ในทางคณิตศาสตร์ พหุนามกำลังสอง คือพหุนามที่มีดีกรีเท่ากับ 2 นั่นคือ เลขชี้กำลังของตัวแปรทุกตัวมีค่าไม่เกิน 2 เช่น x2 − 4x + 7 เป็นพหุนามกำลังสอง แต่ x3 − 4x + 7 ไม่เป็นพหุนามกำลังสอง
สัมประสิทธิ์
สัมประสิทธิ์ของพหุนามกำลังสองมักเป็นจำนวนจริง หรือจำนวนเชิงซ้อน แต่ในความเป็นจริงแล้วพหุนามสามารถนิยามบนริงใด ๆ ได้
ตัวแปร
พหุนามกำลังสองอาจมีตัวแปรเพียงตัวแปรเดียว หรือหลายตัวแปรก็ได้
พหุนามกำลังสองตัวแปรเดียว
พหุนามกำลังสองตัวแปรเดียวใด ๆ สามารถเขียนในรูป
เมื่อ x เป็นตัวแปร และ a, b, c เป็นสัมประสิทธิ์
พหุนามกำลังสองสองตัวแปร
พหุนามกำลังสองสองตัวแปรใด ๆ สามารถเขียนได้ในรูป
โดยที่ x และ y เป็นตัวแปร และ a , b , c , d , e , f เป็นสัมประสิทธิ์ พหุนามกำลังสองสองตัวแปรเป็นรากฐานของการศึกษาภาคตัดกรวย
อ้างอิง
- Algebra 1, Glencoe,
- Algebra 2, Saxon,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangkhnitsastr phhunamkalngsxng khuxphhunamthimidikriethakb 2 nnkhux elkhchikalngkhxngtwaeprthuktwmikhaimekin 2 echn x2 4x 7 epnphhunamkalngsxng aet x3 4x 7 imepnphhunamkalngsxngsmprasiththismprasiththikhxngphhunamkalngsxngmkepncanwncring hruxcanwnechingsxn aetinkhwamepncringaelwphhunamsamarthniyambnringid idtwaeprphhunamkalngsxngxacmitwaeprephiyngtwaeprediyw hruxhlaytwaeprkid phhunamkalngsxngtwaeprediyw phhunamkalngsxngtwaeprediywid samarthekhiyninrup ax2 bx c displaystyle ax 2 bx c emux x epntwaepr aela a b c epnsmprasiththi phhunamkalngsxngsxngtwaepr phhunamkalngsxngsxngtwaeprid samarthekhiynidinrup ax2 bxy cy2 dx ey f displaystyle ax 2 bxy cy 2 dx ey f odythi x aela y epntwaepr aela a b c d e f epnsmprasiththi phhunamkalngsxngsxngtwaeprepnrakthankhxngkarsuksaphakhtdkrwyxangxingAlgebra 1 Glencoe ISBN 0 07 825083 8 Algebra 2 Saxon ISBN 0 939798 62 X