsamarthekhiynihxyuinrupkhxngkarprakxbkhxngfngkchnthwthung surjective function kbfngkchnhnungtxhnung injective function epntncanwnetmphhunamkaraeyktwprakxbphhunamkalngsxng phhunamkalngsxngid bncanwnechingsxn khuxphhunamthixyuinrup ax2 bx c displaystyle ax 2 bx c emux a b c C displaystyle a b c in mathbb C samarthaeyktwprakxbihepnniphcnthixyuinrup a x a x b displaystyle a x alpha x beta emux a displaystyle alpha aela b displaystyle beta khuxkhxngphhunam sungkhanwnidcaksutrkalngsxngdngni ax2 bx c a x a x b a x b b2 4ac2a x b b2 4ac2a displaystyle ax 2 bx c a x alpha x beta a left x left frac b sqrt b 2 4ac 2a right right left x left frac b sqrt b 2 4ac 2a right right dd phhunamthisamarthaeykidbncanwnetm bangkhrngphhunamkalngsxngsamarthaeykxxkidepnthwinam binomial sxngtwdwysmprasiththithiepncanwnetm odyimcaepntxngichsutrkalngsxnginkarkhanwn sungmipraoychnsahrbkarharakkhxngsmkarkalngsxng odythiphhunam ax2 bx c displaystyle ax 2 bx c dd samarthaeykidepn mx p nx q displaystyle mx p nx q dd emux mn a displaystyle mn a pq c displaystyle pq c pn mq b displaystyle pn mq b dd caknncungihthwinamaetlatwethakbsuny aelwkhanwnhakhakhxng x ephuxharakkhxngsmkarkalngsxng itrnamkalngsxngsmburn aephnphaphthiphisucnwa a b a 2ab b phhunamkalngsxngbangchnidsamarthaeyktwprakxbxxkidepnthwinamthiehmuxnkn phhunamnneriykwa itrnamkalngsxngsmburn hruxephiyngaekh kalngsxngsmburn sungphhunamdngklawsamarthaeykiddngni a b 2 a b a b a2 2ab b2 displaystyle a b 2 a b a b a 2 2ab b 2 a b 2 a b a b a2 2ab b2 displaystyle a b 2 a b a b a 2 2ab b 2 dd phlbwkaelaphltangkalngsxng karaeyktwprakxbthangphichkhnitxikxyanghnungeriykwa phltangkalngsxng misutrdngni a2 b2 a b a b displaystyle a 2 b 2 a b a b dd sungepncringsahrbthngsxngphcn imwacanwnehlanncaepnkalngsxngsmburnhruxim thaphcnthngsxnglbkn kihaethndwysutrdngklawidthnthi aetthaphcnthngsxngbwkkn thwinamthiidcakkaraeyktwprakxbcatxngmicanwncintphaphekhamaekiywkhxng sungaesdngiddngni a2 b2 a bi a bi displaystyle a 2 b 2 a bi a bi dd twxyangechn 4x2 49 displaystyle 4x 2 49 samarthaeykidepn 2x 7i 2x 7i displaystyle 2x 7i 2x 7i epntn karaeyktwprakxbphhunamxun phlbwkaelaphltangkalngsam sutrsahrbkaraeyktwprakxbkhxngphlbwkaelaphltangkalngsamepndngni phlbwkaelaphltangsamarthaeyktwprakxbepn a3 b3 a b a2 ab b2 displaystyle a 3 b 3 a b a 2 ab b 2 a3 b3 a b a2 ab b2 displaystyle a 3 b 3 a b a 2 ab b 2 echn x3 103 or x3 1000 samarthaeyktwprakxbepn x 10 x2 10x 100 bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk