เคมีบำบัด (อังกฤษ: chemotherapy) หรือ คีโม (อังกฤษ: chemo) เป็นประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้ชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดมาประกอบกับเป็นมาตรฐาน เคมีบำบัดอาจให้โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษามะเร็ง หรือให้เพื่อยืดชีวิตและบรรเทาอาการก็ได้ (เรียกว่า เคมีบำบัดแบบประคับประคอง)
เคมีบำบัด | |
---|---|
การแทรกแซง | |
สุภาพสตรีท่านหนึ่งกำลังรับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด เพื่อรักษามะเร็งเต้านม มีถุงมือเย็นและที่แช่เย็นอยู่ที่มือและเท้าเพื่อลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเล็บของเธอระหว่างรับยา |
ในปัจจุบันคำว่าเคมีบำบัดถูกใช้เมื่อหมายถึงการรักษาด้วยยารักษามะเร็งที่ออกฤทธิ์ด้วยวิธียับยั้งการแบ่งเซลล์ ซึ่งบางครั้งอาจไม่นับรวมยาที่ออกฤทธิ์ผ่านกลไกอื่น เช่น ยาที่ออกฤทธิ์โดยการจับกับตำแหน่งเป้าหมายบนโมเลกุลหรือยีน เพื่อป้องกันไม่ให้มีการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งผ่านฮอร์โมน (เช่น เอสโตรเจน สำหรับมะเร็งเต้านม หรือ แอนโดรเจน สำหรับมะเร็งต่อมลูกหมาก) ก็จะถูกเรียกว่า ฮอร์โมนบำบัด หรือ ส่วนยาที่ออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งการส่งสัญญาณผ่านตัวรับ เช่น ผ่าน ก็จะถูกเรียกว่า การรักษาแบบมุ่งเป้า เป็นต้น
ไม่ว่าจะเป็นการรักษาด้วยยาแบบเคมีบำบัด ฮอร์โมนบำบัด หรือรักษาแบบมุ่งเป้า ก็ตาม ปัจจุบันส่วนใหญ่ยังเป็นการรักษาที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย กล่าวคือเมื่อให้ยาเข้าสู่ร่างกายแล้วยาจะเข้าสู่กระแสเลือดและสามารถส่งไปออกฤทธิ์ต่อเซลล์มะเร็งได้ทุกที่ที่มีเลือดไปถึง หรือก็คือทั่วร่างกายนั่นเอง การรักษาแบบทั่วร่างนี้บางครั้งนิยมใช้ร่วมกับการรักษาแบบเฉพาะที่ เช่น การผ่าตัด หรือ เป็นต้น
ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิมเป็นยาที่ หมายถึงไปรบกวนหรือยับยั้งกระบวนการแบ่งเซลล์ (ไมโทซิส) แต่เซลล์มะเร็งซึ่งมีหลายชนิดนั้นก็ตอบสนองต่อการรักษาแบบนี้แตกต่างกัน อาจกล่าวได้ว่าเคมีบำบัดเป็นยาที่ทำลายหรือทำร้ายเซลล์ ซึ่งอาจทำให้เซลล์ตายลงผ่านกระบวนการอะพอพโทซิส ผลข้างเคียงของเคมีบำบัดนั้นส่วนหนึ่งมาจากการที่เซลล์ปกติที่มีการแบ่งเซลล์บ่อยครั้งนั้นถูกทำลายไปพร้อมกันกับเซลล์มะเร็ง เซลล์เหล่านี้ เช่น ในไขกระดูก เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร และเซลล์ เป็นต้น ทำให้เกิดผลข้างเคียงที่พบบ่อยของเคมีบำบัด ได้แก่ ทำให้สร้างเม็ดเลือดได้น้อย และทำให้มีภูมิคุ้มกันต่ำตามมา และ เนื่องจากผลต่อเซลล์ภูมิคุ้มกันนี้เอง ทำให้บางครั้งยาเคมีบำบัดเหล่านี้มีที่ใช้ในโรคอื่นที่เกิดจากการที่เซลล์ภูมิคุ้มกันทำงานมากเกินไปหรือทำงานผิดปกติ โรคเหล่านี้เรียกว่าโรคภูมิต้านตนเอง เช่น ข้ออักเสบรูมาตอยด์ ลูปัสอิริทีมาโทซัสทั่วร่าง มัลติเพิลสเคลอโรซิส โรคต่าง ๆ เป็นต้น
กลไกการออกฤทธิ์
มะเร็งคือเซลล์ที่มีการแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ และมีพฤติกรรมรุกรานแบบร้าย ได้แก่ การรุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียง และการแพร่กระจาย เป็นต้น สาเหตุของการมีพฤติกรรมเช่นนี้เกิดจากสาเหตุหลาย ๆ อย่าง ทั้งจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดการกลายพันธุ์สะสมขึ้นในยีนส่วนที่เป็น (ยีนที่ควบคุมอัตราการเจริญของเซลล์) และ (ยีนที่ป้องกันไม่ให้เซลล์กลายเป็นมะเร็ง) ซึ่งเมื่อเกิดการกลายพันธุ์สะสมขึ้นถึงระดับหนึ่ง เซลล์ที่มีการกลายพันธ์นั้นก็จะกลายเป็นเซลล์มะเร็ง: 93–94
กล่าวโดยคร่าว ๆ แล้ว ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่มีกลไกหลักคือการขัดขวางการแบ่งเซลล์ (ไมโทซิส) จึงมีผลมากต่อ การที่มีผลเสียต่อเซลล์นี้เองจึงเรียกว่าเป็นยาที่เป็นพิษต่อเซลล์ หรือไซโทท็อกซิก ยาเหล่านี้ขัดขวางกระบวนการไมโทซิสด้วยหลายกลไก เช่น เข้าไปทำให้ดีเอ็นเอเสียหาย ยับยั้งกลไกทางเซลล์ที่ทำให้เกิดการแบ่งเซลล์ ทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่ากลไกต่าง ๆ ของยากลุ่มนี้ เข้าไปกระตุ้นให้เซลล์เกิดกระบวนการทำลายตัวเองตามที่ได้วางโปรแกรมไว้ หรือเรียกว่า อะพ็อพโทซิส
จากการที่ยาเคมีบำบัดส่งผลต่อเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวนี้เอง ทำให้เซลล์เนื้องอกซึ่งมีสูง (เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาวแบบเฉียบพลัน และ มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดร้ายแรงอย่างมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน) จะตอบสนองอย่างดีมากจากการใช้เคมีบำบัด เนื่องจากในเวลาหนึ่ง ๆ จะมีเซลล์ที่กำลังแบ่งเซลล์อยู่เป็นสัดส่วนมากกว่าที่พบในโรคอื่นที่อัตราการเจริญไม่สูงเท่า ซึ่งมะเร็งกลุ่มหลังนี้ (เช่น มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ชนิดที่มีการลุกลามอย่างช้า ๆ) จะไม่ตอบสนองดีมากนักต่อเคมีบำบัดชนิดที่ออกฤทธิ์ที่กระบวนการแบ่งเซลล์ มะเร็งบางอย่างที่มีมาก อาจตอบสนองต่อการใช้เคมีบำบัดไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับโคลนย่อย ๆ ในเนื้องอกนั้นว่าโคลนใดตอบสนองดีกว่ากัน
อ้างอิง
- Hanahan D, Weinberg RA (Jan 2000). "The hallmarks of cancer". Cell. 100 (1): 57–70. doi:10.1016/S0092-8674(00)81683-9. PMID 10647931.
- Hodgson S (Jan 2008). "Mechanisms of inherited cancer susceptibility". Journal of Zhejiang University. Science. B. 9 (1): 1–4. doi:10.1631/jzus.B073001. PMC 2170461. PMID 18196605.
- Perera FP (พฤศจิกายน 1997). "Environment and cancer: who are susceptible?". Science. 278 (5340): 1068–73. Bibcode:1997Sci...278.1068P. doi:10.1126/science.278.5340.1068. PMID 9353182.
- Hoskins, William J.; Perez, Carlos A.; Young, Robert C.; Barakat, Richard R.; Markman, Maurie; Randall, Marcus E., บ.ก. (2005). Principles and practice of gynecologic oncology (4 ed.). Baltimore, Md.: Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
- Malhotra V, Perry MC (2003). "Classical chemotherapy: mechanisms, toxicities and the therapeutic window". Cancer Biology & Therapy. 2 (4 Suppl 1): S2–4. doi:10.4161/cbt.199. PMID 14508075.
- Kehe K, Balszuweit F, Steinritz D, Thiermann H (กันยายน 2009). "Molecular toxicology of sulfur mustard-induced cutaneous inflammation and blistering". Toxicology. 263 (1): 12–9. doi:10.1016/j.tox.2009.01.019. PMID 19651324.
- Makin G, Hickman JA (กรกฎาคม 2000). "Apoptosis and cancer chemotherapy". Cell and Tissue Research. 301 (1): 143–52. Bibcode:1994RSPTB.345..319H. doi:10.1007/s004419900160. PMID 10928287.
- Corrie PG, Pippa G. (2008). "Cytotoxic chemotherapy: clinical aspects". Medicine. 36 (1): 24–28. doi:10.1016/j.mpmed.2007.10.012.
แหล่งข้อมูลอื่น
- , American Cancer Society, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 มิถุนายน 2007
- "Educational and support information about chemotherapy and associated side effects", Chemotherapy.com
- , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 พฤษภาคม 2009
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ekhmibabd xngkvs chemotherapy hrux khiom xngkvs chemo epnpraephthhnung sungichchnidhnunghruxhlaychnidmaprakxbkbepnmatrthan ekhmibabdxacihodymiepahmayephuxrksamaerng hruxihephuxyudchiwitaelabrrethaxakarkid eriykwa ekhmibabdaebbprakhbprakhxng ekhmibabdkaraethrkaesngsuphaphstrithanhnungkalngrbkarrksadwyyaekhmibabd ephuxrksamaerngetanm mithungmuxeynaelathiaecheynxyuthimuxaelaethaephuxldxntraythicaekidkhunkbelbkhxngethxrahwangrbya inpccubnkhawaekhmibabdthukichemuxhmaythungkarrksadwyyarksamaerngthixxkvththidwywithiybyngkaraebngesll sungbangkhrngxacimnbrwmyathixxkvththiphanklikxun echn yathixxkvththiodykarcbkbtaaehnngepahmaybnomelkulhruxyin ephuxpxngknimihmikarkratunkarecriyetibotkhxngesllmaerngphanhxromn echn exsotrecn sahrbmaerngetanm hrux aexnodrecn sahrbmaerngtxmlukhmak kcathukeriykwa hxromnbabd hrux swnyathixxkvththidwykarybyngkarsngsyyanphantwrb echn phan kcathukeriykwa karrksaaebbmungepa epntn imwacaepnkarrksadwyyaaebbekhmibabd hxromnbabd hruxrksaaebbmungepa ktam pccubnswnihyyngepnkarrksathixxkvththithwrangkay klawkhuxemuxihyaekhasurangkayaelwyacaekhasukraaeseluxdaelasamarthsngipxxkvththitxesllmaerngidthukthithimieluxdipthung hruxkkhuxthwrangkaynnexng karrksaaebbthwrangnibangkhrngniymichrwmkbkarrksaaebbechphaathi echn karphatd hrux epntn yaekhmibabdaebbdngedimepnyathi hmaythungiprbkwnhruxybyngkrabwnkaraebngesll imothsis aetesllmaerngsungmihlaychnidnnktxbsnxngtxkarrksaaebbniaetktangkn xacklawidwaekhmibabdepnyathithalayhruxtharayesll sungxacthaiheslltaylngphankrabwnkarxaphxphothsis phlkhangekhiyngkhxngekhmibabdnnswnhnungmacakkarthiesllpktithimikaraebngesllbxykhrngnnthukthalayipphrxmknkbesllmaerng esllehlani echn inikhkraduk eslleyuxbuthangedinxahar aelaesll epntn thaihekidphlkhangekhiyngthiphbbxykhxngekhmibabd idaek thaihsrangemdeluxdidnxy aelathaihmiphumikhumkntatamma aela enuxngcakphltxesllphumikhumknniexng thaihbangkhrngyaekhmibabdehlanimithiichinorkhxunthiekidcakkarthiesllphumikhumknthanganmakekiniphruxthanganphidpkti orkhehlanieriykwaorkhphumitantnexng echn khxxkesbrumatxyd lupsxirithimaothssthwrang mltiephilsekhlxorsis orkhtang epntnklikkarxxkvththiwtckrkhxngesllprakxbdwy 4 raya G1 rayaerimtnecriy S rayathimikarsngekhraahdiexnex G2 rayaecriyrayathisxngephuxetriymkarinkaraebngesll M imothsis rayathiesllaebngtwidesllihm 2 esllsungcadaeninekhasuwtckresllihmtxip maerngkhuxesllthimikaraebngtwaelaecriyxyangkhwbkhumimid aelamiphvtikrrmrukranaebbray idaek karrukranenuxeyuxkhangekhiyng aelakaraephrkracay epntn saehtukhxngkarmiphvtikrrmechnniekidcaksaehtuhlay xyang thngcakphnthukrrmaelasingaewdlxm thaihekidkarklayphnthusasmkhuninyinswnthiepn yinthikhwbkhumxtrakarecriykhxngesll aela yinthipxngknimihesllklayepnmaerng sungemuxekidkarklayphnthusasmkhunthungradbhnung esllthimikarklayphnthnnkcaklayepnesllmaerng 93 94 klawodykhraw aelw yaekhmibabdswnihymiklikhlkkhuxkarkhdkhwangkaraebngesll imothsis cungmiphlmaktx karthimiphlesiytxesllniexngcungeriykwaepnyathiepnphistxesll hruxisoththxksik yaehlanikhdkhwangkrabwnkarimothsisdwyhlayklik echn ekhaipthaihdiexnexesiyhay ybyngklikthangesllthithaihekidkaraebngesll thvsdihnungechuxwakliktang khxngyaklumni ekhaipkratunihesllekidkrabwnkarthalaytwexngtamthiidwangopraekrmiw hruxeriykwa xaphxphothsis cakkarthiyaekhmibabdsngphltxesllthikalngaebngtwniexng thaihesllenuxngxksungmisung echn maerngemdeluxdkhawaebbechiybphln aela maerngtxmnaehluxngchnidrayaerngxyangmaerngtxmnaehluxngchnidhxdckin catxbsnxngxyangdimakcakkarichekhmibabd enuxngcakinewlahnung camiesllthikalngaebngesllxyuepnsdswnmakkwathiphbinorkhxunthixtrakarecriyimsungetha sungmaerngklumhlngni echn maerngtxmnaehluxng chnidthimikarluklamxyangcha caimtxbsnxngdimaknktxekhmibabdchnidthixxkvththithikrabwnkaraebngesll maerngbangxyangthimimak xactxbsnxngtxkarichekhmibabdimehmuxnkn khunxyukbokhlnyxy inenuxngxknnwaokhlnidtxbsnxngdikwaknxangxingHanahan D Weinberg RA Jan 2000 The hallmarks of cancer Cell 100 1 57 70 doi 10 1016 S0092 8674 00 81683 9 PMID 10647931 Hodgson S Jan 2008 Mechanisms of inherited cancer susceptibility Journal of Zhejiang University Science B 9 1 1 4 doi 10 1631 jzus B073001 PMC 2170461 PMID 18196605 Perera FP phvscikayn 1997 Environment and cancer who are susceptible Science 278 5340 1068 73 Bibcode 1997Sci 278 1068P doi 10 1126 science 278 5340 1068 PMID 9353182 Hoskins William J Perez Carlos A Young Robert C Barakat Richard R Markman Maurie Randall Marcus E b k 2005 Principles and practice of gynecologic oncology 4 ed Baltimore Md Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 0 7817 4689 2 Malhotra V Perry MC 2003 Classical chemotherapy mechanisms toxicities and the therapeutic window Cancer Biology amp Therapy 2 4 Suppl 1 S2 4 doi 10 4161 cbt 199 PMID 14508075 Kehe K Balszuweit F Steinritz D Thiermann H knyayn 2009 Molecular toxicology of sulfur mustard induced cutaneous inflammation and blistering Toxicology 263 1 12 9 doi 10 1016 j tox 2009 01 019 PMID 19651324 Makin G Hickman JA krkdakhm 2000 Apoptosis and cancer chemotherapy Cell and Tissue Research 301 1 143 52 Bibcode 1994RSPTB 345 319H doi 10 1007 s004419900160 PMID 10928287 Corrie PG Pippa G 2008 Cytotoxic chemotherapy clinical aspects Medicine 36 1 24 28 doi 10 1016 j mpmed 2007 10 012 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ekhmibabd American Cancer Society khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 23 mithunayn 2007 Educational and support information about chemotherapy and associated side effects Chemotherapy com khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 15 phvsphakhm 2009 sthaniyxy ephschkrrm bthkhwamephschkrrmaelayaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk