ไข้ หรือ อาการตัวร้อน (อังกฤษ: Fever; Pyrexia; Controlled hyperthermia) เป็นอาการแสดงทางการแพทย์ที่พบบ่อย หมายถึงการเพิ่มของอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าค่าปกติคือ 36.5–37.5 °C (98–100 °F) อันเป็นผลจากการปรับสูงขึ้นของอุณหภูมิเป้าหมายที่ร่างกายพยายามรักษาให้คงที่ การสูงขึ้นของอุณหภูมิเป้าหมายนี้กระตุ้นให้เพิ่มขึ้นและ
ไข้ (Fever) | |
---|---|
เทอร์มอมิเตอร์วัดไข้แสดงอุณหภูมิ 38.7 °C หรือ 101.7 °F | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | R50 |
ICD- | 780.6 |
18924 | |
med/785 | |
MeSH | D005334 |
เนื่องจากอุณหภูมิเป้าหมายของร่างกายสูงขึ้นทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหนาวทั้งตัวทั้งๆ ที่อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น และเมื่ออุณหภูมิร่างกายสูงถึงอุณหภูมิเป้าหมายใหม่แล้วจะทำให้รู้สึกอุ่น ไข้เป็นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของร่างกายที่พยายามต่อต้านการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ไข้อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุตั้งแต่ภาวะที่ไม่รุนแรงไปจนถึงที่รุนแรง โดยทั่วไปการรักษาด้วยการลดไข้นั้นมักไม่จำเป็นเว้นแต่ภาวะที่อุณหภูมิสูงขึ้นมาก อย่างไรก็ตามการใช้ยาลดไข้มีผลช่วยลดอุณหภูมิลงได้และทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้น
ไข้แตกต่างจากภาวะตัวร้อนเกินที่ควบคุมไม่ได้ (uncontrolled hyperthermia) โดยภาวะตัวร้อนเกินเป็นการเพิ่มของอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าอุณหภูมิเป้าหมายที่ร่างกายพยายามรักษาให้คงที่ สาเหตุเกิดจากการสร้างความร้อนของร่างกายมากเกินปกติ และ/หรือการปรับอุณหภูมิของร่างกายที่ไม่เพียงพอ
นิยาม
เนื่องจากอุณหภูมิปกติของร่างกายแปรผันได้หลากหลายเป็นพิสัยกว้าง จึงมีข้อตกลงโดยทั่วไปว่าผู้ป่วยมีไข้หากพบ
- อุณหภูมิที่วัดที่ทวารหนักเท่ากับหรือสูงกว่า 37.5–38.3 °C (100–101 °F)
- อุณหภูมิที่วัดที่ช่องปากเท่ากับหรือสูงกว่า 37.7 °C (99.9 °F)
- อุณหภูมิที่วัดที่รักแร้หรือในรูหูเท่ากับหรือสูงกว่า 37.2 °C (99.0 °F)
ในผู้ใหญ่ทั้งชายและหญิงที่มีสุขภาพดีมีพิสัยของอุณหภูมิที่วัดที่ช่องปากเท่ากับ 33.2–38.2 °C (92–101 °F) ที่ทวารหนักเท่ากับ 34.4–37.8 °C (94–100 °F) ที่เท่ากับ 35.4–37.8 °C (96–100 °F และที่รักแร้เท่ากับ 35.5–37.0 °C (96–99 °F)
ผู้คนโดยทั่วไปอาจมีอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นได้เมื่อทำกิจกรรมแต่ไม่นับว่าเป็นไข้เพราะว่าอุณหภูมิเป้าหมายยังคงปกติ ในผู้สูงอายุมีความสามารถในการสร้างความร้อนของร่างกายลดลง ดังนั้นผู้สูงอายุที่มีความเจ็บป่วยรุนแรงอาจมาด้วยอุณหภูมิที่ไม่สูงมากได้
ชนิด
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิบางครั้งอาจช่วยบอกการวินิจฉัยโรคได้
- ไข้เป็นๆ หายๆ (Intermittent fever) มีอุณหภูมิสูงขึ้นในบางชั่วโมงของวันและกลับลงมาปกติได้ พบในมาลาเรีย, (kala-azar; โรคติดเชื้อลิชมาเนียที่อวัยวะภายใน), และภาวะเลือดเป็นพิษเหตุติดเชื้อ ในโรคมาลาเรียอาจพบมีไข้นาน 24 ชั่วโมง (ไข้ประจำวัน), 48 ชั่วโมง (ไข้เกิดทุกสามวัน), หรือ 72 ชั่วโมง (ไข้เกิดทุกสี่วัน บอกถึงมาลาเรียชนิด) รูปแบบของไข้ดังกล่าวอาจไม่ชัดเจนในนักท่องเที่ยว
- (Pel-Ebstein fever) เป็นไข้รูปแบบพิเศษที่เกี่ยวข้องกับมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอด์จกิน มีลักษณะไข้หนึ่งสัปดาห์และลดลงในสัปดาห์ถัดไปสลับกันเรื่อยๆ อย่างไรก็ตามมีข้อโต้แย้งว่ามีรูปแบบไข้ชนิดนี้จริงหรือไม่
- ไข้ไม่สร่าง หรือ ไข้สูงลอย (Continuous fever) คืออุณหภูมิสูงกว่าปกติอยู่ตลอดวันและไม่เปลี่ยนแปลงมากกว่า 1 °C ใน 24 ชั่วโมง พบใน, ไข้รากสาดน้อย, การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ, โรคติดเชื้อบรูเซลลา, หรือไข้รากสาดใหญ่ ผู้ป่วยไข้รากสาดน้อยมีลักษณะไข้ที่จำเพาะคืออุณหภูมิค่อยๆ สูงขึ้นช้าๆ เป็นลำดับขั้นแล้วมีไข้สูงลอยเป็นเส้นตรง
- ไข้แกว่ง (Remittant fever) อุณหภูมิสูงกว่าปกติอยู่ตลอดวันและเปลี่ยนแปลงมากกว่า 1 °C ใน 24 ชั่วโมง เช่น
ไข้เหตุนิวโตรฟิลในเลือดต่ำ (febrile neutropenia) เป็นไข้ที่เกิดจากไม่มีการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันปกติ เนื่องจากการไม่มีเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟิลที่ทำหน้าที่ต่อสู้กับการติดเชื้อ ดังนั้นแบคทีเรียจึงสามารถกระจายไปได้ไกล ไข้จากสาเหตุนี้จึงนับเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ มักพบในผู้ที่ได้รับยาเคมีบำบัดที่กดภูมิคุ้มกันมากกว่าในคนปกติ
การจับไข้ต่ำๆ (Febricula) เป็นภาวะที่มีไข้ต่ำเป็นระยะเวลาสั้นโดยไม่มีสาเหตุและไม่มีพยาธิสภาพที่ชัดเจน
ไข้สูงเกิน
ไข้สูงเกิน (อังกฤษ: Hyperpyrexia) เป็นภาวะไข้ที่มีอุณหภูมิร่างกายสูงมากจนเท่ากับหรือมากกว่า 41.5 °C (106.7 °F) อุณหภูมิกายสูงจัดเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ซึ่งอาจบ่งบอกถึงโรคหรือภาวะประจำตัวที่รุนแรงหรือทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ สาเหตุที่พบมากที่สุดคือ สาเหตุอื่นที่เป็นไปได้ เช่น ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ (sepsis), โรคคาวาซากิ, (Neuroleptic malignant syndrome), ผลจากยา, กลุ่มอาการเซโรโทนิน (serotonin syndrome), และ (thyroid storm)
การติดเชื้อเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของไข้ ในขณะที่อุณหภูมิสูงขึ้นสาเหตุอื่นจะยิ่งพบบ่อยมากขึ้น การติดเชื้อที่มักพบเกี่ยวกับไข้สูงเกิน ได้แก่ เอ็กแซนทีมา ซับบิตัม (Exanthema subitum), หัด (rubeola), และการติดเชื้อ (enterovirus) การลดอุณหภูมิร่างกายทันทีให้ต่ำกว่า 38.9 °C (102.0 °F) พบว่าช่วยเพิ่มอัตรารอดชีวิต ไข้สูงเกินแตกต่างจากภาวะตัวร้อนเกิน กล่าวคือในไข้สูงเกินกลไกการควบคุมอุณหภูมิร่างกายยังมีการตั้งอุณหภูมิเป้าหมายที่สูงกว่าอุณหภูมิร่างกายปกติ จึงทำให้ร่างกายต้องสร้างความร้อนเพื่อให้ไปถึงอุณหภูมิที่ตั้งไว้ แต่ภาวะตัวร้อนเกินอุณหภูมิร่างกายจะสูงจนเกินอุณหภูมิเป้าหมายที่ร่างกายตั้งไว้
ภาวะตัวร้อนเกิน
ภาวะตัวร้อนเกิน หรือ ภาวะไข้สูง (อังกฤษ: Hyperthermia) เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น เป็นลมเพราะความร้อน (heatstroke), (Neuroleptic malignant syndrome), ไข้สูงอย่างร้าย (malignant hyperthermia), สารกระตุ้น เช่น แอมเฟตามีนและโคเคน, (idiosyncratic drug reactions), กลุ่มอาการเซโรโทนิน (serotonin syndrome)
อาการและอาการแสดง
ไข้มักเกิดร่วมกับพฤติกรรมป่วย (sickness behavior) ซึ่งประกอบด้วย (lethargy), ภาวะซึมเศร้า, เบื่ออาหาร, , (hyperalgesia), และไม่สามารถเพ่งความสนใจได้
การวินิจฉัยแยกโรค
ไข้เป็นอาการที่พบได้บ่อยในหลายๆ ภาวะทางการแพทย์ เช่น
- โรคติดเชื้อ เช่น ไข้หวัดใหญ่ การติดเชื้อเอชไอวี มาลาเรีย โรคติดเชื้อโมโนนิวคลีโอซิส หรือ
- การอักเสบของผิวหนังหลายชนิด เช่น ฝี หรือสิว
- โรคของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ลูปัส อีริทีมาโตซัส (inflammatory bowel disease)
- เนื้อเยื่อถูกทำลาย ซึ่งอาจเกิดในการสลายของเม็ดเลือดแดง (hemolysis), การผ่าตัด, เนื้อตายเหตุขาดเลือด (infarction), (crush syndrome), (rhabdomyolysis), เลือดออกในสมองใหญ่ (cerebral hemorrhage) ฯลฯ
- ปฏิกิริยาต่อการได้รับเลือดหรือผลิตภัณฑ์จากเลือดที่ไม่เข้ากันกับผู้ป่วย
- มะเร็ง โดยเฉพาะ มะเร็งเม็ดเลือดขาว และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
- เช่น เกาต์ หรือพอร์ไฟเรีย
- กระบวนการจากลิ่มเลือดอุดหลอดเลือด เช่น สิ่งหลุดอุดหลอดเลือดของปอด (pulmonary embolism) หรือ ลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำส่วนลึก (deep venous thrombosis)
ไข้ที่คงอยู่โดยไม่สามารถอธิบายสาเหตุได้หลังจากการค้นหาสาเหตุทางคลินิกซ้ำแล้ว เรียกว่า ไข้ไม่ทราบสาเหตุ (Fever of unknown origin)
พยาธิสรีรวิทยา
อุณหภูมิร่างกายถูกควบคุมโดยไฮโปทาลามัส สารที่กระตุ้นให้เกิดไข้หรือ (pyrogen) ทำให้มีการหลั่ง (prostaglandin E2; PGE2) ซึ่ง PGE2 จะมีผลต่อไฮโปทาลามัส ซึ่งส่งผลยังทั่วร่างกายตอบสนองให้มีการสร้างความร้อนเพื่อให้ไปยังอุณหภูมิเป้าหมายใหม่
ไฮโปทาลามัสทำงานคล้ายของร่างกาย เมื่ออุณหภูมิเป้าหมายที่ร่างกายพยายามรักษาสูงขึ้น ร่างกายจะพยายามเพิ่มอุณหภูมิทั้งโดยการสร้างความร้อนขึ้นและการกักเก็บความร้อนในร่างกาย การหดตัวของหลอดเลือดมีบทบาททั้งลดการสูญเสียความร้อนออกทางผิวหนังและทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหนาว ตับช่วยสร้างพลังงานเพิ่ม ซึ่งหากกลไกดังกล่าวยังไม่เพียงพอที่ทำให้อุณหภูมิของเลือดในสมองสูงจนเท่ากับอุณหภูมิเป้าหมายในไฮโปทาลามัส ผู้ป่วยจะเริ่มเพื่อเป็นการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อเพื่อช่วยผลิตความร้อนเพิ่ม เมื่ออาการไข้หยุดอุณหภูมิเป้าหมายของไฮโปทาลามัสจะลดลง แล้วกระบวนการในร่างกายจะย้อนกลับทาง กล่าวคือหลอดเลือดขยายตัว ร่างกายหยุดกระบวนการสร้างความร้อนและหยุดสั่น และมีเหงื่อออกเพื่อทำให้ร่างกายเย็นลงเพื่อให้ถึงอุณหภูมิเป้าหมายใหม่ที่ลดลง
ตรงข้ามกับภาวะตัวร้อนเกิน ซึ่งอุณหภูมิเป้าหมายของร่างกายยังคงปกติที่เดิม และร่างกายมีความร้อนสูงมากเกินจากกลไกการกักเก็บความร้อนส่วนเกินที่ไม่พึงประสงค์และการสร้างความร้อนที่มากเกิน ภาวะตัวร้อนเกินมักเป็นผลจากการอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ร้อนเกิน (เป็นลมเพราะความร้อน) หรือปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์จากยา ไข้สามารถแยกได้จากภาวะตัวร้อนเกินจากสภาวะแวดล้อมรอบตัวและการตอบสนองต่อยาลดไข้
สารก่อไข้
สารก่อไข้เป็นตัวชักนำให้เกิดไข้ ซึ่งอาจเป็นทั้งจากภายในหรือภายนอกร่างกาย ตัวอย่างของสารก่อไข้จากนอกร่างกายเช่น (lipopolysaccharide; LPS) ซึ่งมาจากผนังเซลล์แบคทีเรียบางชนิด ความสามารถในการก่อไข้ของสารก่อไข้ต่างๆ มีความหลากหลาย เช่นสารก่อไข้จากแบคทีเรียบางชนิดที่เรียกว่า (superantigens) ทำให้เกิดไข้ได้รวดเร็วและอันตราย
- สารก่อไข้ในร่างกาย
โดยหลักแล้ว สารก่อไข้ในร่างกายทั้งหมดคือไซโตไคน์ (cytokines) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด ไซโตไคน์ถูกสร้างจากเซลล์กลืนกิน (phagocytic cells) ที่กระตุ้นให้เพิ่มอุณหภูมิเป้าหมายให้สูงขึ้นในไฮโปทาลามัส สารก่อไข้ในร่างกายหลักที่สำคัญคือ (interleukin 1) ชนิด α และ β (interleukin 6) และ (tumor necrosis factor-alpha) ส่วนสารก่อไข้ในร่างกายตัวอื่นๆ เช่น (interleukin 8) (tumor necrosis factor-β) อัลฟา และบีตา (macrophage inflammatory protein-α and -β) รวมทั้ง (interferon-α) (interferon-β) และ (interferon-γ)
ไซโตไคน์แฟกเตอร์เหล่านี้ถูกหลั่งออกมาในระบบไหลเวียนโลหิต และเข้าไปยังส่วนที่อยู่รอบโพรงสมอง (circumventricular organ) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมอง (blood-brain barrier) กรองสารได้น้อย ไซโตไคน์จึงดูดซึมสู่สมองได้ง่าย ไซโตไคน์แฟกเตอร์จะจับกับตัวรับบนผนังหลอดเลือดหรือทำปฏิกิริยากับ (microglial cell) ณ ตำแหน่งนั้น และเกิดการกระตุ้น (arachidonic acid pathway) ต่อไป
- สารก่อไข้นอกร่างกาย
ตัวแบบของกลไกการเกิดไข้จากสารก่อไข้นอกร่างกายหนึ่งคือไลโปโพลีแซ็กคาไรด์ซึ่งเป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบ โปรตีนที่มีชื่อว่า (lipopolysaccharide-binding protein; LBP) จับกับ LPS ซึ่งโครงสร้าง LBP-LPS คอมเพล็กซ์นี้จะไปจับกับตัวรับ ของแมโครฟาจที่อยู่ใกล้เคียง ผลจากการจับกันทำให้มีการสร้างและหลั่งไซโตไคน์ในร่างกายหลายชนิด เช่น และ หรือกล่าวได้ว่าสารก่อไข้นอกร่างกายทำให้เกิดการหลั่งสารก่อไข้ในร่างกาย แล้วกระตุ้น (arachidonic acid pathway) ต่อ
การหลั่ง PGE2
การหลั่ง (prostaglandin E2; PGE2) มาจาก วิถีนี้ถูกควบคุมโดยเอนไซม์ชื่อ (phospholipase A2; PLA2), (cyclooxygenase-2; COX-2) และ (prostaglandin E2 synthase) เอนไซม์เหล่านี้ทำหน้าที่ควบคุมการสร้างและหลั่ง PGE2
PGE2 เป็นสารควบคุมหลักของไข้ อุณหภูมิเป้าหมายของร่างกายจะยังคงสูงไปจนกว่า PGE2 จะหายไป โดย PGE2 มีผลต่อเซลล์ประสาทใน (preoptic area; POA) ผ่านทางตัวรับชื่อ (prostaglandin E receptor 3; EP3) เซลล์ประสาทที่แสดงออก EP3 บนผิวเซลล์ในบริเวณ POA จะส่งกระแสประสาทไป (dorsomedial hypothalamus; DMH), รอสตรัล ราฟี พาลลิดัส นิวเคลียส (rostral raphe pallidus nucleus; rRPa) ใน, และ (paraventricular nucleus; PVN) ของไฮโปทาลามัส สัญญาณไข้ที่ถูกส่งไปยัง DMH และ rRPa ทำให้เกิดการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติกซึ่งทำหน้าที่กระตุ้นชนิดไม่หนาวสั่น (non-shivering thermogenesis) และกระตุ้นให้หลอดเลือดที่ผิวหนังหดตัวเพื่อลดการสูญเสียความร้อนออกจากผิวร่างกาย สันนิษฐานว่ากระแสประสาทจาก POA ไปยัง PVN ควบคุมผลทางระบบประสาทร่วมต่อมไร้ท่อต่อไข้ผ่านทางกลไกที่เกี่ยวกับต่อมใต้สมองและต่อมไร้ท่ออื่นๆ อีกจำนวนมาก
ไฮโปทาลามัส
สมองทำหน้าที่ควบคุมกลไกที่มีผลต่อความร้อนของร่างกายผ่านทางระบบประสาทอิสระ ได้แก่
- เพิ่มการสร้างความร้อนโดยการเพิ่ม และฮอร์โมนเช่นอีพิเนฟริน
- ป้องกันการสูญเสียความร้อน เช่น
ระบบประสาทอิสระยังกระตุ้น (brown adipose tissue) เพื่อสร้างความร้อน (ชนิดไม่เกี่ยวกับการออกกำลังกาย (non-exercise-associated thermogenesis) หรือที่เรียกว่าการก่อความร้อนชนิดไม่หนาวสั่น (non-shivering thermogenesis)) แต่กลไกนี้สำคัญเฉพาะในทารก การเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและการหดตัวของหลอดเลือดทำให้ความดันโลหิตสูงในขณะมีไข้
ประโยชน์ของไข้
ยังมีข้อโต้แย้งถึงประโยชน์หรือโทษของไข้และประเด็นนี้ก็ยังคงเป็นที่ถกเถียง การศึกษาในร่างกายของสัตว์มีกระดูกสันหลังเลือดอุ่นและมนุษย์บ่งบอกว่าสิ่งมีชีวิตจะหายจากอาการป่วยจากการติดเชื้อหรือความเจ็บป่วยวิกฤตจากไข้ได้เร็วขึ้น การศึกษาในฟินแลนด์บอกว่าเมื่อมีไข้จะช่วยลดอัตราตายจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
โดยทฤษฎีแล้ว ไข้ช่วยสนับสนุนกลไกการป้องกันของร่างกาย มีปฏิกิริยาทางระบบภูมิคุ้มกันที่สำคัญบางอย่างที่ถูกเร่งได้ด้วยอุณหภูมิ และจุลชีพก่อโรคบางชนิดที่ชอบอุณหภูมิจำกัดอาจถูกยับยั้งได้ ไข้อาจเป็นประโยชน์ในบางครั้งเพราะทำให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะกับจุลชีพก่อโรคบางชนิด และเม็ดเลือดขาวจะแบ่งตัวได้อย่างรวดเร็วขึ้นเพราะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและยังช่วยต่อสู้กับเชื้อโรคและจุลินทรีย์ที่บุกรุกร่างกาย
มีงานวิจัยที่แสดงว่าไข้มีหน้าที่ที่สำคัญหลายประการในกระบวนการรักษาของร่างกาย เช่น
- ช่วยในการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาว
- สนับสนุนการกลืนกินของเม็ดเลือดขาว
- ลดฤทธิ์ของ (endotoxin)
- เพิ่มของ (T-cells)
- สนับสนุนการทำงานของ (interferon)
การรักษา
ไข้นั้นไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่หายจากไข้ได้เองโดยไม่ต้องการรักษาเป็นพิเศษด้วยยา ควรแนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำให้เพียงพอ ซึ่งอาจดื่มน้ำสะอาดหรือใช้ (โออาร์เอส) ก็ได้ แต่การดื่มน้ำมากเกินไปอาจทำให้โซเดียมในเลือดต่ำ มีหลักฐานไม่มากที่สนับสนุนการเช็ดตัวด้วยน้ำอุ่นเพื่อลดไข้ หากอุณหภูมิร่างกายสูงมากจนเกินระดับไข้สูงเกินพิจารณาให้ความเย็นอย่างรวดเร็ว (aggressive cooling) เพื่อลดอุณหภูมิและการเช็ดตัวด้วยน้ำธรรมดาช่วยให้ลดอุณหภูมิของร่างกายลงได้ ซึ่งทำได้โดยใช้ผ้าชุบน้ำบิดพอหมาดๆ เช็ดบริเวณหน้าผาก ซอกรักแร้ ต้นขา ขาพับ ฝ่ามือและฝ่าเท้า ควรเช็ดตัวอยู่เป็นระยะเพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกายไม่ให้สูงจนเกินไปนัก
การใช้ยา
ยาลดไข้ไอบูโปรเฟน (ibuprofen) มีประสิทธิผลในการรักษาไข้ และมีประสิทธิผลสูงกว่าการใช้พาราเซตามอลในเด็ก แต่ก็สามารถใช้ยาทั้งคู่ร่วมกันได้อย่างปลอดภัย ประสิทธิผลของพาราเซตามอลในการลดไข้ด้วยตัวยาเองยังเป็นที่สงสัย นอกจากนี้ไอบูโปรเฟนยังให้ผลเหนือกว่าแอสไพริน ซึ่งแอสไพรินนี้ไม่แนะนำให้ใช้ในเด็กเพราะเสี่ยงต่อการเกิดกลุ่มอาการเรย์ (Reye's syndrome)
อ้างอิง
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ปรับปรุงเมื่อ 6 ส.ค. 2544
- Axelrod YK, Diringer MN (May 2008). "Temperature management in acute neurologic disorders". Neurol Clin. 26 (2): 585–603, xi. doi:10.1016/j.ncl.2008.02.005. PMID 18514828.
- Karakitsos D, Karabinis A (September 2008). "Hypothermia therapy after traumatic brain injury in children". N. Engl. J. Med. 359 (11): 1179–80. PMID 18788094.
- Karakitsos D, Karabinis A (September 2008). "Hypothermia therapy after traumatic brain injury in children". N. Engl. J. Med. 359 (11): 1179–80. PMID 18788094.
- Marx, John (2006). Rosen's emergency medicine: concepts and clinical practice. Mosby/Elsevier. p. 2239. ISBN .
- Laupland KB (July 2009). "Fever in the critically ill medical patient". Crit. Care Med. 37 (7 Suppl): S273–8. doi:10.1097/CCM.0b013e3181aa6117. PMID 19535958.
- Manson's Tropical Diseases: Expert Consult. Saunders Ltd. 2008. p. 1229. ISBN .
- Trautner BW, Caviness AC, Gerlacher GR, Demmler G, Macias CG (July 2006). "Prospective evaluation of the risk of serious bacterial infection in children who present to the emergency department with hyperpyrexia (temperature of 106 degrees F or higher)". Pediatrics. 118 (1): 34–40. doi:10.1542/peds.2005-2823. PMC 2077849. PMID 16818546.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Barone JE (August 2009). "Fever: Fact and fiction". J Trauma. 67 (2): 406–9. doi:10.1097/TA.0b013e3181a5f335. PMID 19667898.
- Sund-Levander M, Forsberg C, Wahren LK (June 2002). "Normal oral, rectal, tympanic and axillary body temperature in adult men and women: a systematic literature review". Scand J Caring Sci. 16 (2): 122–8. doi:10.1046/j.1471-6712.2002.00069.x. PMID 12000664.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Hilson AJ (July 1995). "Pel-Ebstein fever". N. Engl. J. Med. 333 (1): 66–7. doi:10.1056/NEJM199507063330118. PMID 7777006.. They cite Richard Asher's lecture Making Sense (Lancet, 1959, 2, 359)
- Febricula, definition from Biology-Online.org, consulted June 7, 2006 http://www.biology-online.org/dictionary/Febricula
- Loscalzo, Joseph; Fauci, Anthony S.; Braunwald, Eugene; Dennis L. Kasper; Hauser, Stephen L; Longo, Dan L. (2008). Harrison's principles of internal medicine. McGraw-Hill Medical. pp. Chapter 17, Fever versus hyperthermia. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - McGugan EA (March 2001). "Hyperpyrexia in the emergency department". Emerg Med (Fremantle). 13 (1): 116–20. doi:10.1046/j.1442-2026.2001.00189.x. PMID 11476402.
- Marx, John (2006). Rosen's emergency medicine: concepts and clinical practice. Mosby/Elsevier. p. 2506. ISBN .
- Marx, John (2006). Rosen's emergency medicine: concepts and clinical practice. Mosby/Elsevier. p. 2506. ISBN .
- Hart, B. L. (1988) "Biological basis of the behavior of sick animals". Neurosci Biobehav Rev. 12: 123-137.PMID 3050629
- Johnson, R. (2002) "The concept of sickness behavior: a brief chronological account of four key discoveries". Veterinary Immunology and Immunopathology. 87: 443-450 PMID 12072271
- Kelley, K. W., Bluthe, R. M., Dantzer, R., Zhou, J. H., Shen, W. H., Johnson, R. W. Broussard, S. R. (2003) "Cytokine-induced sickness behavior". Brain Behav Immun. 17 Suppl 1: S112-118 PMID 12615196
- Fauci, Anthony; และคณะ (2008). Harrison's Principles of Internal Medicine (17 ed.). McGraw-Hill Professional. pp. 117–121. ISBN .
- Chapter 58 in: Walter F., PhD. Boron (2003). Medical Physiology: A Cellular And Molecular Approaoch. Elsevier/Saunders. p. 1300. ISBN .
- Schaffner A. Fever—useful or noxious symptom that should be treated? Ther Umsch 2006; 63: 185-8. PMID 16613288
- Soszynski D. The pathogenesis and the adaptive value of fever. Postepy Hig Med Dosw 2003; 57: 531-54. PMID 14737969
- Su, F.; Nguyen, N.D.; Wang, Z.; Cai, Y.; Rogiers, P.; Vincent, J.L. Fever control in septic shock: beneficial or harmful? Shock 2005; 23: 516-20. PMID 15897803
- Schulman, C.I.; Namias, N.; Doherty, J., et al. The effect of antipyretic therapy upon outcomes in critically ill patients: a randomized, prospective study. Surg Infect (Larchmt) 2005; 6:369-75. PMID 16433601
- Rantala S, Vuopio-Varkila J, Vuento R, Huhtala H, Syrjänen J. Predictors of mortality in beta-hemolytic streptococcal bacteremia: A population-based study. J Infect. March 2, 2009. PMID 19261333
- Fischler, M.P.; Reinhart, W.H. Fever: friend or enemy? Schweiz Med Wochenschr 1997; 127: 864-70. PMID 9289813
- Craven, R and Hirnle, C. (2006). Fundamentals of nursing: Human health and function. Fourth edition. p. 1044
- Lewis, SM, Heitkemper, MM, and Dirksen, SR. (2007). Medical-surgical nursing: Assessment and management of clinical problems. sixth edition. p. 212
- "Fever". Medline Plus Medical Encyclopedia. U.S. National Library of Medicine. สืบค้นเมื่อ 20 May 2009.
- "What To Do If You Get Sick: 2009 H1N1 and Seasonal Flu". Centers for Disease Control and Prevention. 2009-05-07. สืบค้นเมื่อ 2009-11-01.
- Meremikwu M, Oyo-Ita A (2003). "Physical methods for treating fever in children". Cochrane Database Syst Rev (2): CD004264. doi:10.1002/14651858.CD004264. PMID 12804512.
- Perrott DA, Piira T, Goodenough B, Champion GD (June 2004). "Efficacy and safety of acetaminophen vs ibuprofen for treating children's pain or fever: a meta-analysis". Arch Pediatr Adolesc Med. 158 (6): 521–6. doi:10.1001/archpedi.158.6.521. PMID 15184213.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Hay AD, Redmond NM, Costelloe C; และคณะ (May 2009). "Paracetamol and ibuprofen for the treatment of fever in children: the PITCH randomised controlled trial" (PDF). Health Technol Assess. 13 (27): iii–iv, ix–x, 1–163. doi:10.3310/hta13270 (inactive 2010-09-13). PMID 19454182.
{{}}
: CS1 maint: DOI inactive as of กันยายน 2010 () CS1 maint: multiple names: authors list () - Southey ER, Soares-Weiser K, Kleijnen J (September 2009). "Systematic review and meta-analysis of the clinical safety and tolerability of ibuprofen compared with paracetamol in paediatric pain and fever". Curr Med Res Opin. 25 (9): 2207–22. doi:10.1185/03007990903116255. PMID 19606950.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Meremikwu M, Oyo-Ita A (2002). "Paracetamol for treating fever in children". Cochrane Database Syst Rev (2): CD003676. doi:10.1002/14651858.CD003676. PMID 12076499.
- Autret E, Reboul-Marty J, Henry-Launois B; และคณะ (1997). "Evaluation of ibuprofen versus aspirin and paracetamol on efficacy and comfort in children with fever". Eur. J. Clin. Pharmacol. 51 (5): 367–71. doi:10.1007/s002280050215. PMID 9049576.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
- Rhoades, R. and Pflanzer, R. Human physiology, third edition, chapter 27 Regulation of body temperature, p. 820 Clinical focus: pathogenesis of fever.
แหล่งข้อมูลอื่น
- What to do if your child has a fever 2007-10-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน from Seattle Children's Hospital
- Fever and Taking Your Child's Temperature
- US National Institute of Health factsheet
- BUPA factsheet 2006-07-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ikh hrux xakartwrxn xngkvs Fever Pyrexia Controlled hyperthermia epnxakaraesdngthangkaraephthythiphbbxy hmaythungkarephimkhxngxunhphumirangkaysungkwakhapktikhux 36 5 37 5 C 98 100 F xnepnphlcakkarprbsungkhunkhxngxunhphumiepahmaythirangkayphyayamrksaihkhngthi karsungkhunkhxngxunhphumiepahmaynikratunihephimkhunaelaikh Fever ethxrmxmietxrwdikhaesdngxunhphumi 38 7 C hrux 101 7 FbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10R50ICD 780 618924med 785MeSHD005334 enuxngcakxunhphumiepahmaykhxngrangkaysungkhunthaihphupwyrusukhnawthngtwthng thixunhphumirangkaysungkhun aelaemuxxunhphumirangkaysungthungxunhphumiepahmayihmaelwcathaihrusukxun ikhepnkartxbsnxngthangphumikhumknkhxngrangkaythiphyayamtxtankartidechuxaebkhthieriyhruxiwrs ikhxacekididcakhlaysaehtutngaetphawathiimrunaerngipcnthungthirunaerng odythwipkarrksadwykarldikhnnmkimcaepnewnaetphawathixunhphumisungkhunmak xyangirktamkarichyaldikhmiphlchwyldxunhphumilngidaelathaihphupwyrusuksbaykhun ikhaetktangcakphawatwrxnekinthikhwbkhumimid uncontrolled hyperthermia odyphawatwrxnekinepnkarephimkhxngxunhphumirangkaysungkwaxunhphumiepahmaythirangkayphyayamrksaihkhngthi saehtuekidcakkarsrangkhwamrxnkhxngrangkaymakekinpkti aela hruxkarprbxunhphumikhxngrangkaythiimephiyngphxniyamenuxngcakxunhphumipktikhxngrangkayaeprphnidhlakhlayepnphisykwang cungmikhxtklngodythwipwaphupwymiikhhakphb xunhphumithiwdthithwarhnkethakbhruxsungkwa 37 5 38 3 C 100 101 F xunhphumithiwdthichxngpakethakbhruxsungkwa 37 7 C 99 9 F xunhphumithiwdthirkaerhruxinruhuethakbhruxsungkwa 37 2 C 99 0 F inphuihythngchayaelahyingthimisukhphaphdimiphisykhxngxunhphumithiwdthichxngpakethakb 33 2 38 2 C 92 101 F thithwarhnkethakb 34 4 37 8 C 94 100 F thiethakb 35 4 37 8 C 96 100 F aelathirkaerethakb 35 5 37 0 C 96 99 F phukhnodythwipxacmixunhphumirangkaysungkhunidemuxthakickrrmaetimnbwaepnikhephraawaxunhphumiepahmayyngkhngpkti inphusungxayumikhwamsamarthinkarsrangkhwamrxnkhxngrangkayldlng dngnnphusungxayuthimikhwamecbpwyrunaerngxacmadwyxunhphumithiimsungmakid chnid rupaebbkhxngkarepliynaeplngxunhphumibangkhrngxacchwybxkkarwinicchyorkhid ikhepn hay Intermittent fever mixunhphumisungkhuninbangchwomngkhxngwnaelaklblngmapktiid phbinmalaeriy kala azar orkhtidechuxlichmaeniythixwywaphayin aelaphawaeluxdepnphisehtutidechux inorkhmalaeriyxacphbmiikhnan 24 chwomng ikhpracawn 48 chwomng ikhekidthuksamwn hrux 72 chwomng ikhekidthuksiwn bxkthungmalaeriychnid rupaebbkhxngikhdngklawxacimchdecninnkthxngethiyw Pel Ebstein fever epnikhrupaebbphiessthiekiywkhxngkbmaerngtxmnaehluxngchnidhxdckin milksnaikhhnungspdahaelaldlnginspdahthdipslbkneruxy xyangirktammikhxotaeyngwamirupaebbikhchnidnicringhruxim ikhimsrang hrux ikhsunglxy Continuous fever khuxxunhphumisungkwapktixyutlxdwnaelaimepliynaeplngmakkwa 1 C in 24 chwomng phbin ikhraksadnxy kartidechuxinthangedinpssawa orkhtidechuxbrueslla hruxikhraksadihy phupwyikhraksadnxymilksnaikhthicaephaakhuxxunhphumikhxy sungkhuncha epnladbkhnaelwmiikhsunglxyepnesntrng ikhaekwng Remittant fever xunhphumisungkwapktixyutlxdwnaelaepliynaeplngmakkwa 1 C in 24 chwomng echn ikhehtuniwotrfilineluxdta febrile neutropenia epnikhthiekidcakimmikarthangankhxngrabbphumikhumknpkti enuxngcakkarimmiemdeluxdkhawchnidniwotrfilthithahnathitxsukbkartidechux dngnnaebkhthieriycungsamarthkracayipidikl ikhcaksaehtunicungnbepnphawachukechinthangkaraephthy mkphbinphuthiidrbyaekhmibabdthikdphumikhumknmakkwainkhnpkti karcbikhta Febricula epnphawathimiikhtaepnrayaewlasnodyimmisaehtuaelaimmiphyathisphaphthichdecn ikhsungekin ikhsungekin xngkvs Hyperpyrexia epnphawaikhthimixunhphumirangkaysungmakcnethakbhruxmakkwa 41 5 C 106 7 F xunhphumikaysungcdepnphawachukechinthangkaraephthysungxacbngbxkthungorkhhruxphawapracatwthirunaernghruxthaihekidphawaaethrksxnthisakhy saehtuthiphbmakthisudkhux saehtuxunthiepnipid echn phawaphisehtutidechux sepsis orkhkhawasaki Neuroleptic malignant syndrome phlcakya klumxakaresorothnin serotonin syndrome aela thyroid storm kartidechuxepnsaehtuswnihykhxngikh inkhnathixunhphumisungkhunsaehtuxuncayingphbbxymakkhun kartidechuxthimkphbekiywkbikhsungekin idaek exkaesnthima sbbitm Exanthema subitum hd rubeola aelakartidechux enterovirus karldxunhphumirangkaythnthiihtakwa 38 9 C 102 0 F phbwachwyephimxtrarxdchiwit ikhsungekinaetktangcakphawatwrxnekin klawkhuxinikhsungekinklikkarkhwbkhumxunhphumirangkayyngmikartngxunhphumiepahmaythisungkwaxunhphumirangkaypkti cungthaihrangkaytxngsrangkhwamrxnephuxihipthungxunhphumithitngiw aetphawatwrxnekinxunhphumirangkaycasungcnekinxunhphumiepahmaythirangkaytngiw phawatwrxnekin phawatwrxnekin hrux phawaikhsung xngkvs Hyperthermia ekididcakhlaysaehtu echn epnlmephraakhwamrxn heatstroke Neuroleptic malignant syndrome ikhsungxyangray malignant hyperthermia sarkratun echn aexmeftaminaelaokhekhn idiosyncratic drug reactions klumxakaresorothnin serotonin syndrome xakaraelaxakaraesdngikhmkekidrwmkbphvtikrrmpwy sickness behavior sungprakxbdwy lethargy phawasumesra ebuxxahar hyperalgesia aelaimsamarthephngkhwamsnicidkarwinicchyaeykorkhikhepnxakarthiphbidbxyinhlay phawathangkaraephthy echn orkhtidechux echn ikhhwdihy kartidechuxexchixwi malaeriy orkhtidechuxomonniwkhlioxsis hrux karxkesbkhxngphiwhnnghlaychnid echn fi hruxsiw orkhkhxngrabbphumikhumkn echn lups xirithimaotss inflammatory bowel disease enuxeyuxthukthalay sungxacekidinkarslaykhxngemdeluxdaedng hemolysis karphatd enuxtayehtukhadeluxd infarction crush syndrome rhabdomyolysis eluxdxxkinsmxngihy cerebral hemorrhage l ptikiriyatxkaridrbeluxdhruxphlitphnthcakeluxdthiimekhaknkbphupwy maerng odyechphaa maerngemdeluxdkhaw aelamaerngtxmnaehluxng echn ekat hruxphxriferiy krabwnkarcaklimeluxdxudhlxdeluxd echn singhludxudhlxdeluxdkhxngpxd pulmonary embolism hrux limeluxdinhlxdeluxddaswnluk deep venous thrombosis ikhthikhngxyuodyimsamarthxthibaysaehtuidhlngcakkarkhnhasaehtuthangkhliniksaaelw eriykwa ikhimthrabsaehtu Fever of unknown origin phyathisrirwithyaphawatwrxnekin say xunhphumipktikhxngrangkay xunhphumiepahmaythirangkayphyayamrksaihkhngthi aesdngdwysiekhiyw aelaxunhphumikhxngphawatwrxnekinaesdngdwysiaedng cakphaphinphawatwrxnekincamixunhphumirangkaysungkwaxunhphumiepahmay phawatweynekin klang xunhphumipktikhxngrangkayaesdngdwysiekhiyw aelaxunhphumikhxngphawatweynekinaesdngdwysinaengin cakphaphinphawatweynekincamixunhphumirangkaytakwaxunhphumiepahmay ikh khwa xunhphumipktikhxngrangkayaesdngdwysiekhiywsungepnxunhphumipkti ihm ephraaklikkhwbkhumxunhphumiidprbxunhphumiepahmayihsungkhun epnehtuphlthixunhphumipktiedimkhxngrangkay naengin eynekin kwapkti phupwycungrusukhnawthngthixunhphumirangkaysungkhun xunhphumirangkaythukkhwbkhumodyihopthalams sarthikratunihekidikhhrux pyrogen thaihmikarhlng prostaglandin E2 PGE2 sung PGE2 camiphltxihopthalams sungsngphlyngthwrangkaytxbsnxngihmikarsrangkhwamrxnephuxihipyngxunhphumiepahmayihm ihopthalamsthangankhlaykhxngrangkay emuxxunhphumiepahmaythirangkayphyayamrksasungkhun rangkaycaphyayamephimxunhphumithngodykarsrangkhwamrxnkhunaelakarkkekbkhwamrxninrangkay karhdtwkhxnghlxdeluxdmibthbaththngldkarsuyesiykhwamrxnxxkthangphiwhnngaelathaihphupwyrusukhnaw tbchwysrangphlngnganephim sunghakklikdngklawyngimephiyngphxthithaihxunhphumikhxngeluxdinsmxngsungcnethakbxunhphumiepahmayinihopthalams phupwycaerimephuxepnkarekhluxnihwkhxngklamenuxephuxchwyphlitkhwamrxnephim emuxxakarikhhyudxunhphumiepahmaykhxngihopthalamscaldlng aelwkrabwnkarinrangkaycayxnklbthang klawkhuxhlxdeluxdkhyaytw rangkayhyudkrabwnkarsrangkhwamrxnaelahyudsn aelamiehnguxxxkephuxthaihrangkayeynlngephuxihthungxunhphumiepahmayihmthildlng trngkhamkbphawatwrxnekin sungxunhphumiepahmaykhxngrangkayyngkhngpktithiedim aelarangkaymikhwamrxnsungmakekincakklikkarkkekbkhwamrxnswnekinthiimphungprasngkhaelakarsrangkhwamrxnthimakekin phawatwrxnekinmkepnphlcakkarxyuinsphawaaewdlxmthirxnekin epnlmephraakhwamrxn hruxptikiriyaimphungprasngkhcakya ikhsamarthaeykidcakphawatwrxnekincaksphawaaewdlxmrxbtwaelakartxbsnxngtxyaldikh sarkxikh sarkxikhepntwchknaihekidikh sungxacepnthngcakphayinhruxphaynxkrangkay twxyangkhxngsarkxikhcaknxkrangkayechn lipopolysaccharide LPS sungmacakphnngesllaebkhthieriybangchnid khwamsamarthinkarkxikhkhxngsarkxikhtang mikhwamhlakhlay echnsarkxikhcakaebkhthieriybangchnidthieriykwa superantigens thaihekidikhidrwderwaelaxntray sarkxikhinrangkay odyhlkaelw sarkxikhinrangkaythnghmdkhuxisotikhn cytokines sungepnswnhnungkhxngrabbphumikhumknaetkaenid isotikhnthuksrangcakesllklunkin phagocytic cells thikratunihephimxunhphumiepahmayihsungkhuninihopthalams sarkxikhinrangkayhlkthisakhykhux interleukin 1 chnid a aela b interleukin 6 aela tumor necrosis factor alpha swnsarkxikhinrangkaytwxun echn interleukin 8 tumor necrosis factor b xlfa aelabita macrophage inflammatory protein a and b rwmthng interferon a interferon b aela interferon g isotikhnaefketxrehlanithukhlngxxkmainrabbihlewiynolhit aelaekhaipyngswnthixyurxbophrngsmxng circumventricular organ sungepntaaehnngthiokhrngsrangknrahwangeluxdaelasmxng blood brain barrier krxngsaridnxy isotikhncungdudsumsusmxngidngay isotikhnaefketxrcacbkbtwrbbnphnnghlxdeluxdhruxthaptikiriyakb microglial cell n taaehnngnn aelaekidkarkratun arachidonic acid pathway txip sarkxikhnxkrangkay twaebbkhxngklikkarekidikhcaksarkxikhnxkrangkayhnungkhuxilopophliaeskkhairdsungepnxngkhprakxbkhxngphnngesllkhxngaebkhthieriyaekrmlb oprtinthimichuxwa lipopolysaccharide binding protein LBP cbkb LPS sungokhrngsrang LBP LPS khxmephlksnicaipcbkbtwrb khxngaemokhrfacthixyuiklekhiyng phlcakkarcbknthaihmikarsrangaelahlngisotikhninrangkayhlaychnid echn aela hruxklawidwasarkxikhnxkrangkaythaihekidkarhlngsarkxikhinrangkay aelwkratun arachidonic acid pathway tx karhlng PGE2 karhlng prostaglandin E2 PGE2 macak withinithukkhwbkhumodyexnismchux phospholipase A2 PLA2 cyclooxygenase 2 COX 2 aela prostaglandin E2 synthase exnismehlanithahnathikhwbkhumkarsrangaelahlng PGE2 PGE2 epnsarkhwbkhumhlkkhxngikh xunhphumiepahmaykhxngrangkaycayngkhngsungipcnkwa PGE2 cahayip ody PGE2 miphltxesllprasathin preoptic area POA phanthangtwrbchux prostaglandin E receptor 3 EP3 esllprasaththiaesdngxxk EP3 bnphiwesllinbriewn POA casngkraaesprasathip dorsomedial hypothalamus DMH rxstrl rafi phallids niwekhliys rostral raphe pallidus nucleus rRPa in aela paraventricular nucleus PVN khxngihopthalams syyanikhthithuksngipyng DMH aela rRPa thaihekidkarkratunrabbprasathsimphaethtiksungthahnathikratunchnidimhnawsn non shivering thermogenesis aelakratunihhlxdeluxdthiphiwhnnghdtwephuxldkarsuyesiykhwamrxnxxkcakphiwrangkay snnisthanwakraaesprasathcak POA ipyng PVN khwbkhumphlthangrabbprasathrwmtxmirthxtxikhphanthangklikthiekiywkbtxmitsmxngaelatxmirthxxun xikcanwnmak ihopthalams smxngthahnathikhwbkhumklikthimiphltxkhwamrxnkhxngrangkayphanthangrabbprasathxisra idaek ephimkarsrangkhwamrxnodykarephim aelahxromnechnxiphienfrin pxngknkarsuyesiykhwamrxn echn rabbprasathxisrayngkratun brown adipose tissue ephuxsrangkhwamrxn chnidimekiywkbkarxxkkalngkay non exercise associated thermogenesis hruxthieriykwakarkxkhwamrxnchnidimhnawsn non shivering thermogenesis aetkliknisakhyechphaainthark karephimxtrakaretnkhxnghwicaelakarhdtwkhxnghlxdeluxdthaihkhwamdnolhitsunginkhnamiikh praoychnkhxngikh yngmikhxotaeyngthungpraoychnhruxothskhxngikhaelapraednnikyngkhngepnthithkethiyng karsuksainrangkaykhxngstwmikraduksnhlngeluxdxunaelamnusybngbxkwasingmichiwitcahaycakxakarpwycakkartidechuxhruxkhwamecbpwywikvtcakikhiderwkhun karsuksainfinaelndbxkwaemuxmiikhcachwyldxtrataycakkartidechuxaebkhthieriy odythvsdiaelw ikhchwysnbsnunklikkarpxngknkhxngrangkay miptikiriyathangrabbphumikhumknthisakhybangxyangthithukerngiddwyxunhphumi aelaculchiphkxorkhbangchnidthichxbxunhphumicakdxacthukybyngid ikhxacepnpraoychninbangkhrngephraathaihxunhphumirangkaysungkhunthaihsphaphaewdlxmimehmaakbculchiphkxorkhbangchnid aelaemdeluxdkhawcaaebngtwidxyangrwderwkhunephraaxyuinsphaphaewdlxmthiehmaasmaelayngchwytxsukbechuxorkhaelaculinthriythibukrukrangkay minganwicythiaesdngwaikhmihnathithisakhyhlayprakarinkrabwnkarrksakhxngrangkay echn chwyinkarekhluxnthikhxngemdeluxdkhaw snbsnunkarklunkinkhxngemdeluxdkhaw ldvththikhxng endotoxin ephimkhxng T cells snbsnunkarthangankhxng interferon karrksaikhnnimcaepntxngidrbkarrksa phupwyswnihyhaycakikhidexngodyimtxngkarrksaepnphiessdwyya khwraenanaihphupwydumnaihephiyngphx sungxacdumnasaxadhruxich oxxarexs kid aetkardumnamakekinipxacthaihosediymineluxdta mihlkthanimmakthisnbsnunkarechdtwdwynaxunephuxldikh hakxunhphumirangkaysungmakcnekinradbikhsungekinphicarnaihkhwameynxyangrwderw aggressive cooling ephuxldxunhphumiaelakarechdtwdwynathrrmdachwyihldxunhphumikhxngrangkaylngid sungthaidodyichphachubnabidphxhmad echdbriewnhnaphak sxkrkaer tnkha khaphb famuxaelafaetha khwrechdtwxyuepnrayaephuxrksaxunhphumikhxngrangkayimihsungcnekinipnk karichya yaldikhixbuoprefn ibuprofen miprasiththiphlinkarrksaikh aelamiprasiththiphlsungkwakarichpharaestamxlinedk aetksamarthichyathngkhurwmknidxyangplxdphy prasiththiphlkhxngpharaestamxlinkarldikhdwytwyaexngyngepnthisngsy nxkcakniixbuoprefnyngihphlehnuxkwaaexsiphrin sungaexsiphrinniimaenanaihichinedkephraaesiyngtxkarekidklumxakarery Reye s syndrome xangxingsphthbyytirachbnthitysthan 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin prbprungemux 6 s kh 2544 Axelrod YK Diringer MN May 2008 Temperature management in acute neurologic disorders Neurol Clin 26 2 585 603 xi doi 10 1016 j ncl 2008 02 005 PMID 18514828 Karakitsos D Karabinis A September 2008 Hypothermia therapy after traumatic brain injury in children N Engl J Med 359 11 1179 80 PMID 18788094 Karakitsos D Karabinis A September 2008 Hypothermia therapy after traumatic brain injury in children N Engl J Med 359 11 1179 80 PMID 18788094 Marx John 2006 Rosen s emergency medicine concepts and clinical practice Mosby Elsevier p 2239 ISBN 9780323028455 Laupland KB July 2009 Fever in the critically ill medical patient Crit Care Med 37 7 Suppl S273 8 doi 10 1097 CCM 0b013e3181aa6117 PMID 19535958 Manson s Tropical Diseases Expert Consult Saunders Ltd 2008 p 1229 ISBN 1 4160 4470 1 Trautner BW Caviness AC Gerlacher GR Demmler G Macias CG July 2006 Prospective evaluation of the risk of serious bacterial infection in children who present to the emergency department with hyperpyrexia temperature of 106 degrees F or higher Pediatrics 118 1 34 40 doi 10 1542 peds 2005 2823 PMC 2077849 PMID 16818546 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Barone JE August 2009 Fever Fact and fiction J Trauma 67 2 406 9 doi 10 1097 TA 0b013e3181a5f335 PMID 19667898 Sund Levander M Forsberg C Wahren LK June 2002 Normal oral rectal tympanic and axillary body temperature in adult men and women a systematic literature review Scand J Caring Sci 16 2 122 8 doi 10 1046 j 1471 6712 2002 00069 x PMID 12000664 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Hilson AJ July 1995 Pel Ebstein fever N Engl J Med 333 1 66 7 doi 10 1056 NEJM199507063330118 PMID 7777006 They cite Richard Asher s lecture Making Sense Lancet 1959 2 359 Febricula definition from Biology Online org consulted June 7 2006 http www biology online org dictionary Febricula Loscalzo Joseph Fauci Anthony S Braunwald Eugene Dennis L Kasper Hauser Stephen L Longo Dan L 2008 Harrison s principles of internal medicine McGraw Hill Medical pp Chapter 17 Fever versus hyperthermia ISBN 0 07 146633 9 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk McGugan EA March 2001 Hyperpyrexia in the emergency department Emerg Med Fremantle 13 1 116 20 doi 10 1046 j 1442 2026 2001 00189 x PMID 11476402 Marx John 2006 Rosen s emergency medicine concepts and clinical practice Mosby Elsevier p 2506 ISBN 9780323028455 Marx John 2006 Rosen s emergency medicine concepts and clinical practice Mosby Elsevier p 2506 ISBN 9780323028455 Hart B L 1988 Biological basis of the behavior of sick animals Neurosci Biobehav Rev 12 123 137 PMID 3050629 Johnson R 2002 The concept of sickness behavior a brief chronological account of four key discoveries Veterinary Immunology and Immunopathology 87 443 450 PMID 12072271 Kelley K W Bluthe R M Dantzer R Zhou J H Shen W H Johnson R W Broussard S R 2003 Cytokine induced sickness behavior Brain Behav Immun 17 Suppl 1 S112 118 PMID 12615196 Fauci Anthony aelakhna 2008 Harrison s Principles of Internal Medicine 17 ed McGraw Hill Professional pp 117 121 ISBN 9780071466332 Chapter 58 in Walter F PhD Boron 2003 Medical Physiology A Cellular And Molecular Approaoch Elsevier Saunders p 1300 ISBN 1 4160 2328 3 Schaffner A Fever useful or noxious symptom that should be treated Ther Umsch 2006 63 185 8 PMID 16613288 Soszynski D The pathogenesis and the adaptive value of fever Postepy Hig Med Dosw 2003 57 531 54 PMID 14737969 Su F Nguyen N D Wang Z Cai Y Rogiers P Vincent J L Fever control in septic shock beneficial or harmful Shock 2005 23 516 20 PMID 15897803 Schulman C I Namias N Doherty J et al The effect of antipyretic therapy upon outcomes in critically ill patients a randomized prospective study Surg Infect Larchmt 2005 6 369 75 PMID 16433601 Rantala S Vuopio Varkila J Vuento R Huhtala H Syrjanen J Predictors of mortality in beta hemolytic streptococcal bacteremia A population based study J Infect March 2 2009 PMID 19261333 Fischler M P Reinhart W H Fever friend or enemy Schweiz Med Wochenschr 1997 127 864 70 PMID 9289813 Craven R and Hirnle C 2006 Fundamentals of nursing Human health and function Fourth edition p 1044 Lewis SM Heitkemper MM and Dirksen SR 2007 Medical surgical nursing Assessment and management of clinical problems sixth edition p 212 Fever Medline Plus Medical Encyclopedia U S National Library of Medicine subkhnemux 20 May 2009 What To Do If You Get Sick 2009 H1N1 and Seasonal Flu Centers for Disease Control and Prevention 2009 05 07 subkhnemux 2009 11 01 Meremikwu M Oyo Ita A 2003 Physical methods for treating fever in children Cochrane Database Syst Rev 2 CD004264 doi 10 1002 14651858 CD004264 PMID 12804512 Perrott DA Piira T Goodenough B Champion GD June 2004 Efficacy and safety of acetaminophen vs ibuprofen for treating children s pain or fever a meta analysis Arch Pediatr Adolesc Med 158 6 521 6 doi 10 1001 archpedi 158 6 521 PMID 15184213 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Hay AD Redmond NM Costelloe C aelakhna May 2009 Paracetamol and ibuprofen for the treatment of fever in children the PITCH randomised controlled trial PDF Health Technol Assess 13 27 iii iv ix x 1 163 doi 10 3310 hta13270 inactive 2010 09 13 PMID 19454182 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint DOI inactive as of knyayn 2010 CS1 maint multiple names authors list lingk Southey ER Soares Weiser K Kleijnen J September 2009 Systematic review and meta analysis of the clinical safety and tolerability of ibuprofen compared with paracetamol in paediatric pain and fever Curr Med Res Opin 25 9 2207 22 doi 10 1185 03007990903116255 PMID 19606950 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Meremikwu M Oyo Ita A 2002 Paracetamol for treating fever in children Cochrane Database Syst Rev 2 CD003676 doi 10 1002 14651858 CD003676 PMID 12076499 Autret E Reboul Marty J Henry Launois B aelakhna 1997 Evaluation of ibuprofen versus aspirin and paracetamol on efficacy and comfort in children with fever Eur J Clin Pharmacol 51 5 367 71 doi 10 1007 s002280050215 PMID 9049576 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk hnngsuxxanephimetimRhoades R and Pflanzer R Human physiology third edition chapter 27 Regulation of body temperature p 820 Clinical focus pathogenesis of fever ISBN 0 03 005159 2aehlngkhxmulxunWhat to do if your child has a fever 2007 10 20 thi ewyaebkaemchchin from Seattle Children s Hospital Fever and Taking Your Child s Temperature US National Institute of Health factsheet BUPA factsheet 2006 07 06 thi ewyaebkaemchchin