บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
อีโอซิฟ วิสซารีโอโนวิช สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин, : Iosif Vissarionovich Stalin, สัทอักษรสากล: [ɪˈosʲɪf vʲɪsərʲɪˈonəvʲɪt͡ɕ ˈstalʲɪn]) หรือ โจเซฟ สตาลิน (อังกฤษ: Joseph Stalin; 18 ธันวาคม [ตามปฎิทินเก่า: 6 ธันวาคม] ค.ศ. 1878 – 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นนักปฏิวัติและผู้นำทางการเมืองโซเวียตซึ่งปกครองสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ ค.ศ. 1924 จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1953 เขาได้ขึ้นเถลิงอำนาจด้วยการขึ้นดำรงตำแหน่งทั้งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1922-1952) และประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1941-1953) แม้ว่าในช่วงแรกจะปกครองประเทศด้วยการเป็นส่วนหนึ่งของ จนในที่สุดเขาก็รวบอำนาจได้อย่างเบ็ดเสร็จจนกลายเป็นเผด็จการแห่งสหภาพโซเวียต ใน ค.ศ. 1930 ในอุดมการณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ที่มุ่งมั่นถึงการตีความลัทธิมากซ์ของฝ่ายนิยมลัทธิเลนิน สตาลินได้เรียกแนวคิดนี้อย่างเป็นทางการว่า ลัทธิมากซ์-เลนิน ในขณะที่นโยบายของเขาเองที่ได้เรียกกันว่า ลัทธิสตาลิน
โจเซฟ สตาลิน Иосиф Сталин | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาพถ่ายสตาลินเมื่อ ค.ศ. 1937 ซึ่งถูกนำไปใช้เป็นโฆษณาชวนเชื่อโดยรัฐบาลสหภาพโซเวียต | |||||||||||||||||
เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งสหภาพโซเวียต | |||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 3 เมษายน 1924 – 16 ตุลาคม 1952 | |||||||||||||||||
ก่อนหน้า | วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ (ในฐานะ) | ||||||||||||||||
ถัดไป | เกออร์กี มาเลนคอฟ (โดยพฤตินัย) | ||||||||||||||||
ประธานคณะกรรมการราษฎร แห่งสหภาพโซเวียต | |||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 6 พฤษภาคม 1941 – 15 มีนาคม 1946 | |||||||||||||||||
ก่อนหน้า | วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ | ||||||||||||||||
ถัดไป | ตัวเอง (ในตำแหน่งประธานสภารมต.) | ||||||||||||||||
ประธานสภารัฐมนตรีสหภาพโซเวียต | |||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 15 มีนาคม 1946 – 5 มีนาคม 1953 | |||||||||||||||||
ประธานาธิบดี | มีฮาอิล คาลีนิน | ||||||||||||||||
รองประธาน | |||||||||||||||||
ก่อนหน้า | วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ | ||||||||||||||||
ถัดไป | เกออร์กี มาเลนคอฟ | ||||||||||||||||
กรรมการราษฎรฝ่ายชนชาติ | |||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 8 พฤศจิกายน 1917 – 7 กรกฎาคม 1923 | |||||||||||||||||
หัวหน้ารัฐบาล | วลาดีมีร์ เลนิน | ||||||||||||||||
ก่อนหน้า | ไม่มี (สถาปนาตำแหน่ง) | ||||||||||||||||
ถัดไป | ไม่มี (ยุบตำแหน่ง) | ||||||||||||||||
กรรมการราษฎรฝ่ายกลาโหม | |||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 19 กรกฎาคม 1941 – 15 มีนาคม 1946 | |||||||||||||||||
หัวหน้ารัฐบาล | ตัวเอง | ||||||||||||||||
ก่อนหน้า | |||||||||||||||||
ถัดไป | ตัวเอง (ในตำแหน่งรมว.กลาโหม) | ||||||||||||||||
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | |||||||||||||||||
ดำรงตำแหน่ง 15 มีนาคม 1946 – 3 มีนาคม 1947 | |||||||||||||||||
หัวหน้ารัฐบาล | ตัวเอง | ||||||||||||||||
ก่อนหน้า | ตัวเอง (ในตำแหน่งกรรมการราษฎรฯ) | ||||||||||||||||
ถัดไป | นีโคไล บุลกานิน | ||||||||||||||||
ข้อมูลส่วนบุคคล | |||||||||||||||||
เกิด | โยเซบ เบซาริโอนิส ดซูกัสวิลี 18 ธันวาคม ค.ศ. 1878 โกรี เขตผู้ว่าการติฟลิส จักรวรรดิรัสเซีย | ||||||||||||||||
เสียชีวิต | 5 มีนาคม ค.ศ. 1953 มอสโก สหภาพโซเวียต | (74 ปี)||||||||||||||||
สาเหตุการเสียชีวิต | เลือดออกในสมองใหญ่ | ||||||||||||||||
พรรคการเมือง |
| ||||||||||||||||
คู่สมรส |
| ||||||||||||||||
บุตร |
| ||||||||||||||||
บุพการี |
| ||||||||||||||||
การศึกษา | |||||||||||||||||
รางวัล | |||||||||||||||||
ลายมือชื่อ | |||||||||||||||||
ชื่อเล่น | โคบา | ||||||||||||||||
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |||||||||||||||||
รับใช้ | สหภาพโซเวียต | ||||||||||||||||
สังกัด | กองทัพแดง | ||||||||||||||||
ประจำการ |
| ||||||||||||||||
ยศ | จอมพลสูงสุด | ||||||||||||||||
สงคราม/การสู้รบ | |||||||||||||||||
Central institution membership
| |||||||||||||||||
เขาเกิดในครอบครัวยากจนจากเมืองกอรี ในจักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันคือ ประเทศจอร์เจีย) สตาลินได้เข้าเรียนที่ (Tbilisi Spiritual Seminary) ก่อนที่จะเข้าร่วมพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซียของฝ่ายนิยมลัทธิมากซ์ในที่สุด เขาได้ทำการแก้ไขหนังสือพิมพ์ประจำพรรคที่มีชื่อว่า ปราฟดา("ความจริง") และระดมเงินทุนให้กับกลุ่มบอลเชวิคของวลาดีมีร์ เลนิน ผ่านทางการโจรกรรม การลักพาตัว และเงินค่าคุ้มครอง ซึ่งถูกจับกุมมาหลายครั้งแล้ว เขาจึงถูกเนรเทศภายในประเทศมาหลายครั้งเช่นกัน ภายหลังจากที่พวกบอลเชวิคได้เข้ายึดอำนาจในช่วงการปฏิวัติเดือนตุลาคม และสร้างรัฐพรรคการเมืองเดียวภายใต้พรรคคอมมิวนิสต์ที่ก่อตั้งขึ้นมาใหม่ใน ค.ศ. 1917 สตาลินได้เข้าร่วมกับโปลิตบูโรในการปกครอง เข้าเป็นทหารในสงครามกลางเมืองรัสเซีย ก่อนที่จะเข้าควบคุมดูแลการก่อตั้งสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1922 สตาลิน ภายหลังการเสียชีวิตของเลนินใน ค.ศ. 1924 ภายใต้การนำของสตาลิน ลัทธิสังคมนิยมในประเทศเดียวกลายเป็นหลักการที่สำคัญของความเชื่อของพรรค ด้วยผลลัพธ์มาจากที่ถูกดำเนินภายใต้การนำของเขา ประเทศได้ทำการรวบรวมผลผลิตทางเกษตรกรรมโดยรวม(agricultural collectivisation) และการทำให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว การสร้างเศรษฐกิจโดยสั่งการแบบรวมอำนาจ (a centralised command economy) สิ่งเหล่านี้นำไปสู่การหยุดชะงักของการผลิตอาหารอย่างรุนแรง ซึ่งมีส่วนทำให้เกิด เพื่อเป็นการกำจัดผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็น "" สตาลินได้จัดตั้งการกวาดล้างครั้งใหญ่ ซึ่งมีผู้ที่ถูกคุมขังจำนวนมากกว่าหนึ่งล้านคนและจำนวนผู้ถูกประหารชีวิตอย่างน้อย 700,000 คน ระหว่างปี ค.ศ. 1934 และ ค.ศ. 1939 ใน ค.ศ. 1937 เขาสามารถควบคุมพรรคและรัฐบาลได้อย่างเบ็ดเสร็จ
สตาลินได้ส่งเสริมลัทธิมากซ์-เลนินจากต่างประเทศผ่านทางองค์การคอมมิวนิสต์สากล และให้การสนับสนุนขบวนการในยุโรปในช่วงปี ค.ศ. 1930 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามกลางเมืองสเปน ใน ค.ศ. 1939 ระบอบการปกครองของเขาได้ลงนามในกติกาสัญญาไม่รุกรานกันกับนาซีเยอรมนี ส่งผลทำให้โซเวียตบุกครองโปแลนด์ เยอรมนีได้ยุติกติกาสัญญาที่ได้ทำกันมาโดยการรุกรานสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1941 แม้ว่าจะพ่ายแพ้ในช่วงแรก แต่กองทัพแดงกลับสามารถขับไล่เยอรมันผู้รุกรานไปได้และเข้ายึดครองกรุงเบอร์ลินใน ค.ศ. 1945 ซึ่งทำให้สงครามโลกครั้งที่สองในยุโรปได้ยุติลง ท่ามกลางสงคราม โซเวียตได้ผนวกรัฐบอลติกและจัดตั้งรัฐบาลที่เป็นแนวร่วมกับโซเวียตทั่วทั้งยุโรปกลางและตะวันออก จีน และ สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาได้กลายเป็นอภิมหาอำนาจโลกและเข้าสู่ช่วงเวลาแห่งความตึงเครียด สงครามเย็น สตาลินได้เป็นผู้นำในการฟื้นฟูสภาพหลังสงครามของโซเวียตและใน ค.ศ. 1949 ในช่วงปีเหล่านี้ ประเทศกำลังประสบและการณรงค์ต่อต้านชาวยิวซึ่งนำไปสู่ (doctors' plot) ภายหลังจากใน ค.ศ. 1953 ในที่สุดเขาก็ได้รับการสืบทอดตำแหน่งโดยนีกีตา ครุชชอฟ ซึ่งต่อมาในภายหลังได้กล่าวประณามถึงความโหดร้ายจากการปกครองของเขาและริเริ่มการล้มล้างอิทธิพลของสตาลินใน
จากการที่ได้รับการนับถืออย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่สำคัญที่สุดในทศวรรษที่ 20 สตาลินเป็นหัวข้อของลัทธิบูชาบุคคลที่ได้กระจายแพร่หลายภายในขบวนการลัทธิมากซ์-เลนินระดับสากล ซึ่งได้เคารพเทิดทูนในฐานะนักสู้แห่งชนชั้นกรรมกรและสังคมนิยม นับตั้งแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต สตาลินยังคงได้รับความนิยมในรัสเซียและจอร์เจียในฐานะผู้นำยามสงครามที่ได้รับชัยชนะ ซึ่งยึดมั่นสถานะของสหภาพโซเวียตในฐานะมหาอำนาจโลกที่สำคัญ ในทางตรงกันข้าม ระบอบการปกครองของเขาถูกมองว่าเป็นเผด็จการ และถูกประณามอย่างกว้างขวางจากการควบคุมดูแล การประหารชีวิตนับแสนครั้ง และทุพภิกขภัยที่ได้คร่าชีวิตผู้คนนับล้าน
ครอบครัวและในวัยเด็ก
ก่อนหน้าการเกิดของสตาลิน บิดาและมารดาของเขาได้ให้กำเนิดบุตรมาแล้วถึง 2 คน แต่ก็เสียชีวิตหลังจากเกิดได้ไม่นาน จนมีบุตรคนที่ 3 ซึ่งก็คือสตาลิน ภายหลังการเกิดนั้น มารดาของสตาลินได้สวดอ้อนวอนอธิษฐานต่อพระผู้เป็นเจ้าไม่ให้พรากชีวิตบุตรชายของเธอไป พร้อมกับอธิษฐานว่าเธอและบุตรชาย จะอุทิศตนเองเพื่อพระผู้เป็นเจ้าตลอดไป
สตาลิน มีชื่อเล่นในวัยเด็กคือ โซซา ซึ่งพ่อของเขาเป็นช่างทำรองเท้า ชอบทุบตีคนในครอบครัวยามเมาสุราเสมอ ต่อมาพ่อของเขาต้องย้ายไปอยู่ที่เมืองทิฟลิส ทำให้สตาลินต้องอาศัยอยู่กับมารดาเพียงคนเดียวในจอร์เจีย ซึ่งเมืองที่เขาอยู่ ก็เต็มไปด้วยอาชญากรรม การเอารัดเอาเปรียบ ความรุนแรงตามท้องถนน จึงทำให้สภาพแวดล้อมสังคมและความรุนแรงในครอบครัวบ่มนิสัยสตาลินให้เป็นคนก้าวร้าว และเกิดความเกลียดชังชาวยิวที่อยู่ในเมือง ทั้ง ๆ ที่เมืองที่เขาอยู่ ไม่มีใครต่อต้านชาวยิวเลย ซึ่งชาวยิวอยู่ร่วมกับคนพื้นเมืองมานานอย่างสันติ นิยมประกอบอาชีพนายทุนเงินกู้ พ่อค้า ช่างตัดเสื้อ ช่างตัดรองเท้า เป็นต้น ประกอบกับครอบครัวที่ลำบาก ส่งผลให้มารดาของเขาต้องไปกู้เงินจากนายทุนชาวยิวซึ่งเรียกดอกเบี้ยราคาแพง และจะเข้ามายึดสิ่งของในบ้านเป็นค่าปรับเมื่อผิดนัดชำระดอกเบี้ย ทำให้เขาเกลียดแค้นชาวยิวและอยากแก้แค้นอยู่เสมอ นอกเหนือจากนั้น ชีวิตสตาลินก็เป็นเด็กที่เรียนดี ทั้งที่พ่อแม่ของเขาไม่รู้หนังสือและครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ลำบาก
การศึกษาในโรงเรียนสามเณรกอรี
มารดาของสตาลินเป็นผู้เคร่งในศีลธรรม เธอจึงตัดสินใจให้สตาลินบวชเป็นพระและเข้าเรียนในโรงเรียนสามเณรกอรี ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนศาสนาแห่งหนึ่ง ในปี ค.ศ. 1888 ด้วยความอุปการะจากเศรษฐีชาวจอร์เจียชื่อยาคอฟที่มารดาของเขาทำงานรับจ้างเป็นแม่บ้าน ซึ่งสตาลินเป็นคนที่สำนึกในบุญคุณคน เมื่อเขามีบุตรชายคนแรก เขาได้ตั้งชื่อว่ายาคอฟ ตั้งตามชื่อผู้ที่อุปการะเขา
ด้านการเรียนนั้น สตาลินเป็นคนขยัน และมีความจำดี และหัวไว ทำให้ได้รับทุนการศึกษาของโรงเรียน และได้รับเลือกให้เป็นนักเรียนตัวอย่าง ซึ่งทุก ๆ ปี หนังสือพิมพ์ของสำนักสงฆ์นิกายจอร์เจียนออโธดอกซ์แห่งเมืองกอรี จะตีพิมพ์รายชื่อของนักเรียนที่สอบได้คะแนนดีที่สุดในชั้น ซึ่งชื่อของสตาลิน ได้อยู่ลำดับที่ 1 ทุกครั้ง นอกเหนือจากนั้น หลังการสอบปลายภาคทุกครั้ง สตาลินยังได้รับประกาศนียบัตรเรียนดีที่โรงเรียนมอบให้ผู้ที่สอบได้ลำดับที่ 1 ของชั้นเรียน และเขายังได้รับประกาศนียบัตรความก้าวหน้าในการเรียน
สตาลินมีพรสวรรค์ด้านการขับร้องเพลง ครูที่โรงเรียนจึงฝึกให้เขาเพิ่มเติม จากนั้นสองปี สตาลินก็ร้องเพลงได้อย่างกับนักร้องอาชีพ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยคอนดักเตอร์ พร้อมกับเป็นหัวหน้าคณะนักร้อง โดยสตาลินเองมักถูกจ้างไปร้องเพลงในงานแต่งงานเสมอ
ความชื่นชอบในการละเล่นและกีฬา สตาลินชื่นชอบการตะลุมบอน เป็นการละเล่นและกีฬาพื้นเมือง ที่แบ่งกลุ่มผู้เล่นออกไป 2 ฝั่ง จากนั้นก็จะเข้าตะลุมบอนกันแบบไม่มีความปรานี โดยสตาลินขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่มได้ทั้งที่อายุน้อยและแข็งแกร่งน้อยกว่าลูกน้องในทีมของตัวเอง 3 คน แต่เขาก็มีสิ่งที่ทดแทนคือความคล่องแคล่วว่องไว สตาลินตั้งฉายาให้กลุ่มเพื่อน 3 คนของเขาว่า สามทหารเสือ ซึ่งสตาลินไม่เคยลืมเพื่อนของเขาเลย แม้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 สตาลินวัย 60 ปี ที่เป็นผู้นำสหภาพโซเวียตในขณะนั้น ได้ส่งเงินส่วนตัวไปให้กับเพื่อนทั้ง 3 คนนี้คนละหลายหมื่นรูเบิล และมีข้อความในจดหมายว่า "โปรดรับของขวัญเล็กน้อยนี้จากฉันด้วย จากโซซ่าของพวกนาย" โดยเพื่อนหนึ่งในสามของสตาลินได้กล่าวอีกว่า "เขาไม่เคยลืมพวกเรา และมักจะส่งการ์ดมาให้เราเมื่อถึงวันเกิด หรือวันสำคัญอื่น ๆ เสมอ ครั้งหนึ่งเขาก็เคยส่งการ์ดที่เขียนว่า ขอให้อยู่หมื่นปี มาให้ผม"
นอกเหนือจากเพื่อนสนิทสามทหารเสือแล้ว สตาลินยังมีเพื่อนสนิทอีกคนที่มาจากละแวกใกล้บ้านชื่อ ซิมอน เขาเป็นคนเกเร นิยมความรุนแรง ซึ่งสตาลินสามารถควบคุมและทำให้เขาเคารพได้ และได้กลายเป็นมือสังหารคนสำคัญของสตาลินในขณะทำงานปฏิวัติรัสเซีย
สิ่งที่สตาลินสนใจมากเป็นพิเศษอีกอย่าง คือการอ่านหนังสือ เพราะความขาดแคลนหนังสือ ทำให้เขามีความกระหายอ่านใฝ่รู้ และมักไปขอยืมหนังสือจากห้องสมุดของเมืองกอรี่มาอ่านเสมอ สตาลินชื่นในวรรณกรรมเรื่อง Otezubiza ซึ่งชื่อตัวละครเอก ชื่อ โคบา เป็นโจรปล้นคนรวยมาช่วยเหลือคนจน โดยสตาลินมีตวามฝันอยากจะเป็นโคบาคนที่สอง
ในวันคริสต์มาสอีฟ ของนิกายออโธดอกซ์ กลุ่มนักร้องประสานเสียงของโรงเรียนสามเณรกอรี่ โดยหนึ่งในนั้นมีสตาลินรวมอยู่ด้วย ได้มายืนร้องเพลงสวดที่ริมสะพานข้ามแม่น้ำคูร์ ก็ได้เกิดอุบัติเหตุมีรถม้าวิ่งพุ่งเข้าชนกลุ่มนักร้องประสานเสียง ซึ่งสตาลินโชคร้ายที่ม้าได้ชนสตาลินและล้อรถทับข้อมือซ้ายของเขาหัก และด้วยความยากจนทำให้มารดาของสตาลินไม่สามารถพาเขาไปรักษาข้อมือซ้ายได้ เขามือซ้ายของเขาจึงพิการตั้งแต่นั้นมา
และในปี ค.ศ.1894 สตาลินก็จบการศึกษาด้วยคะแนนยอดเยี่ยม และได้รับทุนศึกษาต่อที่วิทยาลัยสงฆ์แห่งทิฟลิส ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในชีวิตของเขา
นโยบายต่างประเทศ
โจเซฟ สตาลินนำสหภาพโซเวียตก้าวขึ้นเป็นมหาอำนาจของโลก เป็นหนึ่งในขั้วอำนาจในสงครามเย็นกับสหรัฐอเมริกาหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 1945 โซเวียตมีฐานะที่มั่นคงแข็งแรงทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และการทหารมากขึ้น แม้ว่าทางการทหารจะยังเป็นรองสหรัฐอเมริกาในระยะแรกก็ตาม หลังจากนั้นสตาลินได้เปลี่ยนท่าทีหันมาดำเนินนโยบายรุนแรง กวาดล้างผู้เป็นปรปักษ์จำนวนมากและมีนโยบายแข็งกร้าวต่อต้านสหรัฐอเมริกา ซึ่งโซเวียตมองว่าเป็นศัตรูหมายเลขหนึ่ง
สิ่งแรกที่โซเวียตเร่งดำเนินการก็คือ สนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์ให้ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในยุโรปตะวันออกเป็นแบบ ภายใต้การชี้นำของโซเวียต สนับสนุน ให้เป็นเครื่องมือในการทำลายของอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน และสหรัฐ สำหรับประเทศยุโรปตะวันออกนั้นมีความสำคัญต่อโซเวียตเป็นอย่างยิ่งในทางภูมิรัฐศาสตร์ ถือเป็นดุลอำนาจให้แก่โซเวียตในการแข่งขันกับกลุ่มประเทศทุนนิยมที่พัฒนาแล้ว
การผนึกกำลังฝ่ายคอมมิวนิสต์
สตาลินได้จัดตั้งโคมินฟอร์ม (Communist Information Bureau หรือ Cominform) ในเดือนกันยายน ปี 1947 เพื่อใช้สำนักงานนี้เป็นเครื่องมือในการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์ของประเทศอื่นให้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และอยู่ในวินัยที่เคร่งครัด ภายใต้การควบคุมของโซเวียต แม้ว่าสตาลินจะถือ (Peaceful Co-Existence) ก็เพียงชั่วคราวเพื่อผลประโยชน์เฉพาะหน้าเท่านั้น ยังมีความเชื่อมั่นตามอุดมการณ์ที่จะเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าไปในประเทศต่างๆ และเห็นว่าสงครามการปะทะกันระหว่างฝ่ายนายทุนกับสังคมนิยมนั้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ดังนั้นนโยบายของสตาลินในช่วงนี้จึงนิยมความรุนแรงและรุกราน พยายามที่จะแยกประชาชาติต่างๆในยุโรปมิให้รวมกันได้ อาจกล่าวได้ว่าฝ่ายสหภาพโซเวียตริเริ่มทำให้เกิดสงครามเย็นระหว่างโลกตะวันตกหรือโลกเสรีซึ่งสหรัฐเป็นผู้นำ กับโลกตะวันออกหรือค่ายสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ที่โซเวียตเป็นผู้นำ ทำให้โลกอยู่ในสภาวะ 2 ศูนย์อำนาจอย่างเคร่งครัด สตาลินมีนโยบายรวบรวมผนึกกำลังฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไว้ด้วยกัน ภายใต้อาณัติของสหภาพโซเวียตอย่างเข้มงวด โดยใช้กำลังทหารและการบีบคั้นทางด้านอื่น เช่นทางเศรษฐกิจ เป็นต้น ทำให้ประเทศในค่ายสังคมนิยมในยุโรปตะวันออกถูกขนานนามว่าเป็น (Soviet Satellite หรือ Soviet Bloc) ซึ่งเรียกว่า ลัทธิสตาลิน (Stalinism)
การแทรกแซงการเมืองในประเทศอื่น
นอกจากนี้โซเวียตยังเข้าไปมีบทบาทแทรกแซงการเมืองในประเทศอื่นๆ อีก เช่นในปี 1947 ได้สนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์ให้ยึดครองกรีซ (เหตุการณ์ครั้งนี้พรรคคอมมิวนิสต์กระทำการไม่สำเร็จ เพราะสหรัฐอเมริกาได้เข้ามาสกัดกั้น ให้ความช่วยเหลือกรีซและตุรกีตามแผนการมาแชล) และวิกฤตการณ์ปิดล้อมเบอร์ลิน ค.ศ. 1948 – 1949 (ทำให้มีการเผชิญหน้ากับมหาอำนาจตะวันตกคืออังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐ จนต้องแบ่งแยกเยอรมันออกเป็น 2 ประเทศโดยเด็ดขาด) นอกจากนี้ก็มีเหตุการณ์ที่สตาลินขับไล่ ยูโกสลาเวีย ภายใต้การนำของติโต้ออกจากองการณ์โคมินฟอร์มในปี 1948 และ ในปี 1949 ก็ประสบความสำเร็จในการสร้างในการคิดสร้างอาวุธนิวเคลียร์เพื่อแข่งขันกับสหรัฐอเมริกา และปีเดียวกันก็จัดตั้ง สภาเพื่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ:Council for Mutual Economic Assistance หรือ Comecon (โคเมคอน) หรือ CEMA (ซีมา) เพื่อต่อต้านองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป
นโยบายต่างประเทศ-จีน
โซเวียตมีอิทธิพลมากขึ้น ให้ความช่วยเหลือจีนภายหลังจากที่คอมมิวนิสต์ภายใต้การนำของเหมาเจ๋อตุง ปฏิวัติสำเร็จเมื่อ 1949 โซเวียตต้องการครอบงำจีนไว้เป็นมิตรทางยุทธศาสตร์ เพื่อสกัดกั้นญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา แม้ว่าโซเวียตจะมีสนธิสัญญาพันธมิตรกับจีนเมื่อปี 1950 และมีอายุ 30 ปีก็ตาม แต่โซเวียตต้องการจะครอบงำจีนและขาดความจริงใจในการช่วยเหลือจีน จึงกลายเป็นเรื่องขัดแย้งต่อมาภายหลัง การที่โซเวียตสนับสนุนช่วยเหลือเกาหลีเหนือบุกเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี 1950 ซึ่งแม้โซเวียตไม่ได้ประจันหน้าโดยตรงเพราะจีนเข้ามามีบทบาทแทนโซเวียต ตลอดจนการสนับสนุนเวียดมินห์ภายใต้การนำของโฮจิมินห์ ต่อต้านฝรั่งเศสตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงจนประสบชัยชนะในปี 1954 เหตุการณ์ที่กล่าวมาเป็นเรื่องที่โซเวียตเข้าไปมีบทบาทแทรกแซงเพื่อการขยายอำนาจและอิทธิพลของโซเวียต
สรุปได้ว่า นโยบายต่างประเทศสมัยสตาลินเป็นไปในทางรุกแข็งกร้าว เพื่อสร้างอำนาจให้แข็งแกร่งมีความเป็นปึกแผ่นในค่ายสังคมนิยม ภายใต้อิทธิพลของโซเวียตเพื่อแข่งขันและสกัดกั้นอิทธิพลของฝ่ายตะวันตกและสหรัฐ จนกระทั่งสตาลินถึงแก่กรรมในปี 1953 ด้วยวัย 75 ปี
อ้างอิง
- วิกรม กรมดิษฐ์, มองซีอีโอโลก ภาค 7, โพสต์ พับลิชชิง, 2553
2. เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์, สตาลิน อำนาจบนซากศพ , กรุงเทพมหานคร: Animate Group, ISBN 978-616-7030-17-3
แหล่งข้อมูลอื่น
ก่อนหน้า | โจเซฟ สตาลิน | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ | ประธานคณะกรรมการราษฎรสหภาพโซเวียต (6 พฤษภาคม 1941 – 15 มีนาคม 1946) | ตัวเอง ในตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรี | ||
ตัวเอง ในตำแหน่งประธานคณะกรรมการราษฎร | ประธานสภารัฐมนตรีสหภาพโซเวียต (15 มีนาคม 1946 – 5 มีนาคม 1953) | เกออร์กี มาเลนคอฟ | ||
ไม่มี | กรรมการราษฎรฝ่ายชนชาติ (8 พฤศจิกายน 1917 – 7 กรกฎาคม 1923) | ไม่มี | ||
เซมิออน ตีโมเชนโค | กรรมการราษฎรฝ่ายกลาโหม (19 กรกฎาคม 1941 – 15 มีนาคม 1946) | ตัวเอง ในตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | ||
ตัวเอง ในตำแหน่งกรรมการราษฎรฝ่ายกลาโหม | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (15 มีนาคม 1946 – 3 มีนาคม 1947) | นีโคไล บุลกานิน | ||
วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ ในตำแหน่ง เลขาธิการผู้รับผิดชอบ | เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (3 เมษายน 1922 – 16 ตุลาคม 1952) | นิกิตา ครุสชอฟ | ||
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ | บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ (ค.ศ. 1939) | วินสตัน เชอร์ชิล | ||
แฟรงคลิน ดี. รูสเวลท์ | บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ (ค.ศ. 1942) | จอร์จ มาร์แชล |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul ocesf stalin khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir xioxsif wissarioxonwich stalin rsesiy Iosif Vissarionovich Stalin Iosif Vissarionovich Stalin sthxksrsakl ɪˈosʲɪf vʲɪserʲɪˈonevʲɪt ɕ ˈstalʲɪn hrux ocesf stalin xngkvs Joseph Stalin 18 thnwakhm tampdithineka 6 thnwakhm kh s 1878 5 minakhm kh s 1953 epnnkptiwtiaelaphunathangkaremuxngosewiytsungpkkhrxngshphaphosewiyt tngaet kh s 1924 cnkrathngthungaekxsykrrmin kh s 1953 ekhaidkhunethlingxanacdwykarkhundarngtaaehnngthngelkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngshphaphosewiyt kh s 1922 1952 aelaprathanspharthmntriaehngshphaphosewiyt kh s 1941 1953 aemwainchwngaerkcapkkhrxngpraethsdwykarepnswnhnungkhxng cninthisudekhakrwbxanacidxyangebdesrccnklayepnephdckaraehngshphaphosewiyt in kh s 1930 inxudmkarnkhxnglththikhxmmiwnistthimungmnthungkartikhwamlththimakskhxngfayniymlththielnin stalinideriykaenwkhidnixyangepnthangkarwa lththimaks elnin inkhnathinoybaykhxngekhaexngthiideriykknwa lththistalinocesf stalin Iosif Stalinphaphthaystalinemux kh s 1937 sungthuknaipichepnokhsnachwnechuxodyrthbalshphaphosewiytelkhathikarphrrkhkhxmmiwnist aehngshphaphosewiytdarngtaaehnng 3 emsayn 1924 16 tulakhm 1952kxnhnawyaechslaf omoltxf inthana thdipekxxrki maelnkhxf odyphvtiny prathankhnakrrmkarrasdr aehngshphaphosewiytdarngtaaehnng 6 phvsphakhm 1941 15 minakhm 1946kxnhnawyaechslaf omoltxfthdiptwexng intaaehnngprathanspharmt prathanspharthmntrishphaphosewiytdarngtaaehnng 15 minakhm 1946 5 minakhm 1953prathanathibdimihaxil khalininrxngprathanwyaechslaf omoltxf niokhil bulkaninkxnhnawyaechslaf omoltxfthdipekxxrki maelnkhxfkrrmkarrasdrfaychnchatidarngtaaehnng 8 phvscikayn 1917 7 krkdakhm 1923hwhnarthbalwladimir elninkxnhnaimmi sthapnataaehnng thdipimmi yubtaaehnng krrmkarrasdrfayklaohmdarngtaaehnng 19 krkdakhm 1941 15 minakhm 1946hwhnarthbaltwexngkxnhnathdiptwexng intaaehnngrmw klaohm rthmntriwakarkrathrwngklaohmdarngtaaehnng 15 minakhm 1946 3 minakhm 1947hwhnarthbaltwexngkxnhnatwexng intaaehnngkrrmkarrasdr thdipniokhil bulkaninkhxmulswnbukhkhlekidoyesb ebsarioxnis dsukswili 18 thnwakhm kh s 1878 okri ekhtphuwakartiflis ckrwrrdirsesiyesiychiwit5 minakhm kh s 1953 1953 03 05 74 pi mxsok shphaphosewiytsaehtukaresiychiwiteluxdxxkinsmxngihyphrrkhkaremuxngphrrkhaerngngansngkhmprachathipityrsesiy kh s 1898 1903 phrrkhaerngngansngkhmprachathipityrsesiy bxlechwikh kh s 1903 18 phrrkhkhxmmiwnist kh s 1918 53 khusmrs smrs 1906 1907 smrs 1919 1932 butryakhxf dsukswili Artyom Sergeyev buythrrm buphkari bida marda karsuksarangwllaymuxchuxchuxelnokhbaysthiidrbkaraetngtngrbich shphaphosewiytsngkdkxngthphaedngpracakarkh s 1918 1920 kh s 1941 1953yscxmphlsungsudsngkhram karsurbkaraethrkaesngsngkhramklangemuxngrsesiyodyfaysmphnthmitr sngkhramopaelnd osewiyt sngkhramvduhnaw sngkhramolkkhrngthisxng sngkhramekahliCentral institution membership 1917 1953 Full member Presidium1922 1943 Secretariat1920 1952 Orgburo1912 1953 Full member Central Committee ekhaekidinkhrxbkhrwyakcncakemuxngkxri inckrwrrdirsesiy pccubnkhux praethscxreciy stalinidekhaeriynthi Tbilisi Spiritual Seminary kxnthicaekharwmphrrkhaerngngansngkhmprachathipityrsesiykhxngfayniymlththimaksinthisud ekhaidthakaraekikhhnngsuxphimphpracaphrrkhthimichuxwa prafda khwamcring aelaradmenginthunihkbklumbxlechwikhkhxngwladimir elnin phanthangkarocrkrrm karlkphatw aelaenginkhakhumkhrxng sungthukcbkummahlaykhrngaelw ekhacungthukenrethsphayinpraethsmahlaykhrngechnkn phayhlngcakthiphwkbxlechwikhidekhayudxanacinchwngkarptiwtieduxntulakhm aelasrangrthphrrkhkaremuxngediywphayitphrrkhkhxmmiwnistthikxtngkhunmaihmin kh s 1917 stalinidekharwmkboplitbuorinkarpkkhrxng ekhaepnthharinsngkhramklangemuxngrsesiy kxnthicaekhakhwbkhumduaelkarkxtngshphaphosewiytin kh s 1922 stalin phayhlngkaresiychiwitkhxngelninin kh s 1924 phayitkarnakhxngstalin lththisngkhmniyminpraethsediywklayepnhlkkarthisakhykhxngkhwamechuxkhxngphrrkh dwyphllphthmacakthithukdaeninphayitkarnakhxngekha praethsidthakarrwbrwmphlphlitthangekstrkrrmodyrwm agricultural collectivisation aelakarthaihepnxutsahkrrmxyangrwderw karsrangesrsthkicodysngkaraebbrwmxanac a centralised command economy singehlaninaipsukarhyudchangkkhxngkarphlitxaharxyangrunaerng sungmiswnthaihekid ephuxepnkarkacdphuthithukklawhawaepn stalinidcdtngkarkwadlangkhrngihy sungmiphuthithukkhumkhngcanwnmakkwahnunglankhnaelacanwnphuthukpraharchiwitxyangnxy 700 000 khn rahwangpi kh s 1934 aela kh s 1939 in kh s 1937 ekhasamarthkhwbkhumphrrkhaelarthbalidxyangebdesrc stalinidsngesrimlththimaks elnincaktangpraethsphanthangxngkhkarkhxmmiwnistsakl aelaihkarsnbsnunkhbwnkarinyuorpinchwngpi kh s 1930 odyechphaaxyangyinginsngkhramklangemuxngsepn in kh s 1939 rabxbkarpkkhrxngkhxngekhaidlngnaminktikasyyaimrukranknkbnasieyxrmni sngphlthaihosewiytbukkhrxngopaelnd eyxrmniidyutiktikasyyathiidthaknmaodykarrukranshphaphosewiytin kh s 1941 aemwacaphayaephinchwngaerk aetkxngthphaedngklbsamarthkhbileyxrmnphurukranipidaelaekhayudkhrxngkrungebxrlinin kh s 1945 sungthaihsngkhramolkkhrngthisxnginyuorpidyutilng thamklangsngkhram osewiytidphnwkrthbxltikaelacdtngrthbalthiepnaenwrwmkbosewiytthwthngyuorpklangaelatawnxxk cin aela shphaphosewiytaelashrthxemrikaidklayepnxphimhaxanacolkaelaekhasuchwngewlaaehngkhwamtungekhriyd sngkhrameyn stalinidepnphunainkarfunfusphaphhlngsngkhramkhxngosewiytaelain kh s 1949 inchwngpiehlani praethskalngprasbaelakarnrngkhtxtanchawyiwsungnaipsu doctors plot phayhlngcakin kh s 1953 inthisudekhakidrbkarsubthxdtaaehnngodynikita khruchchxf sungtxmainphayhlngidklawpranamthungkhwamohdraycakkarpkkhrxngkhxngekhaaelarierimkarlmlangxiththiphlkhxngstalinin cakkarthiidrbkarnbthuxxyangkwangkhwangwaepnhnunginbukhkhlthisakhythisudinthswrrsthi 20 stalinepnhwkhxkhxnglththibuchabukhkhlthiidkracayaephrhlayphayinkhbwnkarlththimaks elninradbsakl sungidekharphethidthuninthananksuaehngchnchnkrrmkraelasngkhmniym nbtngaetkarlmslaykhxngshphaphosewiyt stalinyngkhngidrbkhwamniyminrsesiyaelacxreciyinthanaphunayamsngkhramthiidrbchychna sungyudmnsthanakhxngshphaphosewiytinthanamhaxanacolkthisakhy inthangtrngknkham rabxbkarpkkhrxngkhxngekhathukmxngwaepnephdckar aelathukpranamxyangkwangkhwangcakkarkhwbkhumduael karpraharchiwitnbaesnkhrng aelathuphphikkhphythiidkhrachiwitphukhnnblankhrxbkhrwaelainwyedkstalinin kh s 1894 aela kh s 1902 kxnhnakarekidkhxngstalin bidaaelamardakhxngekhaidihkaenidbutrmaaelwthung 2 khn aetkesiychiwithlngcakekididimnan cnmibutrkhnthi 3 sungkkhuxstalin phayhlngkarekidnn mardakhxngstalinidswdxxnwxnxthisthantxphraphuepnecaimihphrakchiwitbutrchaykhxngethxip phrxmkbxthisthanwaethxaelabutrchay caxuthistnexngephuxphraphuepnecatlxdip stalin michuxelninwyedkkhux ossa sungphxkhxngekhaepnchangtharxngetha chxbthubtikhninkhrxbkhrwyamemasuraesmx txmaphxkhxngekhatxngyayipxyuthiemuxngthiflis thaihstalintxngxasyxyukbmardaephiyngkhnediywincxreciy sungemuxngthiekhaxyu ketmipdwyxachyakrrm karexardexaepriyb khwamrunaerngtamthxngthnn cungthaihsphaphaewdlxmsngkhmaelakhwamrunaernginkhrxbkhrwbmnisystalinihepnkhnkawraw aelaekidkhwamekliydchngchawyiwthixyuinemuxng thng thiemuxngthiekhaxyu immiikhrtxtanchawyiwely sungchawyiwxyurwmkbkhnphunemuxngmananxyangsnti niymprakxbxachiphnaythunenginku phxkha changtdesux changtdrxngetha epntn prakxbkbkhrxbkhrwthilabak sngphlihmardakhxngekhatxngipkuengincaknaythunchawyiwsungeriykdxkebiyrakhaaephng aelacaekhamayudsingkhxnginbanepnkhaprbemuxphidndcharadxkebiy thaihekhaekliydaekhnchawyiwaelaxyakaekaekhnxyuesmx nxkehnuxcaknn chiwitstalinkepnedkthieriyndi thngthiphxaemkhxngekhaimruhnngsuxaelakhrxbkhrwmikhwamepnxyuthilabakkarsuksainorngeriynsamenrkxrimardakhxngstalinepnphuekhrnginsilthrrm ethxcungtdsinicihstalinbwchepnphraaelaekhaeriyninorngeriynsamenrkxri sungepnorngeriynsxnsasnaaehnghnung inpi kh s 1888 dwykhwamxupkaracakesrsthichawcxreciychuxyakhxfthimardakhxngekhathanganrbcangepnaemban sungstalinepnkhnthisanukinbuykhunkhn emuxekhamibutrchaykhnaerk ekhaidtngchuxwayakhxf tngtamchuxphuthixupkaraekha dankareriynnn stalinepnkhnkhyn aelamikhwamcadi aelahwiw thaihidrbthunkarsuksakhxngorngeriyn aelaidrbeluxkihepnnkeriyntwxyang sungthuk pi hnngsuxphimphkhxngsanksngkhnikaycxreciynxxothdxksaehngemuxngkxri catiphimphraychuxkhxngnkeriynthisxbidkhaaenndithisudinchn sungchuxkhxngstalin idxyuladbthi 1 thukkhrng nxkehnuxcaknn hlngkarsxbplayphakhthukkhrng stalinyngidrbprakasniybtreriyndithiorngeriynmxbihphuthisxbidladbthi 1 khxngchneriyn aelaekhayngidrbprakasniybtrkhwamkawhnainkareriyn stalinmiphrswrrkhdankarkhbrxngephlng khruthiorngeriyncungfukihekhaephimetim caknnsxngpi stalinkrxngephlngidxyangkbnkrxngxachiph aelaidrbaetngtngihepnphuchwykhxndketxr phrxmkbepnhwhnakhnankrxng odystalinexngmkthukcangiprxngephlnginnganaetngnganesmx khwamchunchxbinkarlaelnaelakila stalinchunchxbkartalumbxn epnkarlaelnaelakilaphunemuxng thiaebngklumphuelnxxkip 2 fng caknnkcaekhatalumbxnknaebbimmikhwamprani odystalinkhunepnhwhnaklumidthngthixayunxyaelaaekhngaekrngnxykwaluknxnginthimkhxngtwexng 3 khn aetekhakmisingthithdaethnkhuxkhwamkhlxngaekhlwwxngiw stalintngchayaihklumephuxn 3 khnkhxngekhawa samthharesux sungstalinimekhylumephuxnkhxngekhaely aeminsngkhramolkkhrngthi 2 stalinwy 60 pi thiepnphunashphaphosewiytinkhnann idsngenginswntwipihkbephuxnthng 3 khnnikhnlahlayhmunruebil aelamikhxkhwamincdhmaywa oprdrbkhxngkhwyelknxynicakchndwy cakossakhxngphwknay odyephuxnhnunginsamkhxngstalinidklawxikwa ekhaimekhylumphwkera aelamkcasngkardmaiheraemuxthungwnekid hruxwnsakhyxun esmx khrnghnungekhakekhysngkardthiekhiynwa khxihxyuhmunpi maihphm nxkehnuxcakephuxnsnithsamthharesuxaelw stalinyngmiephuxnsnithxikkhnthimacaklaaewkiklbanchux simxn ekhaepnkhneker niymkhwamrunaerng sungstalinsamarthkhwbkhumaelathaihekhaekharphid aelaidklayepnmuxsngharkhnsakhykhxngstalininkhnathanganptiwtirsesiy singthistalinsnicmakepnphiessxikxyang khuxkarxanhnngsux ephraakhwamkhadaekhlnhnngsux thaihekhamikhwamkrahayxanifru aelamkipkhxyumhnngsuxcakhxngsmudkhxngemuxngkxrimaxanesmx stalinchuninwrrnkrrmeruxng Otezubiza sungchuxtwlakhrexk chux okhba epnocrplnkhnrwymachwyehluxkhncn odystalinmitwamfnxyakcaepnokhbakhnthisxng inwnkhristmasxif khxngnikayxxothdxks klumnkrxngprasanesiyngkhxngorngeriynsamenrkxri odyhnunginnnmistalinrwmxyudwy idmayunrxngephlngswdthirimsaphankhamaemnakhur kidekidxubtiehtumirthmawingphungekhachnklumnkrxngprasanesiyng sungstalinochkhraythimaidchnstalinaelalxrththbkhxmuxsaykhxngekhahk aeladwykhwamyakcnthaihmardakhxngstalinimsamarthphaekhaiprksakhxmuxsayid ekhamuxsaykhxngekhacungphikartngaetnnma aelainpi kh s 1894 stalinkcbkarsuksadwykhaaennyxdeyiym aelaidrbthunsuksatxthiwithyalysngkhaehngthiflis sungepnsthanthi epncudepliynsakhyinchiwitkhxngekhanoybaytangpraethsocesf stalinnashphaphosewiytkawkhunepnmhaxanackhxngolk epnhnunginkhwxanacinsngkhrameynkbshrthxemrikahlngsinsudsngkhramolkkhrngthi 2 inpi 1945 osewiytmithanathimnkhngaekhngaerngthngthangkaremuxng esrsthkic aelakarthharmakkhun aemwathangkarthharcayngepnrxngshrthxemrikainrayaaerkktam hlngcaknnstalinidepliynthathihnmadaeninnoybayrunaerng kwadlangphuepnprpkscanwnmakaelaminoybayaekhngkrawtxtanshrthxemrika sungosewiytmxngwaepnstruhmayelkhhnung singaerkthiosewiyterngdaeninkarkkhux snbsnunphrrkhkhxmmiwnistihptiwtiepliynaeplngkarpkkhrxnginyuorptawnxxkepnaebb phayitkarchinakhxngosewiyt snbsnun ihepnekhruxngmuxinkarthalaykhxngxngkvs frngess sepn aelashrth sahrbpraethsyuorptawnxxknnmikhwamsakhytxosewiytepnxyangyinginthangphumirthsastr thuxepndulxanacihaekosewiytinkaraekhngkhnkbklumpraethsthunniymthiphthnaaelw karphnukkalngfaykhxmmiwnist stalinidcdtngokhminfxrm Communist Information Bureau hrux Cominform ineduxnknyayn pi 1947 ephuxichsanknganniepnekhruxngmuxinkarkhwbkhumphrrkhkhxmmiwnistkhxngpraethsxunihptibtitamkdeknthaelaxyuinwinythiekhrngkhrd phayitkarkhwbkhumkhxngosewiyt aemwastalincathux Peaceful Co Existence kephiyngchwkhrawephuxphlpraoychnechphaahnaethann yngmikhwamechuxmntamxudmkarnthicaephyaephrlththikhxmmiwnistekhaipinpraethstang aelaehnwasngkhramkarpathaknrahwangfaynaythunkbsngkhmniymnnepnsingthihlikeliyngimid dngnnnoybaykhxngstalininchwngnicungniymkhwamrunaerngaelarukran phyayamthicaaeykprachachatitanginyuorpmiihrwmknid xacklawidwafayshphaphosewiytrierimthaihekidsngkhrameynrahwangolktawntkhruxolkesrisungshrthepnphuna kbolktawnxxkhruxkhaysngkhmniymkhxmmiwnistthiosewiytepnphuna thaiholkxyuinsphawa 2 sunyxanacxyangekhrngkhrd stalinminoybayrwbrwmphnukkalngfaykhxmmiwnistekhaiwdwykn phayitxantikhxngshphaphosewiytxyangekhmngwd odyichkalngthharaelakarbibkhnthangdanxun echnthangesrsthkic epntn thaihpraethsinkhaysngkhmniyminyuorptawnxxkthukkhnannamwaepn Soviet Satellite hrux Soviet Bloc sungeriykwa lththistalin Stalinism karaethrkaesngkaremuxnginpraethsxun nxkcakniosewiytyngekhaipmibthbathaethrkaesngkaremuxnginpraethsxun xik echninpi 1947 idsnbsnunphrrkhkhxmmiwnistihyudkhrxngkris ehtukarnkhrngniphrrkhkhxmmiwnistkrathakarimsaerc ephraashrthxemrikaidekhamaskdkn ihkhwamchwyehluxkrisaelaturkitamaephnkarmaaechl aelawikvtkarnpidlxmebxrlin kh s 1948 1949 thaihmikarephchiyhnakbmhaxanactawntkkhuxxngkvs frngess aelashrth cntxngaebngaeykeyxrmnxxkepn 2 praethsodyeddkhad nxkcaknikmiehtukarnthistalinkhbil yuokslaewiy phayitkarnakhxngtiotxxkcakxngkarnokhminfxrminpi 1948 aela inpi 1949 kprasbkhwamsaercinkarsranginkarkhidsrangxawuthniwekhliyrephuxaekhngkhnkbshrthxemrika aelapiediywknkcdtng sphaephuxkarchwyehluxsungknaelaknthangesrsthkic Council for Mutual Economic Assistance hrux Comecon okhemkhxn hrux CEMA sima ephuxtxtanxngkhkarkhwamrwmmuxthangesrsthkickhxngyuorp noybaytangpraeths cin osewiytmixiththiphlmakkhun ihkhwamchwyehluxcinphayhlngcakthikhxmmiwnistphayitkarnakhxngehmaecxtung ptiwtisaercemux 1949 osewiyttxngkarkhrxbngaciniwepnmitrthangyuththsastr ephuxskdknyipunaelashrthxemrika aemwaosewiytcamisnthisyyaphnthmitrkbcinemuxpi 1950 aelamixayu 30 piktam aetosewiyttxngkarcakhrxbngacinaelakhadkhwamcringicinkarchwyehluxcin cungklayepneruxngkhdaeyngtxmaphayhlng karthiosewiytsnbsnunchwyehluxekahliehnuxbukekahliitinsngkhramekahli 1950 sungaemosewiytimidpracnhnaodytrngephraacinekhamamibthbathaethnosewiyt tlxdcnkarsnbsnunewiydminhphayitkarnakhxngohciminh txtanfrngesstngaetsngkhramolkkhrngthi 2 sinsudlngcnprasbchychnainpi 1954 ehtukarnthiklawmaepneruxngthiosewiytekhaipmibthbathaethrkaesngephuxkarkhyayxanacaelaxiththiphlkhxngosewiyt srupidwa noybaytangpraethssmystalinepnipinthangrukaekhngkraw ephuxsrangxanacihaekhngaekrngmikhwamepnpukaephninkhaysngkhmniym phayitxiththiphlkhxngosewiytephuxaekhngkhnaelaskdknxiththiphlkhxngfaytawntkaelashrth cnkrathngstalinthungaekkrrminpi 1953 dwywy 75 pixangxingwikrm krmdisth mxngsixioxolk phakh 7 ophst phblichching 2553 2 ephimskdi otswsdi stalin xanacbnsaksph krungethphmhankhr Animate Group ISBN 978 616 7030 17 3aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ocesf stalin kxnhna ocesf stalin thdipwyaechslaf omoltxf prathankhnakrrmkarrasdrshphaphosewiyt 6 phvsphakhm 1941 15 minakhm 1946 twexng intaaehnngprathanspharthmntritwexng intaaehnngprathankhnakrrmkarrasdr prathanspharthmntrishphaphosewiyt 15 minakhm 1946 5 minakhm 1953 ekxxrki maelnkhxfimmi krrmkarrasdrfaychnchati 8 phvscikayn 1917 7 krkdakhm 1923 immiesmixxn tiomechnokh krrmkarrasdrfayklaohm 19 krkdakhm 1941 15 minakhm 1946 twexng intaaehnngrthmntriwakarkrathrwngklaohmtwexng intaaehnngkrrmkarrasdrfayklaohm rthmntriwakarkrathrwngklaohm 15 minakhm 1946 3 minakhm 1947 niokhil bulkaninwyaechslaf omoltxf intaaehnng elkhathikarphurbphidchxb elkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngshphaphosewiyt 3 emsayn 1922 16 tulakhm 1952 nikita khruschxfxdxlf hitelxr bukhkhlaehngpikhxngnitysarithm kh s 1939 winstn echxrchilaefrngkhlin di rusewlth bukhkhlaehngpikhxngnitysarithm kh s 1942 cxrc maraechl bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk