บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
สงครามเย็น (อังกฤษ: Cold War) เป็นช่วงเวลาแห่งความตึงเครียดทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างสหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาและประเทศพันธมิตรจากทั้งกลุ่มตะวันออกและกลุ่มตะวันตก ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ช่วงเวลาโดยทั่วไปดังกล่าวจะนับตั้งแต่การประกาศลัทธิทรูแมน ปี ค.ศ. 1947 (การประชุมที่มิลาน เริ่มตั้งแต่ปี 1945) จนกระทั่งการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 ด้วยลัทธิ (mutually assured destruction, MAD) ไม่เห็นด้วยที่จะให้มีการโจมตีล่วงหน้าโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง นอกเหนือจากและการใช้งานทางทหารตามแบบแผน การต่อสู้เพื่อครอบงำได้ถูกแสดงออกโดยวิธีทางอ้อม เช่น สงครามทางจิตวิทยา การทัพโฆษณาชวนเชื่อ การคว่ำบาตรระยะไกล การแข่งขันชิงดีชิงเด่นกันในงานกีฬาและการแข่งขันทางเทคโนโลยี เช่น การแข่งขันอวกาศ
สงครามเย็น | |||||
---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ | |||||
รัฐฝั่งเนโท และ รัฐฝั่ง ระหว่างช่วงสงครามเย็น | |||||
| |||||
คู่สงคราม | |||||
สหภาพโซเวียต | สหรัฐ |
คำว่า "" ได้ถูกนำมาใช้ เนื่องจากไม่มีการสู้รบขนาดใหญ่โดยตรงระหว่างสองมหาอำนาจ แต่พวกเขาแต่ละฝ่ายต่างให้การสนับสนุนความขัดแย้งในภูมิภาคที่สำคัญที่เรียกว่า สงครามตัวแทน (Proxy war) ความขัดแย้งนี้มีพื้นฐานมาจากการต่อสู้ทางอุดมการณ์และภูมิศาสตร์เพื่ออิทธิพลทั่วโลกโดยสองมหาอำนาจ ภายหลังจากพวกเขาได้ตกลงเป็นพันธมิตรชั่วคราวและมีชัยชนะเหนือนาซีเยอรมนีในปี ค.ศ. 1945 สงครามเย็นได้แบ่งแยกพันธมิตรในช่วงสงคราม เหลือเพียงสหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาในฐานะที่เป็นสองมหาอำนาจที่มีความแตกต่างทางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างลึกซึ้ง: แต่เดิมเป็นรัฐนิยมลัทธิมากซ์–เลนินแบบพรรคการเมืองเดียวที่ดำเนินตามแผนเศรษฐกิจและการควบคุมสื่อ และเป็นเจ้าของสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวในการจัดตั้งและปกครองดูแลชุมชน และถัดมาเป็นรัฐทุนนิยมที่มีการเลือกตั้งเสรีโดยทั่วไปและสื่อโดยเสรี ซึ่งยังให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและเสรีภาพในการสมาคมแก่พลเมืองของตน กลุ่มที่เป็นกลางที่ประกาศด้วยตัวเองได้เกิดขึ้นพร้อมกับขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดซึ่งถูกก่อตั้งโดยอียิปต์ อินเดีย อินโดนีเซีย และยูโกสลาเวีย กลุ่มฝ่ายนี้ได้ปฏิเสธความสัมพันธ์กับทั้งตะวันตกที่นำโดยสหรัฐหรือตะวันออกที่นำโดยโซเวียต ในขณะที่รัฐอานานิคมเกือบทั้งหมดต่างได้รับเอกราชในช่วงเวลาปี ค.ศ. 1945-1960 พวกเขาได้กลายเป็นสมรภูมิของโลกที่สามในสงครามเย็น
ในช่วงของสงครามเย็นได้เริ่มต้นขึ้นในสองปีแรกหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตได้รวบรวมอำนาจการควบคุมเหนือรัฐของกลุ่มตะวันออก ในขณะที่สหรัฐอเมริกาได้ริเริ่มใช้กลยุทธ์การจำกัดในการขยายตัวทั่วโลกเพื่อท้าทายอำนาจของสหภาพโซเวียต การแผ่ขยายความช่วยเหลือทางทหารและการเงินไปยังประเทศต่าง ๆ ในยุโรปตะวันตก (ตัวอย่างเช่น การสนับสนุนฝ่ายต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ในสงครามกลางเมืองกรีซ) และก่อตั้งพันธมิตรนาโต้ การปิดกั้นเบอร์ลิน (ค.ศ. 1948–49) เป็นวิกฤตครั้งใหญ่ครั้งแรกของสงครามเย็น กับชัยชนะของฝ่ายคอมมิวนิสต์ในสงครามกลางเมืองจีนและการปะทุของสงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950-53) ความขัดแย้งได้แผ่ขยายออกไป สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาต่างแข่งขันกันเพื่อมีอิทธิพลในละตินอเมริกาและรัฐอาณานิคมที่ได้รับเอกราชจากแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะเดียวกัน การปฏิวัติฮังการี ปี ค.ศ. 1956 ได้ถูกยับยั้งโดยโซเวียต การขยายตัวและเพิ่มพูนมากขึ้นทำให้เกิดวิกฤตการณ์มากมาย เช่น วิกฤตการณ์คลองสุเอซ (ค.ศ. 1956) วิกฤตการณ์เบอร์ลิน ปี ค.ศ. 1961 และวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา ปี ค.ศ. 1962 ภายหลังจากวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา ซึ่งเห็นได้จากความแตกแยกระหว่างจีน-โซเวียตที่มีความสัมพันธ์อันซับซ้อนในวงการคอมมิวนิสต์ ในขณะที่พันมิตรของสหรัฐ โดยเฉพาะฝรั่งเศส ได้แสดงให้เห็นถึงการมีอิสระในปฏิบัติการมากขึ้น สหภาพโซเวียตได้เข้ารุกรานเชโกสโลวาเกียและบดขยี้ ปรากสปริง โครงการของการได้รับเอกราช ปี ค.ศ. 1968 ในขณะที่สงครามเวียดนาม (ค.ศ. 1955-75) ได้จบลงด้วยความพ่ายแพ้ของสาธารณรัฐเวียดนามใต้ที่มีสหรัฐคอยหนุนหลัง ทำให้มีการปรับเปลี่ยนแผนการมากขึ้น นอกเหนือจากนี้ สหรัฐยังประสบกับความวุ่นวายภายในจากขบวนการเพื่อสิทธิพลเมืองและฝ่ายต่อต้านสงครามเวียดนาม ในปี ค.ศ. 1960-70 ขบวนการเพื่อสันติภาพระหว่างประเทศได้เกิดขึ้นในท่ามกลางประชาชนทั่วโลก ขบวนการต่อต้านการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์และเพื่อปลดอาวุธนิวเคลียร์ได้เกิดขึ้น พร้อมกับขนาดใหญ่
ในปี ค.ศ. 1970 ทั้งสองฝ่ายได้เริ่มเอาใจใส่ในความพยายามประนีประนอมเพื่อสร้างระบบระหว่างประเทศที่มีเสถียรภาพและสามารถคาดการณ์ได้มากขึ้น การเปิดฉากการผ่อนคลายความตึงเครียดซึ่งเห็นได้จากการเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์และสหรัฐได้เปิดความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนในฐานะที่เป็นตัวถ่วงดุลอำนาจทางยุทธศาสตร์ต่อสหภาพโซเวียต การผ่อนคลายความตึงเครียดได้ยุติลงในช่วงปลายทศวรรษด้วยสงครามโซเวียตในอัฟกานิสถานได้เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1979 ช่วงต้นปี ค.ศ. 1980 เป็นช่วงเวลาแห่งความตึงเครียดที่เพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง ด้วยเครื่องบินโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 ถูกโซเวียตยิงตก (ค.ศ. 1983) และ(ค.ศ. 1983) สหรัฐอเมริกาได้เพิ่มต่อสหภาพโซเวียต ในช่วงเวลาที่รัฐคอมมิวนิสต์กำลังประสบปัญหาทาง ในช่วงกลางปี ค.ศ. 1980 ผู้นำโซเวียตคนใหม่อย่างมีฮาอิล กอร์บาชอฟได้แนะนำการปฏิรูปแบบเสรีของเปเรสตรอยคา("การปรับโครงสร้าง", ค.ศ. 1987)และกลัสนอสต์("โปร่งใส", ค.ศ. 1987) และยุติการมีส่วนร่วมของโซเวียตในอัฟกานิสถาน แรงกดดันเพื่อเอกราชของชาติได้เพิ่มมากขึ้นในยุโรปตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ โปแลนด์ กอร์บาชอฟปฏิเสธที่จะใช้กองกำลังทหารโซเวียตเพื่อค้ำจุดระบอบสนธิสัญญาวอร์ซอที่ไม่มั่นคงดังที่เคยเป็นในอดีต ผลลัพธ์ในปี ค.ศ. 1989 คือ คลื่นแห่งการปฏิวัติด้วยสันติวิธี(ยกเว้นเพียงการปฏิวัติโรมาเนีย) ได้ล้มล้างระบอบคอมมิวนิสต์ทั้งหมดในยุโรปกลางและตะวันออก พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตได้สูญเสียการควบคุมและถูกสั่งห้าม ภายหลังจากมีการพยายามก่อรัฐประหารซึ่งประสบผลไม่สำเร็จในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 สิ่งนี้ได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 และการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในประเทศอื่นๆ เช่น มองโกเลีย กัมพูชา และเยเมนใต้ สหรัฐอเมริกายังคงเป็นประเทศมหาอำนาจเพียงหนึ่งเดียวของโลกมาจนถึงทุกวันนี้
สงครามเย็นและเหตุการณ์ต่างๆ ได้ทิ้งมรดกที่สำคัญเอาไว้ มักจะถูกอ้างอิงถึงในวัฒนธรรมสมัยนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยประเด็นเรื่องของการจารกรรมและภัยคุกคามของการสงครามนิวเคลียร์ ในขณะดียวกัน สถานะความตึงเครียดที่เกิดขึ้นใหม่อีกครั้งระหว่างหนึ่งในรัฐที่สืบทอดมาจากสหภาพโซเวียต สหพันธรัฐรัสเซีย และสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 21 (รวมทั้งพันธมิตรตะวันตก) เช่นเดียวกับความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างจีนกับสหรัฐและพันธมิตรตะวันตกซึ่งทั้งสองฝ่ายต่างมีอำนาจมากขึ้น ซึ่งเรียกกันว่า สงครามเย็นครั้งที่สอง
การใช้คำ
สงครามเย็นเป็นภาวะอย่างหนึ่งที่ประเทศมหาอำนาจทั้ง 2 ฝ่ายต่างแข่งขันกัน โดยพยายามสร้างแสนยานุภาพทางการทหารของตนไว้ข่มขู่ฝ่ายตรงข้าม โดยประเทศมหาอำนาจจะไม่ทำสงครามกันโดยตรง แต่จะสนับสนุนให้ประเทศพันธมิตรของตนเข้าทำสงครามแทน หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสงครามตัวแทน (proxy war) เหตุที่เรียก สงครามเย็น เนื่องจากเป็นการต่อสู้กันระหว่างมหาอำนาจ โดยใช้จิตวิทยา []
การกำเนิดค่ายตะวันออก
ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตได้ก่อตั้งค่ายตะวันออก (Eastern Bloc) โดยการรวมรัฐที่ได้ยึดมาจากฝ่ายนาซี เช่น โปแลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย ฟินแลนด์ เอสโตเนีย โรมาเนีย แล้วจึงเปลี่ยนสถานะให้เป็นรัฐสังคมนิยมซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต
ลำดับเหตุการณ์
นโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตในช่วงเวลาดังกล่าว คำนึงถึงสงครามเย็นเป็นหลัก นับจากปี ค.ศ. 1947 (พ.ศ. 2490) จนกระทั่งการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ใน ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) สมัยเริ่มต้นสงครามเย็น น่าจะอยู่ในสมัยวิกฤตการณ์ทางการทูตในตอนกลางและปลาย ค.ศ. 1947 เมื่อสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเกิดขัดแย้งเรื่องการจัดตั้งองค์การสันติภาพในตุรกี ยุโรปตะวันออกและเยอรมนี
ความตึงเครียดเนื่องจากการเผชิญหน้ากันระหว่างอภิมหาอำนาจ แต่ยังไม่มีการประกาศสงครามหรือใช้กำลัง เป็นสมัยลัทธิทรูแมน วันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1947 กับประกาศแผนการมาร์แชลล์ เพื่อฟื้นฟูบูรณะยุโรปตะวันตก ซึ่งได้รับความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่สอง การขยายอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปตะวันออก และการแบ่งแยกเยอรมนี
การวิจัยและพัฒนาโครงการทางการทหารทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่จำนวนมาก เกิดขึ้นในในช่วงเวลานี้ รวมถึงการแข่งขันกันสำรวจอวกาศ และการสะสมอาวุธนิวเคลียร์ด้วย ทั้งหมดนี้เป็นไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพของฝ่ายตน
เริ่มต้นของสงครามเย็น (ค.ศ. 1945-1950)
ระยะแรกของสงครามเย็นเริ่มในสองปีให้หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติใน ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตรวบการควบคุมเหนือรัฐในกลุ่มตะวันออก โดยสหภาพโซเวียตได้นำกองทัพเข้ารัฐประหารประเทศต่าง ๆ กลุ่มตะวันออกและพยายามเข้าแทรกแซงทางการเมืองในกรีซและตรุกี ขณะที่สหรัฐอเมริกาเริ่มได้เริ่มลัทธิทรูแมนคือการจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาทั่วโลกเพื่อท้าทายโซเวียต โดยแผนมาร์แชลล์ขยายความช่วยเหลือทางทหารและการเงินแก่ประเทศยุโรปตะวันตก (ตัวอย่างเช่น การสนับสนุนฝ่ายต่อต้านคอมมิวนิสต์ในสงครามกลางเมืองกรีซ) การตั้งพันธมิตรเนโท
จากนั้นสหภาพโซเวียตได้ปิดล้อมเบอร์ลิน ไม่ให้กลุ่มตะวันตกเข้าช่วยเหลือชาวเบอร์ลินตะวันตก โดยหวังว่าจะให้ชาวเบอร์ลินตะวันตกจะมาร่วมกับเบอร์ลินตะวันออก แต่กลุ่มตะวันตกได้ส่งของทางอากาศช่วยเหลือชาวเบอร์ลินตะวันตก โซเวียตเห็นว่าไม่ได้ผลจึงยกเลิกการปิดกั้นให้กลุ่มตะวันตกเข้ามา[]
วิกฤตการณ์ (ค.ศ. 1950-1975)
ด้วยชัยชนะของฝ่ายคอมมิวนิสต์ในสงครามกลางเมืองจีนและการอุบัติของสงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950–1953) ความขัดแย้งขยายตัว สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาแข่งขันชิงอิทธิพลในละตินอเมริกาและรัฐแอฟริกา ตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับปลดปล่อยอาณานิคม ขณะเดียวกัน การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 ถูกโซเวียตหยุดยั้ง การขยายและบานปลายจุดประกายวิกฤตการณ์เพิ่มอีก เช่น วิกฤตการณ์สุเอซ (ค.ศ. 1956) วิกฤตการณ์เบอร์ลิน ค.ศ. 1965 และวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา ค.ศ. 1962
หลังความขัดแย้งสุดท้ายนี้ก็เริ่มระยะใหม่ซึ่งมีความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียตทำให้ความสัมพันธ์ภายในเขตคอมมิวนิสต์ซับซ้อนยิ่งขึ้น ขณะที่พันธมิตรของสหรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศฝรั่งเศส แสดงอิสระในการปฏิบัติมากขึ้น สหภาพโซเวียตปราบปรามโครงการเปิดเสรีปรากสปริง ค.ศ. 1968 ในเชโกสโลวาเกีย และสงครามเวียดนาม (ค.ศ. 1955–1975) ยุติลงด้วยความปราชัยของสาธารณรัฐเวียดนามใต้ที่สหรัฐหนุนหลัง ทำให้มีการปรับแก้เพิ่มขึ้น
การผ่อนคลายครั้งแรก (ค.ศ. 1974-1979)
ในคริสต์ทศวรรษ 1970 ทั้งสองฝ่ายต่างสนใจในการผ่อนปรนเพื่อสถาปนาระบบระหว่างประเทศที่เสถียรมั่นคงและทำนายได้มากขึ้น อันเริ่มระยะการผ่อนคลายความตึงเครียดซึ่งมีการเจรจาจำกัดอาวุธยุทธศาสตร์และสหรัฐเปิดความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นการถ่วงดุลยุทธศาสตร์กับสหภาพโซเวียต และเจรญาสนธิสัญญาควบคุมอาวุธ SALT I (ค.ศ. 1974) และ SALT II (ค.ศ.1979)
วิกฤตการณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ. 1979-1989)
การผ่อนคลายความตึงเครียดทลายลงเมื่อสิ้นทศวรรษโดยสงครามโซเวียตในอัฟกานิสถานเริ่มใน ค.ศ. 1979 เป็นการพยายามให้อัฟกานิสถานยังเป็นฝ่ายคอมมิวนิสต์
ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นอีกช่วงหนึ่งที่มีความตึงเครียดเพิ่มขึ้น โดยการที่โซเวียตยิงโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 ตก (ค.ศ. 1983) และการซ้อมรบ "เอเบิลอาร์เชอร์" ของเนโท (ค.ศ. 1983) สหรัฐเพิ่มการกดดันทางการทูต ทหารและเศรษฐกิจต่อสหภาพโซเวียต
การผ่อนคลายครั้งสองและสิ้นสุดสงครามเย็น (ค.ศ. 1985-1991)
เป็นช่วงปลายสงครามเย็น สหภาพโซเวียตกำลังประสบภาวะเศรษฐกิจซบเซาอยู่แล้ว ในกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผู้นำโซเวียตคนใหม่ มีฮาอิล กอร์บาชอฟ ริเริ่มการปฏิรูปเปิดเสรีเปเรสตรอยคา (ค.ศ. 1987) และกลัสนอสต์ (ประมาณ ค.ศ. 1985) ยุติการเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในสงครามโซเวียตในอัฟกานิสถาน และการสนธิสัญญาควบคุมขีปนาวุธ INF
การกดดันเรียกร้องเอกราชของชาติยิ่งเติบโตขึ้นในยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศโปแลนด์ ฝ่ายกอร์บาชอฟไม่ยอมใช้ทหารโซเวียตเพื่อค้ำจุดระบอบสนธิสัญญาวอร์ซอที่ไม่มั่นคงดังที่เคยเป็นในอดีต ผลลงเอยด้วยใน ค.ศ. 1989 เกิดคลื่นปฏิวัติซึ่งโค่นระบอบคอมมิวนิสต์ทั้งหมดในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก
พรรคคอมมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเองเสียการควบคุมและถูกห้ามหลังความพยายามรัฐประหารอันไร้ผลในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 แล้วนำไปสู่การยุบสหภาพโซเวียตอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 และการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในประเทศอื่นอย่างประเทศมองโกเลีย กัมพูชาและเยเมนใต้ สหรัฐเหลือเป็นประเทศอภิมหาอำนาจของโลกแต่ผู้เดียว
คู่สงคราม
เริ่มต้นของสงครามเย็น ค.ศ. 1947-1953 มีประเทศพันธมิตรของสหรัฐอเมริกาหลัก ๆ คือ สมาชิกองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ มีประเทศพันธมิตรของโซเวียตหลัก ๆ คือสมาชิกสนธิสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐประชาชนจีน
ค.ศ. 1950 ได้เกิดสงครามเกาหลี สหรัฐอเมริกาได้ช่วยเหลือเกาหลีใต้ ส่วนโซเวียตได้ช่วยเหลือเกาหลีเหนือ จนกระทั่งสงบศึกหลังจากเวียดมินห์ได้รับชัยชนะ ฝรั่งเศสยอมรับความปราชัยและต้องสงบศึก ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการลงนามใน "อนุสัญญาเจนีวา" (พ.ศ. 2497) ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีผลให้เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ โดยมีเส้นขนานที่ 17 องศาเหนือ โดยเวียดนามเหนือยึดถือการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ภายใต้การนำของโฮจิมินห์ ส่วนเวียดนามใต้ยึดถือการปกครองแบบประชาธิปไตย ภายใต้การนำของโง ดินห์ เสี่ยม ทำให้สหภาพโซเวียตเข้าควบคุมเวียดนามเหนือ สหรํฐอเมริกาเข้าควบคุมเวียดนามใต้ ในตะวันออกกลาง อเมริกาได้สนับสนุนอิสราเอลในเรื่องอาวุธที่ไว้ใช้ป้องกันตัวเอง ทำให้โซเวียตตอบโต้โดยสนับสนุนสันนิบาตอาหรับในต่อต้านอิสราเอล
ในปีค.ศ. 1959 ได้มีการปฏิวัติคิวบาและได้เข้าเป็นพันธมิตรของโซเวียต ในปี ค.ศ.1960 สาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีความคิดคัดแย้งกัน ทำให้สาธารณรัฐประชาชนจีน กลุ่มเขมรแดง และโซมาเลีย แยกออกมาจากพันธมิตรของโซเวียต หลังจากสงครามยมคิปปูร์ เวียดนามได้เข้าเป็นพันธมิตรของโซเวียต ส่วนสันนิบาตอาหรับตัดความสัมพันธ์จากโซเวียตไปเป็นพันธมิตรของอเมริกา
ในปี ค.ศ.1979 เกิดสงครามอัฟกานิสถานที่เป็นพันธมิตรของโซเวียตได้ต่อสู้กับมุจญาฮิดีนซุนนีย์ที่อเมริกาสนับสนุน ในที่สุดมุจญาฮิดีนซุนนีย์ได้รับชัยชนะ ทำให้โซเวียตเสียพันธมิตรไป ใน ค.ศ.1989 ได้มีการเรียกร้องความเป็นประชาธิปไตยในกลุ่มสนธิสัญญาวอร์ซอ ทำให้โซเวียตเสียพันธมิตรในกลุ่มสนธิสัญญาวอร์ซอ ทำให้รัฐในโซเวียตเรียกร้องอิสรภาพ ส่งผลให้สหภาพโซเวียตล่มสลายในเวลาต่อมา
สงครามตัวแทน
- สงครามกลางเมืองกรีซ (ค.ศ. 1946-1949)
- สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 1946-1954)
- สงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950-1953)
- การปฏิวัติคิวบา (ค.ศ. 1953-1959)
- สงครามเวียดนาม (ค.ศ. 1957-1975)
- ความขัดแย้งระหว่างอาหรับ-อิสราเอล
- สงครามหกวัน (ค.ศ. 1967)
- สงครามล้างผลาญ (ค.ศ. 1967-1970)
- สงครามยมคิปปูร์ (ค.ศ. 1973)
- สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน (ค.ศ. 1979-1989)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ความหมายและรูปแบบของสงครามเย็น 2008-05-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul sngkhrameyn khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir sngkhrameyn xngkvs Cold War epnchwngewlaaehngkhwamtungekhriydthangdanphumirthsastrrahwangshphaphosewiytaelashrthxemrikaaelapraethsphnthmitrcakthngklumtawnxxkaelaklumtawntk phayhlngcaksngkhramolkkhrngthisxng nkprawtisastryngimtklngknthnghmdwasngkhrameynkhuxchwngidknaen aetchwngewlaodythwipdngklawcanbtngaetkarprakaslththithruaemn pi kh s 1947 karprachumthimilan erimtngaetpi 1945 cnkrathngkarlmslaykhxngshphaphosewiytinpi kh s 1991 dwylththi mutually assured destruction MAD imehndwythicaihmikarocmtilwnghnaodyfayidfayhnung nxkehnuxcakaelakarichnganthangthhartamaebbaephn kartxsuephuxkhrxbngaidthukaesdngxxkodywithithangxxm echn sngkhramthangcitwithya karthphokhsnachwnechux karkhwabatrrayaikl karaekhngkhnchingdichingednkninngankilaaelakaraekhngkhnthangethkhonolyi echn karaekhngkhnxwkassngkhrameynswnhnungkhxng rthfngenoth aela rthfng rahwangchwngsngkhrameynwnthi12 minakhm kh s 1947 1947 03 12 26 thnwakhm kh s 1991 1991 12 26 sthanthithwolkkhusngkhram shphaphosewiyt shrthphaphthaykaaephngebxrlincakfngtawntk fngkhxngpraethseyxrmnitawntk kaaephngthuksrangin kh s 1961 ephuxpxngknmiihchaweyxrmntawnxxkhniaelahyudkarhlngihlkhxngaerngngansungepnphyphibtithangesrsthkic kaaephngebxrlinepnsylksnkhxngsngkhrameynaelakarthlaykaaephngin kh s 1989 epnsylksnwasngkhrameyniklyuti khawa idthuknamaich enuxngcakimmikarsurbkhnadihyodytrngrahwangsxngmhaxanac aetphwkekhaaetlafaytangihkarsnbsnunkhwamkhdaeynginphumiphakhthisakhythieriykwa sngkhramtwaethn Proxy war khwamkhdaeyngnimiphunthanmacakkartxsuthangxudmkarnaelaphumisastrephuxxiththiphlthwolkodysxngmhaxanac phayhlngcakphwkekhaidtklngepnphnthmitrchwkhrawaelamichychnaehnuxnasieyxrmniinpi kh s 1945 sngkhrameynidaebngaeykphnthmitrinchwngsngkhram ehluxephiyngshphaphosewiytaelashrthxemrikainthanathiepnsxngmhaxanacthimikhwamaetktangthangesrsthkicaelakaremuxngxyangluksung aetedimepnrthniymlththimaks elninaebbphrrkhkaremuxngediywthidaenintamaephnesrsthkicaelakarkhwbkhumsux aelaepnecakhxngsiththiaetephiyngphuediywinkarcdtngaelapkkhrxngduaelchumchn aelathdmaepnrththunniymthimikareluxktngesriodythwipaelasuxodyesri sungyngihesriphaphinkaraesdngkhwamkhidehnaelaesriphaphinkarsmakhmaekphlemuxngkhxngtn klumthiepnklangthiprakasdwytwexngidekidkhunphrxmkbkhbwnkarimfkiffayidsungthukkxtngodyxiyipt xinediy xinodniesiy aelayuokslaewiy klumfayniidptiesthkhwamsmphnthkbthngtawntkthinaodyshrthhruxtawnxxkthinaodyosewiyt inkhnathirthxananikhmekuxbthnghmdtangidrbexkrachinchwngewlapi kh s 1945 1960 phwkekhaidklayepnsmrphumikhxngolkthisaminsngkhrameyn inchwngkhxngsngkhrameyniderimtnkhuninsxngpiaerkhlngsngkhramolkkhrngthisxngsinsudlnginpi kh s 1945 shphaphosewiytidrwbrwmxanackarkhwbkhumehnuxrthkhxngklumtawnxxk inkhnathishrthxemrikaidrierimichklyuththkarcakdinkarkhyaytwthwolkephuxthathayxanackhxngshphaphosewiyt karaephkhyaykhwamchwyehluxthangthharaelakarenginipyngpraethstang inyuorptawntk twxyangechn karsnbsnunfaytxtanlththikhxmmiwnistinsngkhramklangemuxngkris aelakxtngphnthmitrnaot karpidknebxrlin kh s 1948 49 epnwikvtkhrngihykhrngaerkkhxngsngkhrameyn kbchychnakhxngfaykhxmmiwnistinsngkhramklangemuxngcinaelakarpathukhxngsngkhramekahli kh s 1950 53 khwamkhdaeyngidaephkhyayxxkip shphaphosewiytaelashrthxemrikatangaekhngkhnknephuxmixiththiphlinlatinxemrikaaelarthxananikhmthiidrbexkrachcakaexfrika tawnxxkklang aelaexechiytawnxxkechiyngit inkhnaediywkn karptiwtihngkari pi kh s 1956 idthukybyngodyosewiyt karkhyaytwaelaephimphunmakkhunthaihekidwikvtkarnmakmay echn wikvtkarnkhlxngsuexs kh s 1956 wikvtkarnebxrlin pi kh s 1961 aelawikvtkarnkhipnawuthkhiwba pi kh s 1962 phayhlngcakwikvtkarnkhipnawuthkhiwba sungehnidcakkhwamaetkaeykrahwangcin osewiytthimikhwamsmphnthxnsbsxninwngkarkhxmmiwnist inkhnathiphnmitrkhxngshrth odyechphaafrngess idaesdngihehnthungkarmixisrainptibtikarmakkhun shphaphosewiytidekharukranechoksolwaekiyaelabdkhyi prakspring okhrngkarkhxngkaridrbexkrach pi kh s 1968 inkhnathisngkhramewiydnam kh s 1955 75 idcblngdwykhwamphayaephkhxngsatharnrthewiydnamitthimishrthkhxyhnunhlng thaihmikarprbepliynaephnkarmakkhun nxkehnuxcakni shrthyngprasbkbkhwamwunwayphayincakkhbwnkarephuxsiththiphlemuxngaelafaytxtansngkhramewiydnam inpi kh s 1960 70 khbwnkarephuxsntiphaphrahwangpraethsidekidkhuninthamklangprachachnthwolk khbwnkartxtankarthdsxbxawuthniwekhliyraelaephuxpldxawuthniwekhliyridekidkhun phrxmkbkhnadihy inpi kh s 1970 thngsxngfayiderimexaicisinkhwamphyayampranipranxmephuxsrangrabbrahwangpraethsthimiesthiyrphaphaelasamarthkhadkarnidmakkhun karepidchakkarphxnkhlaykhwamtungekhriydsungehnidcakkarecrcacakdxawuththangyuththsastraelashrthidepidkhwamsmphnthkbsatharnrthprachachncininthanathiepntwthwngdulxanacthangyuththsastrtxshphaphosewiyt karphxnkhlaykhwamtungekhriydidyutilnginchwngplaythswrrsdwysngkhramosewiytinxfkanisthaniderimtnkhuninpi kh s 1979 chwngtnpi kh s 1980 epnchwngewlaaehngkhwamtungekhriydthiephimsungkhunxikkhrng dwyekhruxngbinokheriynaexriln ethiywbinthi 007 thukosewiytyingtk kh s 1983 aela kh s 1983 shrthxemrikaidephimtxshphaphosewiyt inchwngewlathirthkhxmmiwnistkalngprasbpyhathang inchwngklangpi kh s 1980 phunaosewiytkhnihmxyangmihaxil kxrbachxfidaenanakarptirupaebbesrikhxngeperstrxykha karprbokhrngsrang kh s 1987 aelaklsnxst oprngis kh s 1987 aelayutikarmiswnrwmkhxngosewiytinxfkanisthan aerngkddnephuxexkrachkhxngchatiidephimmakkhuninyuorptawnxxkodyechphaaxyangyingkhux opaelnd kxrbachxfptiesththicaichkxngkalngthharosewiytephuxkhacudrabxbsnthisyyawxrsxthiimmnkhngdngthiekhyepninxdit phllphthinpi kh s 1989 khux khlunaehngkarptiwtidwysntiwithi ykewnephiyngkarptiwtiormaeniy idlmlangrabxbkhxmmiwnistthnghmdinyuorpklangaelatawnxxk phrrkhkhxmmiwnistaehngshphaphosewiytidsuyesiykarkhwbkhumaelathuksngham phayhlngcakmikarphyayamkxrthpraharsungprasbphlimsaercineduxnsinghakhm kh s 1991 singniidnaipsukarlmslaykhxngshphaphosewiytxyangepnthangkarineduxnthnwakhm kh s 1991 aelakarlmslaykhxngrabxbkhxmmiwnistinpraethsxun echn mxngokeliy kmphucha aelaeyemnit shrthxemrikayngkhngepnpraethsmhaxanacephiynghnungediywkhxngolkmacnthungthukwnni sngkhrameynaelaehtukarntang idthingmrdkthisakhyexaiw mkcathukxangxingthunginwthnthrrmsmyniym odyechphaaxyangyingdwypraedneruxngkhxngkarcarkrrmaelaphykhukkhamkhxngkarsngkhramniwekhliyr inkhnadiywkn sthanakhwamtungekhriydthiekidkhunihmxikkhrngrahwanghnunginrththisubthxdmacakshphaphosewiyt shphnthrthrsesiy aelashrthxemrikainstwrrsthi 21 rwmthngphnthmitrtawntk echnediywkbkhwamtungekhriydthiephimkhunrahwangcinkbshrthaelaphnthmitrtawntksungthngsxngfaytangmixanacmakkhun sungeriykknwa sngkhrameynkhrngthisxngkarichkhasngkhrameynepnphawaxyanghnungthipraethsmhaxanacthng 2 faytangaekhngkhnkn odyphyayamsrangaesnyanuphaphthangkarthharkhxngtniwkhmkhufaytrngkham odypraethsmhaxanaccaimthasngkhramknodytrng aetcasnbsnunihpraethsphnthmitrkhxngtnekhathasngkhramaethn hruxthieriykxikxyanghnungwasngkhramtwaethn proxy war ehtuthieriyk sngkhrameyn enuxngcakepnkartxsuknrahwangmhaxanac odyichcitwithya txngkarxangxing karkaenidkhaytawnxxkkarepliynaeplngkhxngdinaednhlngsngkhraminyuorpaelakarkxtwkhxngthangthistawnxxkthieriykwamanehlk inchwngthaykhxngsngkhramolkkhrngthi 2 shphaphosewiytidkxtngkhaytawnxxk Eastern Bloc odykarrwmrththiidyudmacakfaynasi echn opaelnd ltewiy lithweniy finaelnd exsoteniy ormaeniy aelwcungepliynsthanaihepnrthsngkhmniymsungxyuphayitkarpkkhrxngkhxngshphaphosewiytladbehtukarnnoybaytangpraethskhxngshrthxemrikaaelashphaphosewiytinchwngewladngklaw khanungthungsngkhrameynepnhlk nbcakpi kh s 1947 ph s 2490 cnkrathngkarlmslaykhxngshphaphosewiyt in kh s 1991 ph s 2534 smyerimtnsngkhrameyn nacaxyuinsmywikvtkarnthangkarthutintxnklangaelaplay kh s 1947 emuxshrthxemrikakbshphaphosewiytekidkhdaeyngeruxngkarcdtngxngkhkarsntiphaphinturki yuorptawnxxkaelaeyxrmni khwamtungekhriydenuxngcakkarephchiyhnaknrahwangxphimhaxanac aetyngimmikarprakassngkhramhruxichkalng epnsmylththithruaemn wnthi 12 minakhm kh s 1947 kbprakasaephnkarmaraechll ephuxfunfuburnayuorptawntk sungidrbkhwamesiyhaycaksngkhramolkkhrngthisxng karkhyayxiththiphlkhxngosewiytinyuorptawnxxk aelakaraebngaeykeyxrmni karwicyaelaphthnaokhrngkarthangkarthharthngkhnadelkaelakhnadihycanwnmak ekidkhunininchwngewlani rwmthungkaraekhngkhnknsarwcxwkas aelakarsasmxawuthniwekhliyrdwy thnghmdniepnipephuxaesdngaesnyanuphaphkhxngfaytnerimtnkhxngsngkhrameyn kh s 1945 1950 nkbinkalnglaeliyngnmkhunekhruxngbinthisngipchwyehluxchawebxrlintawntkinchwngpidlxmebxrlin rayaaerkkhxngsngkhrameyneriminsxngpiihhlngsngkhramolkkhrngthisxngyutiin kh s 1945 shphaphosewiytrwbkarkhwbkhumehnuxrthinklumtawnxxk odyshphaphosewiytidnakxngthphekharthpraharpraethstang klumtawnxxkaelaphyayamekhaaethrkaesngthangkaremuxnginkrisaelatruki khnathishrthxemrikaerimiderimlththithruaemnkhuxkarcakdkarkhyaytwkhxnglththithiimphungprarthnathwolkephuxthathayosewiyt odyaephnmaraechllkhyaykhwamchwyehluxthangthharaelakarenginaekpraethsyuorptawntk twxyangechn karsnbsnunfaytxtankhxmmiwnistinsngkhramklangemuxngkris kartngphnthmitrenoth caknnshphaphosewiytidpidlxmebxrlin imihklumtawntkekhachwyehluxchawebxrlintawntk odyhwngwacaihchawebxrlintawntkcamarwmkbebxrlintawnxxk aetklumtawntkidsngkhxngthangxakaschwyehluxchawebxrlintawntk osewiytehnwaimidphlcungykelikkarpidknihklumtawntkekhama txngkarxangxing wikvtkarn kh s 1950 1975 phaythaycakkarbinsxdaenmkhxngyu 2 aesdngihehnkhipnawuthniwekhliyrinkhiwba inphaphcamirthkhnsngaelaetnthechuxephling dwychychnakhxngfaykhxmmiwnistinsngkhramklangemuxngcinaelakarxubtikhxngsngkhramekahli kh s 1950 1953 khwamkhdaeyngkhyaytw shphaphosewiytaelashrthxemrikaaekhngkhnchingxiththiphlinlatinxemrikaaelarthaexfrika tawnxxkklangaelaexechiytawnxxkechiyngitthiidrbpldplxyxananikhm khnaediywkn karptiwtihngkari kh s 1956 thukosewiythyudyng karkhyayaelabanplaycudprakaywikvtkarnephimxik echn wikvtkarnsuexs kh s 1956 wikvtkarnebxrlin kh s 1965 aelawikvtkarnkhipnawuthkhiwba kh s 1962 hlngkhwamkhdaeyngsudthaynikerimrayaihmsungmikhwamaetkaeykrahwangcin osewiytthaihkhwamsmphnthphayinekhtkhxmmiwnistsbsxnyingkhun khnathiphnthmitrkhxngshrth odyechphaaxyangying praethsfrngess aesdngxisrainkarptibtimakkhun shphaphosewiytprabpramokhrngkarepidesriprakspring kh s 1968 inechoksolwaekiy aelasngkhramewiydnam kh s 1955 1975 yutilngdwykhwamprachykhxngsatharnrthewiydnamitthishrthhnunhlng thaihmikarprbaekephimkhunkarphxnkhlaykhrngaerk kh s 1974 1979 inkhristthswrrs 1970 thngsxngfaytangsnicinkarphxnprnephuxsthapnarabbrahwangpraethsthiesthiyrmnkhngaelathanayidmakkhun xnerimrayakarphxnkhlaykhwamtungekhriydsungmikarecrcacakdxawuthyuththsastraelashrthepidkhwamsmphnthkbsatharnrthprachachncinsungepnkarthwngdulyuththsastrkbshphaphosewiyt aelaecryasnthisyyakhwbkhumxawuth SALT I kh s 1974 aela SALT II kh s 1979 wikvtkarnkhrngthisxng kh s 1979 1989 karphxnkhlaykhwamtungekhriydthlaylngemuxsinthswrrsodysngkhramosewiytinxfkanisthanerimin kh s 1979 epnkarphyayamihxfkanisthanyngepnfaykhxmmiwnist tnkhristthswrrs 1980 epnxikchwnghnungthimikhwamtungekhriydephimkhun odykarthiosewiytyingokheriynaexriln ethiywbinthi 007 tk kh s 1983 aelakarsxmrb exebilxarechxr khxngenoth kh s 1983 shrthephimkarkddnthangkarthut thharaelaesrsthkictxshphaphosewiytkarphxnkhlaykhrngsxngaelasinsudsngkhrameyn kh s 1985 1991 prathanathibdieraeknaelarxngprathanathibdibuchaelaprathanathibdikxrbachxf niwyxrksiti 7 thnwakhm 1987 epnchwngplaysngkhrameyn shphaphosewiytkalngprasbphawaesrsthkicsbesaxyuaelw inklangkhristthswrrs 1980 phunaosewiytkhnihm mihaxil kxrbachxf rierimkarptirupepidesrieperstrxykha kh s 1987 aelaklsnxst praman kh s 1985 yutikarekhamamiswnekiywkhxnginsngkhramosewiytinxfkanisthan aelakarsnthisyyakhwbkhumkhipnawuth INF karkddneriykrxngexkrachkhxngchatiyingetibotkhuninyuorptawnxxk odyechphaaxyangyingpraethsopaelnd faykxrbachxfimyxmichthharosewiytephuxkhacudrabxbsnthisyyawxrsxthiimmnkhngdngthiekhyepninxdit phllngexydwyin kh s 1989 ekidkhlunptiwtisungokhnrabxbkhxmmiwnistthnghmdinyuorpklangaelayuorptawnxxk phrrkhkhxmmmiwnistaehngshphaphosewiytexngesiykarkhwbkhumaelathukhamhlngkhwamphyayamrthpraharxnirphlineduxnsinghakhm kh s 1991 aelwnaipsukaryubshphaphosewiytxyangepnthangkarineduxnthnwakhm kh s 1991 aelakarlmslaykhxngrabxbkhxmmiwnistinpraethsxunxyangpraethsmxngokeliy kmphuchaaelaeyemnit shrthehluxepnpraethsxphimhaxanackhxngolkaetphuediywkhusngkhramerimtnkhxngsngkhrameyn kh s 1947 1953 mipraethsphnthmitrkhxngshrthxemrikahlk khux smachikxngkhkarsnthisyyapxngknaextaelntikehnux mipraethsphnthmitrkhxngosewiythlk khuxsmachiksnthisyyawxrsxaelasatharnrthprachachncin aephnthiaesdngfaykhxngsngkhrameyn inkh s 1959 praethssmachikxngkhkarsnthisyyapxngknaextaelntikehnux praethsphnthmitrkhxngshrthxemrika praethsxananikhm praethssmachiksnthisyyawxrsx praethsphnthmitrkhxngshphaphsatharnrthsngkhmniymosewiyt praethsthiimekiywkhxng kh s 1950 idekidsngkhramekahli shrthxemrikaidchwyehluxekahliit swnosewiytidchwyehluxekahliehnux cnkrathngsngbsukhlngcakewiydminhidrbchychna frngessyxmrbkhwamprachyaelatxngsngbsuk dwyehtunicungidmikarlngnamin xnusyyaecniwa ph s 2497 thinkhrecniwa praethsswitesxraelnd miphlihewiydnamthukaebngxxkepn 2 swn khux ewiydnamehnux aelaewiydnamit odymiesnkhnanthi 17 xngsaehnux odyewiydnamehnuxyudthuxkarpkkhrxngaebbsngkhmniymkhxmmiwnist phayitkarnakhxngohciminh swnewiydnamityudthuxkarpkkhrxngaebbprachathipity phayitkarnakhxngong dinh esiym thaihshphaphosewiytekhakhwbkhumewiydnamehnux shrthxemrikaekhakhwbkhumewiydnamit intawnxxkklang xemrikaidsnbsnunxisraexlineruxngxawuththiiwichpxngkntwexng thaihosewiyttxbotodysnbsnunsnnibatxahrbintxtanxisraexl inpikh s 1959 idmikarptiwtikhiwbaaelaidekhaepnphnthmitrkhxngosewiyt inpi kh s 1960 satharnrthprachachncinidmikhwamkhidkhdaeyngkn thaihsatharnrthprachachncin klumekhmraedng aelaosmaeliy aeykxxkmacakphnthmitrkhxngosewiyt hlngcaksngkhramymkhippur ewiydnamidekhaepnphnthmitrkhxngosewiyt swnsnnibatxahrbtdkhwamsmphnthcakosewiytipepnphnthmitrkhxngxemrika aephnthiaesdngfaykhxngphnthmitrkhxngosewiyt siaedng faykhxngphnthmitrkhxngcin siehluxng epnkhxmmiwnistaetimmiphnthmitr sida inpi kh s 1979 ekidsngkhramxfkanisthanthiepnphnthmitrkhxngosewiytidtxsukbmucyahidinsunniythixemrikasnbsnun inthisudmucyahidinsunniyidrbchychna thaihosewiytesiyphnthmitrip in kh s 1989 idmikareriykrxngkhwamepnprachathipityinklumsnthisyyawxrsx thaihosewiytesiyphnthmitrinklumsnthisyyawxrsx thaihrthinosewiyteriykrxngxisrphaph sngphlihshphaphosewiytlmslayinewlatxma aephnthiinpikh s 1980 aesdngfayphnthmitrkhxngosewiyt siaedng fayphnthmitrkhxngshrthxemrika sinaengin sngkhramtwaethnsngkhramklangemuxngkris kh s 1946 1949 sngkhramxinodcinkhrngthihnung kh s 1946 1954 sngkhramekahli kh s 1950 1953 karptiwtikhiwba kh s 1953 1959 sngkhramewiydnam kh s 1957 1975 khwamkhdaeyngrahwangxahrb xisraexl sngkhramhkwn kh s 1967 sngkhramlangphlay kh s 1967 1970 sngkhramymkhippur kh s 1973 sngkhramosewiyt xfkanisthan kh s 1979 1989 duephimxngkhkarsnthisyyapxngknaextaelntikehnux snthisyyawxrsx okhrngkarxwkasosewiytxangxingkhwamhmayaelarupaebbkhxngsngkhrameyn 2008 05 10 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk