บทความนี้ เนื่องจากยังไม่มีชื่อภาษาไทยที่กระชับ เหมาะสม, ไม่ปรากฏคำอ่านที่แน่ชัด หรือไม่ปรากฏคำแปลที่ใช้ในทางวิชาการ |
Golgi tendon organ (ตัวย่อ GTO) หรือ Golgi organ หรือ tendon organ หรือ neurotendinous organ หรือ neurotendinous spindle เป็นอวัยวะรับความรู้สึกที่ปรับตัวอย่างช้า ๆ มีขีดเริ่มเปลี่ยนน้อยของระบบรับรู้อากัปกิริยาที่รับรู้ความตึง/แรงของกล้ามเนื้อ มันเป็นโครงสร้างหุ้มแคปซูลยาวประมาณ 1 มม. มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.1 มม. อยู่ระหว่างเส้นใยกล้ามเนื้อโครงร่างกับเอ็นโดยต่อเป็นอนุกรมกับเส้นใยกล้ามเนื้อหลายเส้น (10–20 เส้น) แคปซูลแต่ละอันมีใยคอลลาเจนพันเป็นเกลียวหลายชุดโดยมีปลายประสาทรับความรู้สึกพันสานอยู่ในระหว่าง ๆ นอกจากจะเป็นตัวส่งข้อมูลเกี่ยวกับความตึงของกล้ามเนื้ออย่างแม่นยำแล้ว มันยังเป็นปลายประสาทรับความรู้สึกที่ก่อ ซึ่งคลายกล้ามเนื้อเมื่อออกแรงมากจนถึงอาจทำอันตรายแก่กล้ามเนื้อ วิถีประสาทของมันช่วยควบคุมกำลังกล้ามเนื้อเหมือนกับที่ stretch reflex ช่วยควบคุมความยาวกล้ามเนื้อ รวมทั้งช่วยให้ได้แรงกล้ามเนื้อที่สม่ำเสมอและได้มุมข้อต่อที่มีเสถียรภาพซึ่งแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลลดกำลังกล้ามเนื้อ (เช่น ความล้า) เพราะวิถีประสาทของมันได้รับข้อมูลจากตัวรับความรู้สึกอื่น ๆ คือ muscle spindle และตัวรับความรู้สึกที่หนังเป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จึงอาจช่วยให้ร่างกายควบคุมการออกแรงได้อย่างละเอียดเช่นการจับของเบา ๆ อีกด้วย และเพราะมันส่งกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการของกล้ามเนื้อซึ่งออกแรงที่ข้อต่อต่าง ๆ ของอวัยวะ มันจึงเป็นส่วนของเครือข่ายประสาทที่ควบคุมการเคลื่อนไหวอวัยวะหนึ่ง ๆ ทั้งอวัยวะ
Golgi tendon organ | |
---|---|
ผังแสดง Golgi tendon organ ที่เอ็นร้อยหวาย (Achilles tendon) | |
รายละเอียด | |
ระบบ | ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก |
ที่ตั้ง | กล้ามเนื้อโครงร่าง |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | Organum sensorium tendinis |
H3.03.00.0.00024 | |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
ไม่ควรสับสนอวัยวะนี้กับ Golgi apparatus ซึ่งเป็นออร์แกเนลล์ในเซลล์ยูแคริโอต หรือกับ Golgi stain ซึ่งเป็นการแต้มสีตัวเซลล์ประสาทในมิญชวิทยา เพราะทั้งหมดล้วนตั้งชื่อตามแพทย์ชาวอิตาลีคือ คามีลโล กอลจี (Camillo Golgi)
โครงสร้าง
ตัวอวัยวะประกอบด้วยเส้นคอลลาเจนหลายเส้น (เรียกได้ว่า intrafusal fasciculi หรือ tendon fasciculi) ซึ่งพันเป็นเกลียวโดยไม่ได้อัดกันแน่นเหมือนกับที่พบในเอ็นที่เหลือ และมีแคปซูลหุ้มอยู่ แคปซูลจะต่อเป็นอนุกรมกับกลุ่มเส้นใยกล้ามเนื้อ (10-20 เส้น) ที่ข้างหนึ่งและอีกข้างหนึ่งจะสืบต่อกลายเป็นเอ็น แคปซูลยาวประมาณ 1 มม. มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.1 มม.
อวัยวะหนึ่ง ๆ จะได้เส้นประสาทนำเข้าแบบ 1b (type Ib sensory nerve fiber, Aɑ fiber) เส้นหนึ่ง (หรือมากกว่านั้น) ที่เจาะผ่านเข้ามาในแคปซูลโดยเสียปลอกหุ้มไป แล้วแตกสาขาออกพันสานกับเส้นคอลลาเจนต่าง ๆ โดยยุติเป็นปลายแบน ๆ คล้ายกับใบไม้ในระหว่างเส้นคอลลาเจน เส้นประสาทนำเข้าแบบ 1b มีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ (12–20 ไมโครเมตร) มีปลอกไมอีลิน จึงนำกระแสประสาทได้เร็ว
วิถีประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง
เส้นประสาทรับความรู้สึกเกี่ยวกับอากัปกิริยา ส่งผ่าน dorsal root เข้าไปในไขสันหลัง โดยแยกส่งขึ้นลงและส่งสาขาไปยังปล้องไขสันหลังระดับต่าง ๆ สาขาบางส่วนไปไซแนปส์กับเซลล์ประสาทที่ปีกหลัง (dorsal horn) ของไขสันหลังและบางส่วนที่ปีกหน้า (ventral horn) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทสั่งการอัลฟา สาขาเหล่านี้อำนวยการตอบสนองต่าง ๆ รวมทั้ง ส่วนวิถีประสาทที่ส่งขึ้นไปยังสมองแม้จะมีบางส่วนที่คล้ายกับวิถีประสาทส่งความรู้สึกทางผิวหนัง แต่ก็ต่างกันเพราะวิถีประสาทการรับรู้อากัปกิริยาต้องส่งข้อมูลไปยังสมองน้อยด้วย ซึ่งเป็นตัวควบคุมเวลาและลำดับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเมื่อเคลื่อนไหวร่างกายใต้อำนาจจิตใจ ข้อมูลอากัปกิริยาส่งไปยังสมองผ่านวิถีประสาทดังต่อไปนี้
- วิถีประสาท - ส่งข้อมูลอากัปกิริยาจากร่างกายส่วนล่างเริ่มลงไปตั้งแต่เส้นประสาทไขสันหลังระดับ T1 เพื่อส่งไปยังสมองน้อยเป็นต้น
- วิถีประสาท - ส่งข้อมูลอากัปกิริยาจากร่างกายส่วนบนรวมศีรษะครึ่งหลัง ผ่านไขสันหลังไปยังทาลามัส แล้วส่งต่อไปยังคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย
- ตามเส้นประสาทไทรเจมินัล - ส่งข้อมูลอากัปกิริยาจากใบหน้าไปยังก้านสมองและคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย
หน้าที่
ตราบเท่าที่เอ็นของกล้ามเนื้อยังหย่อนอยู่ ใยคอลลาเจนใน GTO ก็จะยังค่อนข้างห่างกัน แต่เมื่อกล้ามเนื้อออกแรง ใยคอลลาเจนก็จะตึงไปด้วยมีผลคล้ายดึงหนังยางจนเส้นทั้งสองข้างบรรจบกัน เป็นการกดปลายประสาทที่พันสานอยู่ในใยคอลลาเจน การบิดเบือนรูปของปลายแอกซอนนำเข้าแบบ 1b เป็นการเปิดช่องแคตไอออนที่ไวแรงยืดของมัน จึงทำให้มันลดขั้วแล้วส่งศักยะงานหรือกระแสประสาทไปยังไขสันหลัง ความถี่ศักยะงานจะระบุแรงที่เส้นใยกล้ามเนื้อ 10–20 เส้นออกแรงในบรรดาเส้นใยกล้ามเนื้อจำนวนมากในกล้ามเนื้อ ระดับการทำงานของ GTO กลุ่มหนึ่งโดยเฉลี่ยจะเป็นตัวแทนแรงที่กล้ามเนื้อนั้นออกได้
ข้อมูลป้อนกลับของใยประสาทรับความรู้สึก 1b ก่อรีเฟล็กซ์ไขสันหลัง (spinal reflex) และการตอบสนองในสมองซึ่งควบคุมการหดเกร็งกล้ามเนื้อ ใยประสาทนำเข้า 1b ยังไซแนปส์กับอินเตอร์นิวรอนภายในไขสันหลังที่ส่งกระแสประสาทไปยังสมองน้อยและเปลือกสมอง
กระแสประสาทจาก 1b ก่อรีเฟล็กซ์ (เรียกอีกอย่างว่า ) ซึ่งยับยั้งเซลล์ประสาทสั่งการอัลฟาที่ส่งกระแสประสาทไปยังกล้ามเนื้อเดียวกัน ทำให้คลายกล้ามเนื้ออย่างฉับพลันเมื่อกล้ามเนื้อออกแรงเกิน มันเป็นปฏิกิริยาที่ระบบประสาททำเอง เป็นการยับยั้ง (inhibitory) เป็นการป้อนกลับเชิงลบ ที่คลายกล้ามเนื้อเพื่อป้องกันไม่ให้มันฉีกขาด อย่างไรก็ดี ให้สังเกตว่า GTO ส่งข้อมูลแรงกล้ามเนื้อตลอดพิสัยกำลังของกล้ามเนื้อ ไม่ใช่แต่เมื่อออกแรงมาก และช่วยควบคุมแรงหดเกร็งของกล้ามเนื้อด้วย
เมื่อเดิน กระแสประสาทจาก 1b จะกระตุ้นแทนที่จะยับยั้งเซลล์ประสาทสั่งการที่ส่งเส้นประสาทไปยังกล้ามเนื้อเดียวกัน มันมีผลต่อเวลาในการสับเปลี่ยนระยะเท้าถูกพื้น (stance) กับระยะแกว่งขา (swing) นี่เรียกว่า autogenic excitation ซึ่งเป็นการป้อนกลับเชิงบวก
อวัยวะมีวิถีประสาทไปสู่สมองน้อยคือ spinocerebellar tract ทั้งทางส่วนหน้า (ventral) และหลัง (dorsal) จึงมีบทบาทต่อการเคลื่อนไหวที่สมองน้อยเป็นผู้ควบคุม
ประวัติ
GTO ในประวัติเคยเชื่อว่า มีหน้าที่ป้องกันกล้ามเนื้อจากการออกแรงมากเกินที่เป็นอันตรายเท่านั้น เพราะสมมุติกันว่า มันยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทสั่งการอัลฟาที่ส่งประสาทไปยังกล้ามเนื้อเดียวกันในสถานการณ์ทุกสถานการณ์ และว่า มันทำงานต่อเมื่อกล้ามเนื้อตึงมากเท่านั้น แต่ปัจจุบันชัดเจนแล้วว่า GTO ส่งข้อมูลแรงตึง/กำลังของกล้ามเนื้ออยู่ตลอดเวลาซึ่งให้ข้อมูลที่แม่นยำกับระบบประสาทกลาง อนึ่ง เพราะอินเตอร์นิวรอนในวงรีเฟล็กซ์ของ GTO ได้รับข้อมูลความรู้สึกจาก muscle spindle, ตัวรับความรู้สึกที่หนัง และ joint receptors (ตัวรับรู้ตำแหน่งข้อต่อ) จึงอาจช่วยให้ระบบประสาทควบคุมกล้ามเนื้อได้อย่างละเอียดเมื่อประสาทสัมผัสนั้น ๆ ช่วยระบุแรงที่ต้องใช้ในกิจนั้น ๆ ได้ (เช่น สัมผัสที่มืออาจช่วยบอกให้ลดแรงเพื่อให้จับอย่างเบา ๆ ได้) และเพราะเส้นใยประสาท 1b ส่งสาขาจำนวนมากไปยังเซลล์ประสาทสั่งการอัลฟาของกล้ามเนื้อซึ่งออกแรงที่ข้อต่อต่าง ๆ ของอวัยวะ วงรีเฟล็กซ์ของ GTO จึงเป็นส่วนของเครือข่ายรีเฟล็กซ์ที่ช่วยควบคุมการเคลื่อนไหวอวัยวะมีแขนขาเป็นต้นนั้น ๆ ทั้งอวัยวะ
เชิงอรรถ
- 0.5 มม.
- 3–25 เส้น
อ้างอิง
บทความนี้รวมเอาข้อความซึ่งเป็นสาธารณสมบัติจากหน้าที่ 1061 ของหนังสือฉบับพิมพ์ครั้งที่ 20 (ค.ศ. 1918 )
- Antje Hüter-Becker; และคณะ (2005). Biomechanik, Bewegungslehre, Leistungsphysiologie, Trainingslehre (ภาษาเยอรมัน). Thieme Verlag. p. 104. ISBN .
- Purves et al (2018), Mechanoreceptors Specialized for Proprioception, pp. 201–202
- Pearson & Gordon (2013), 35-3 Golgi Tendon Organs, p. 800
- Barrett, Kim E; Boitano, Scott; Barman, Susan M; Brooks, Heddwen L (2010). "Chapter 9 - Reflexes". Ganong’s Review of Medical Physiology (23rd ed.). McGraw-Hill. INVERSE STRETCH REFLEX, pp. 162–163. ISBN .
- Purves et al (2018), The Spinal Cord Circuitry Underlying the Regulation of Muscle Force, pp. 370–371
- Pearson & Gordon (2013), Convergence of Inputs on Ib Interneurons Increases the Flexibility of Reflex Responses, p. 799
- Mancall, Elliott L; Brock, David G, บ.ก. (2011). "Chapter 2 - Overview of the Microstructure of the Nervous System". Gray’s Clinical Neuroanatomy: The Anatomic Basis for Clinical Neuroscience. Elsevier Saunders. p. 29. ISBN .
- Saladin (2018), The Tendon Reflex, pp. 498–499
- Pearson & Gordon (2013), Table 35-1 Classification of Sensory Fibers from Muscle, p. 796
- Purves et al (2018), Central Pathways Conveying Proprioceptive Information from the Body, pp. 204–205
- Prochazka, A.; Gorassini, M. (1998). "Ensemble firing of muscle afferents recorded during normal locomotion in cats". Journal of Physiology. 507 (1): 293–304. doi:10.1111/j.1469-7793.1998.293bu.x. PMC 2230769. PMID 9490855.
- Stephens, J. A.; Reinking, R. M.; Stuart, D. G. (1975). . Journal of Neurophysiology. 38 (5): 1217–1231. PMID 1177014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-26. สืบค้นเมื่อ 2019-08-17.
- Conway, B. A.; Hultborn, H.; Kiehn, O. (1987). "Proprioceptive input resets central locomotor rhythm in the spinal cat". Experimental Brain Research. 68 (3): 643–656. doi:10.1007/BF00249807. PMID 3691733.
- Prochazka, A.; Gillard, D.; Bennett, D. J. (1997). . J Neurophysiol. 77 (6): 3226–3236. PMID 9212270. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-26. สืบค้นเมื่อ 2019-08-17.
บรรณานุกรม
- Saladin, KS (2018). "Chapter 13 - The Spinal Cord, Spinal Nerves, and Somatic Reflexes". Anatomy and Physiology: The Unity of Form and Function (8th ed.). New York: McGraw-Hill. ISBN .
- Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; Mooney, Richard D; Platt, Michael L; White, Leonard E, บ.ก. (2018). "Chapter 9 - The Somatosensory System: Touch and Proprioception". Neuroscience (6th ed.). Sinauer Associates. ISBN .
- Pearson, Keir G; Gordon, James E (2013). "35 - Spinal Reflexes". ใน Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ (บ.ก.). Principles of Neural Science (5th ed.). United States: McGraw-Hill. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Golgi tendon organ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnimichuxepnphasaxngkvs enuxngcakyngimmichuxphasaithythikrachb ehmaasm impraktkhaxanthiaenchd hruximpraktkhaaeplthiichinthangwichakar Golgi tendon organ twyx GTO hrux Golgi organ hrux tendon organ hrux neurotendinous organ hrux neurotendinous spindle epnxwywarbkhwamrusukthiprbtwxyangcha mikhiderimepliynnxykhxngrabbrbruxakpkiriyathirbrukhwamtung aerngkhxngklamenux mnepnokhrngsranghumaekhpsulyawpraman 1 mm miesnphasunyklangpraman 0 1 mm xyurahwangesniyklamenuxokhrngrangkbexnodytxepnxnukrmkbesniyklamenuxhlayesn 10 20 esn aekhpsulaetlaxnmiiykhxllaecn phnepnekliywhlaychudodymiplayprasathrbkhwamrusukphnsanxyuinrahwang nxkcakcaepntwsngkhxmulekiywkbkhwamtungkhxngklamenuxxyangaemnyaaelw mnyngepnplayprasathrbkhwamrusukthikx sungkhlayklamenuxemuxxxkaerngmakcnthungxacthaxntrayaekklamenux withiprasathkhxngmnchwykhwbkhumkalngklamenuxehmuxnkbthi stretch reflex chwykhwbkhumkhwamyawklamenux rwmthngchwyihidaerngklamenuxthismaesmxaelaidmumkhxtxthimiesthiyrphaphsungaekpyhatang thimiphlldkalngklamenux echn khwamla ephraawithiprasathkhxngmnidrbkhxmulcaktwrbkhwamrusukxun khux muscle spindle aelatwrbkhwamrusukthihnngepntn khxmulehlanicungxacchwyihrangkaykhwbkhumkarxxkaerngidxyanglaexiydechnkarcbkhxngeba xikdwy aelaephraamnsngkraaesprasathipyngesllprasathsngkarkhxngklamenuxsungxxkaerngthikhxtxtang khxngxwywa mncungepnswnkhxngekhruxkhayprasaththikhwbkhumkarekhluxnihwxwywahnung thngxwywaGolgi tendon organphngaesdng Golgi tendon organ thiexnrxyhway Achilles tendon raylaexiydrabbrabbklamenuxaelakradukthitngklamenuxokhrngrangtwrabuphasalatinOrganum sensorium tendinisH3 03 00 0 00024 aekikhbnwikisneths imkhwrsbsnxwywanikb Golgi apparatus sungepnxxraekenllinesllyuaekhrioxt hruxkb Golgi stain sungepnkaraetmsitwesllprasathinmiychwithya ephraathnghmdlwntngchuxtamaephthychawxitalikhux khamilol kxlci Camillo Golgi okhrngsrangtwxwywaprakxbdwyesnkhxllaecnhlayesn eriykidwa intrafusal fasciculi hrux tendon fasciculi sungphnepnekliywodyimidxdknaennehmuxnkbthiphbinexnthiehlux aelamiaekhpsulhumxyu aekhpsulcatxepnxnukrmkbklumesniyklamenux 10 20 esn thikhanghnungaelaxikkhanghnungcasubtxklayepnexn aekhpsulyawpraman 1 mm miesnphasunyklangpraman 0 1 mm xwywahnung caidesnprasathnaekhaaebb 1b type Ib sensory nerve fiber Aɑ fiber esnhnung hruxmakkwann thiecaaphanekhamainaekhpsulodyesiyplxkhumip aelwaetksakhaxxkphnsankbesnkhxllaecntang odyyutiepnplayaebn khlaykbibiminrahwangesnkhxllaecn esnprasathnaekhaaebb 1b miesnphasunyklangihy 12 20 imokhremtr miplxkimxilin cungnakraaesprasathiderwwithiprasathinrabbprasathswnklangesnprasathrbkhwamrusukekiywkbxakpkiriya sngphan dorsal root ekhaipinikhsnhlng odyaeyksngkhunlngaelasngsakhaipyngplxngikhsnhlngradbtang sakhabangswnipisaenpskbesllprasaththipikhlng dorsal horn khxngikhsnhlngaelabangswnthipikhna ventral horn sungepnthixyukhxngesllprasathsngkarxlfa sakhaehlanixanwykartxbsnxngtang rwmthng swnwithiprasaththisngkhunipyngsmxngaemcamibangswnthikhlaykbwithiprasathsngkhwamrusukthangphiwhnng aetktangknephraawithiprasathkarrbruxakpkiriyatxngsngkhxmulipyngsmxngnxydwy sungepntwkhwbkhumewlaaelaladbkarhdekrngkhxngklamenuxemuxekhluxnihwrangkayitxanaccitic khxmulxakpkiriyasngipyngsmxngphanwithiprasathdngtxipni withiprasath sngkhxmulxakpkiriyacakrangkayswnlangerimlngiptngaetesnprasathikhsnhlngradb T1 ephuxsngipyngsmxngnxyepntn withiprasath sngkhxmulxakpkiriyacakrangkayswnbnrwmsirsakhrunghlng phanikhsnhlngipyngthalams aelwsngtxipyngkhxrethksrbkhwamrusukthangkay tamesnprasathithrecminl sngkhxmulxakpkiriyacakibhnaipyngkansmxngaelakhxrethksrbkhwamrusukthangkayhnathitendon organ khxngstweliynglukdwynm phaphaesdngtaaehnngpktiinklamenux say karechuxmtxknkhxngesllprasathinikhsnhlng klang aelaphngkhyay khwa tendon organ epnplayprasathrbkaryudthisngkhxmulekiywkbaerngthiklamenuxxxk playprasathrbkhwamrusukkhxngiyprasathnaekha 1b caphnsankbesniykhxllaecnthitxkbesniyklamenux 10 20 esn duphaphaebbekhluxnthi hrux trabethathiexnkhxngklamenuxynghyxnxyu iykhxllaecnin GTO kcayngkhxnkhanghangkn aetemuxklamenuxxxkaerng iykhxllaecnkcatungipdwymiphlkhlaydunghnngyangcnesnthngsxngkhangbrrcbkn epnkarkdplayprasaththiphnsanxyuiniykhxllaecn karbidebuxnrupkhxngplayaexksxn naekhaaebb 1b epnkarepidchxngaekhtixxxnthiiwaerngyudkhxngmn cungthaihmnldkhwaelwsngskyanganhruxkraaesprasathipyngikhsnhlng khwamthiskyangancarabuaerngthiesniyklamenux 10 20 esn xxkaernginbrrdaesniyklamenuxcanwnmakinklamenux radbkarthangankhxng GTO klumhnungodyechliycaepntwaethnaerngthiklamenuxnnxxkid khxmulpxnklbkhxngiyprasathrbkhwamrusuk 1b kxrieflksikhsnhlng spinal reflex aelakartxbsnxnginsmxngsungkhwbkhumkarhdekrngklamenux iyprasathnaekha 1b yngisaenpskbxinetxrniwrxnphayinikhsnhlngthisngkraaesprasathipyngsmxngnxyaelaepluxksmxng kraaesprasathcak 1b kxrieflks eriykxikxyangwa sungybyngesllprasathsngkarxlfathisngkraaesprasathipyngklamenuxediywkn thaihkhlayklamenuxxyangchbphlnemuxklamenuxxxkaerngekin mnepnptikiriyathirabbprasaththaexng epnkarybyng inhibitory epnkarpxnklbechinglb thikhlayklamenuxephuxpxngknimihmnchikkhad xyangirkdi ihsngektwa GTO sngkhxmulaerngklamenuxtlxdphisykalngkhxngklamenux imichaetemuxxxkaerngmak aelachwykhwbkhumaernghdekrngkhxngklamenuxdwy emuxedin kraaesprasathcak 1b cakratunaethnthicaybyngesllprasathsngkarthisngesnprasathipyngklamenuxediywkn mnmiphltxewlainkarsbepliynrayaethathukphun stance kbrayaaekwngkha swing nieriykwa autogenic excitation sungepnkarpxnklbechingbwk xwywamiwithiprasathipsusmxngnxykhux spinocerebellar tract thngthangswnhna ventral aelahlng dorsal cungmibthbathtxkarekhluxnihwthismxngnxyepnphukhwbkhumprawtiGTO inprawtiekhyechuxwa mihnathipxngknklamenuxcakkarxxkaerngmakekinthiepnxntrayethann ephraasmmutiknwa mnybyngkarthangankhxngesllprasathsngkarxlfathisngprasathipyngklamenuxediywkninsthankarnthuksthankarn aelawa mnthangantxemuxklamenuxtungmakethann aetpccubnchdecnaelwwa GTO sngkhxmulaerngtung kalngkhxngklamenuxxyutlxdewlasungihkhxmulthiaemnyakbrabbprasathklang xnung ephraaxinetxrniwrxninwngrieflkskhxng GTO idrbkhxmulkhwamrusukcak muscle spindle twrbkhwamrusukthihnng aela joint receptors twrbrutaaehnngkhxtx cungxacchwyihrabbprasathkhwbkhumklamenuxidxyanglaexiydemuxprasathsmphsnn chwyrabuaerngthitxngichinkicnn id echn smphsthimuxxacchwybxkihldaerngephuxihcbxyangeba id aelaephraaesniyprasath 1b sngsakhacanwnmakipyngesllprasathsngkarxlfakhxngklamenuxsungxxkaerngthikhxtxtang khxngxwywa wngrieflkskhxng GTO cungepnswnkhxngekhruxkhayrieflksthichwykhwbkhumkarekhluxnihwxwywamiaekhnkhaepntnnn thngxwywaechingxrrth0 5 mm 3 25 esnxangxingbthkhwamnirwmexakhxkhwamsungepnsatharnsmbticakhnathi 1061 khxnghnngsuxchbbphimphkhrngthi 20 kh s 1918 Antje Huter Becker aelakhna 2005 Biomechanik Bewegungslehre Leistungsphysiologie Trainingslehre phasaeyxrmn Thieme Verlag p 104 ISBN 3 13 136861 6 Purves et al 2018 Mechanoreceptors Specialized for Proprioception pp 201 202 Pearson amp Gordon 2013 35 3 Golgi Tendon Organs p 800 Barrett Kim E Boitano Scott Barman Susan M Brooks Heddwen L 2010 Chapter 9 Reflexes Ganong s Review of Medical Physiology 23rd ed McGraw Hill INVERSE STRETCH REFLEX pp 162 163 ISBN 978 0 07 160567 0 Purves et al 2018 The Spinal Cord Circuitry Underlying the Regulation of Muscle Force pp 370 371 Pearson amp Gordon 2013 Convergence of Inputs on Ib Interneurons Increases the Flexibility of Reflex Responses p 799 Mancall Elliott L Brock David G b k 2011 Chapter 2 Overview of the Microstructure of the Nervous System Gray s Clinical Neuroanatomy The Anatomic Basis for Clinical Neuroscience Elsevier Saunders p 29 ISBN 978 1 4160 4705 6 Saladin 2018 The Tendon Reflex pp 498 499 Pearson amp Gordon 2013 Table 35 1 Classification of Sensory Fibers from Muscle p 796 Purves et al 2018 Central Pathways Conveying Proprioceptive Information from the Body pp 204 205 Prochazka A Gorassini M 1998 Ensemble firing of muscle afferents recorded during normal locomotion in cats Journal of Physiology 507 1 293 304 doi 10 1111 j 1469 7793 1998 293bu x PMC 2230769 PMID 9490855 Stephens J A Reinking R M Stuart D G 1975 Journal of Neurophysiology 38 5 1217 1231 PMID 1177014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2023 07 26 subkhnemux 2019 08 17 Conway B A Hultborn H Kiehn O 1987 Proprioceptive input resets central locomotor rhythm in the spinal cat Experimental Brain Research 68 3 643 656 doi 10 1007 BF00249807 PMID 3691733 Prochazka A Gillard D Bennett D J 1997 J Neurophysiol 77 6 3226 3236 PMID 9212270 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2023 07 26 subkhnemux 2019 08 17 brrnanukrm Saladin KS 2018 Chapter 13 The Spinal Cord Spinal Nerves and Somatic Reflexes Anatomy and Physiology The Unity of Form and Function 8th ed New York McGraw Hill ISBN 978 1 259 27772 6 Purves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel Mooney Richard D Platt Michael L White Leonard E b k 2018 Chapter 9 The Somatosensory System Touch and Proprioception Neuroscience 6th ed Sinauer Associates ISBN 978 1 60535 380 7 Pearson Keir G Gordon James E 2013 35 Spinal Reflexes in Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth AJ b k Principles of Neural Science 5th ed United States McGraw Hill ISBN 978 0 07 139011 8 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb Golgi tendon organ