จักรวรรดิอาณานิคมดัตช์ (ดัตช์: Nederlandse koloniale rijk) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิอาณานิคมของโลกที่เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสาธารณรัฐดัตช์ซึ่งได้ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิสเปน และเป็นมหาอำนาจทางทะเลเช่นเดียวกับ สเปน โปรตุเกสและสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยดินแดนโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ควบคุมโดยบริษัทเอกชนของดัตช์ (ส่วนใหญ่คือบริษัทอินเดียตะวันตกและบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์) ซึ่งต่อมาควบคุมโดยสาธารณรัฐดัตช์ และราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ตามลำดับ ในช่วงแรก อาณานิคมของดัตช์เริ่มต้นมาจากจุดประสงค์ทางการค้ามากกว่าการขยายอาณาเขตดินแดน มีการสร้างป้อมปราการริมฝั่ง โรงงาน ท่าเรือ และไม่ครอบครองพื้นที่มากนักเพื่อเลี่ยงการใช้จ่ายงบประมาณที่ไม่จำเป็นในการบริหารอาณานิคม เน้นการแลกเปลี่ยนค้าขายกับชนพื้นเมืองดั้งเดิม ยกเว้นในเคปโคโลนี(ปัจจุบันคือแอฟริกาใต้)และหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์(ปัจจุบันคืออินโดนีเซีย)ที่มีการขยายอาณาเขตเข้าไปในดินแดนเพื่อปกครองชาวอาณานิคม
จักรวรรดิอาณานิคมดัตช์ Nederlandse koloniale rijk | |
---|---|
ค.ศ. 1602–ค.ศ. 1975 | |
ธงชาติ | |
แผนที่แสดงอาณานิคมของจักรวรรดิดัตช์และสถานีการค้าที่เกี่ยวข้อง สีเขียวอ่อนคือดินแดนที่ถูกปกครองโดยบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ส่วนสีเขียวเข้มถูกปกครองโดยบริษัทอินเดียตะวันตกของเนเธอร์แลนด์ | |
สถานะ | จักรวรรดิ |
เมืองหลวง | อัมสเตอร์ดัม |
ประวัติศาสตร์ | |
• ก่อตั้ง | ค.ศ. 1602 |
• การยึดครองเกาะอัมบน | ค.ศ. 1605 |
• เข้าปกครองอินโดนีเซีย | ค.ศ. 1800 |
• เสียอินโดนีเซีย | ค.ศ. 1949 |
• เสียนิวกินีของเนเธอร์แลนด์ | ค.ศ. 1962 |
• ปาปัวนิวกินีประกาศเอกราช | ค.ศ. 1975 |
ความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมต่อเรือของชาวดัตช์มีส่วนสำคัญในการขยายอาณาจักรการค้าระหว่างยุโรปกับโลกตะวันออก แต่เดิมนั้นบริษัทการค้าในยุโรปมีขนาดเล็ก ไม่มีเงินทุนและกำลังคนมากพอที่จะดำเนินงานในระดับใหญ่ รัฐสภาเนเธอร์แลนด์มอบสิทธิ์ขาดให้บริษัทเอกชนคือคือบริษัทอินเดียตะวันตกและบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ดำเนินการค้า โดยมีอำนาจสูงเกือบเทียบเท่ารัฐบาล มีความสามารถที่จะเข้าร่วมสงคราม สั่งจำคุกประประหารชีวิตนักโทษ เจรจาสนธิสัญญา และจัดตั้งอาณานิคมเองได้ นับว่าเป็นบริษัทการค้าทางทะเลที่ใหญ่และกว้างขวางมากที่สุดในขณะนั้น ขยายเส้นทางการค้าไปถึงทวีปอเมริกาใต้ผ่านช่องแคบมาเจลลันทางตะวันออกของแอฟริกาผ่านแหลมกู๊ดโฮป มีเงินทุนไหลเวียนมหาศาล ทำให้กรุงอัมสเตอร์ดัมก็ได้กลายมาเป็นศูนย์กลางการเงินของยุโรป จนมีนักเศรษฐศาสตร์หลายคนถือให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศระบอบทุนนิยมประเทศแรกของโลก นำมาสู่ยุครุ่งเรืองที่เรียกว่า ยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในศตวรรษที่ 17
แต่เมื่อเข้าสู่คริสต์ศตวรรษที่ 18 จักรวรรดิดัตช์เริ่มเสื่อมลงจากผลของสงครามอังกฤษ-ดัตช์ครั้งที่ 4 ในช่วงปี ค.ศ. 1780 ถึง 1784 เป็นผลให้จักรวรรดิดัตช์สูญเสียอาณานิคมจำนวนมากให้กับจักรวรรดิบริติช และมาเสียดินแดนเป็นบริเวณกว้างช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองที่มีการเรียกร้องเอกราชในดินแดนอาณานิคมทั่วโลก
จุดเริ่มต้น (ค.ศ. 1543-1602)
จุดเริ่มต้นของจักรวรรดิดัตช์มาจากการรวมตัวเป็นสหอาณาจักรของรัฐในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำกำเนิดเป็นกลุ่มสิบเจ็ดมณฑล ขึ้นตรงต่อการปกครองโดยตรงของจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และกษัตริย์แห่งสเปนเมื่อปี ค.ศ. 1543 ต่อมาได้เกิดโดยชาวโปรเตสแตนท์ขึ้นในปี ค.ศ. 1566 เพื่อการเป็นอิสระต่อการปกครองของสเปนที่เป็นโรมันคาทอลิก และนำไปสู่สงครามแปดสิบปี ได้ประกาศเอกราชของเนเธอร์แลนด์และก่อตั้งสาธารณรัฐดัตช์ขึ้นในปี ค.ศ. 1581 แต่ไม่ได้รับการรับรองจากสเปนจนกระทั่งปี ค.ศ. 1648 ที่ได้มีการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียที่มีการลงนาม ยุติสงครามสามสิบปี สงครามแปดสิบปี และรับรองเอกราชของสาธารณรัฐดัตช์อย่างเป็นทางการ
จังหวัดฮอลแลนด์และเซลันด์ของสาธารณรัฐเริ่มมีบทบาททางการค้าทางทะเลมาตั้งแต่ก่อนสมัยอยู่ใต้การปกครองของสเปน เนื่องจากทะเลที่ตั้งประจวบเหมาะที่จะเป็นจุดผ่านของสินค้าไปยังฝรั่งเศส สก็อตแลนด์ เยอรมนี อังกฤษ และรัฐบอลติก เมื่อเกิดสงครามกับสเปน พ่อค้าที่มั่งคั่งและช่างฝีมือที่ส่วนใหญ่ชาวโปรเตสแตนท์ได้อพยพจากแอนต์เวิร์ปขึ้นเหนือไปยังกรุงอัมสเตอร์ดัมจนกลายมาเป็นศูนย์กลางการลงทุน ธนาคาร และการต่อเรือแห่งใหม่ จำนวนทุนที่มากขึ้นทำให้ชาวดัตช์ขยายเส้นทางการค้าจากเดิมจำกัดอยู่แค่เพื่อนบ้านในยุโรปเหนือไปสู่การเปิดเส้นทางใหม่สู่ทะเลเมดิเตอเรเนียนและลิแวนต์ และในช่วงทศวรรษที่ 1590 ชาวดัตช์เริ่มค้าขายกับบราซิล โกลด์โคสต์ในแอฟริกา และเปิดเส้นทางใหม่สู่มหาสมุทรอินเดีย อันเป็นแหล่งค้าเครื่องเทศที่สำคัญ โดยเมื่อปี ค.ศ. 1594 มีการก่อตั้งคอมปานญีฟานแฟร์เรอ (บริษัทเพื่อแดนไกล) ขึ้นที่อัมสเตอร์ดัม มีเป้าหมายจะส่งกองเรือสองลำไปยังหมู่เกาะเครื่องเทศมาลูกู กองเรือออกสู่มหาสมุทรครั้งแรกในปี 1596 กลับมาในปี 1594 บรรทุกพริกไทยกลับมาเต็มลำ แม้การเดินทางครั้งแรกจะเท่าทุน แต่ก็ช่วยยืนยันการมีอยู่และความเป็นไปได้ในการทำการค้ากับหมู่เกาะเครื่องเทศ นำไปสู่การเดินเรือครั้งที่สองในปี 1598 ถึง 1599 นำเครื่องเทศกลับมาอีกครั้งและทำกำไรครั้งนี้สูงถึง 400 เปอร์เซ็นต์ ความสำเร็จครั้งนี้นำไปสู่การก่อตั้งบริษัทอีกหลายแห่งเพื่อแข่งขันทางการค้า
การเปิดเส้นทางการค้าสู่โลกตะวันออกนี้เป็นการรุกล้ำอิทธิพลของโปรตุเกสที่กำลังเติบโตเป็นมหาอำนาจค้าขายกับตะวันออกไกลในขณะนั้น เมื่อกษัตริย์ของโปรตุเกสสวรรคตและไม่มีพระราชโอรสสืบทอดราชสมบัติ โปรตุเกสได้ผนวกรวมกับสเปน ดังนั้น ความขัดแย้งกับโปรตุเกสจึงกลายเป็นความขัดแย้งกับสเปนโดยปริยาย สงครามระหว่างดัตช์กับโปรตุเกสทำให้อาณาจักรสเปนต้องแบ่งทั้งงบประมาณและกำลังพลที่ใช้ในการต่อสู้กับชาวดัตช์ในผืนแผ่นดินใหญ่ในสงครามประกาสอิสรภาพ มาต่อสู้กับชาวดัตช์ในดินแดนโพ้นทะเลอีกด้วย
การเรืองอำนาจของชาวดัตช์ (ค.ศ. 1602-1652)
เมื่อมีบริษัทเกิดขึ้นมากมายหลังจากที่กองเรือบรรทุกเครื่องเทศกลับมายังสาธารณรัฐและทำกำไรมหาศาล ผลประโยชน์จากการค้าจึงลดลงไปเนื่องจากการแข่งขันไปทำให้ต้นทุนเครื่องเทศที่ต้นทางในอินโดนีเซียมีราคาสูงขึ้น ปัญหาระหว่างบริษัทนี้นำไปสู่การก่อตั้งสหบริษัทอินเดียตะวันออก (ดัตช์: Verenigde Oost-Indische Compagnie หรือย่อเป็น VOC) ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1602 โดยบริษัทได้สิทธิ์ขาดจากรัฐสภาเนเธอร์แลนด์ในการทำการค้าและสำรวจเป็นเวลา 21 ปีกับดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกของแหลมกู๊ดโฮปและทางตะวันตกของช่องแคบมาเจลลัน ผู้อำนวยการคนแรกของบริษัท คือ เฮเรินที่ 17 ได้รับอำนาจในการสร้างป้อมปราการ ลงนามในสนธิสัญญา จัดตั้งกองกำลังทหารทางบกและทะเล และทำสงครามป้องกันผลประโยชน์ บริษัทได้ออกขายใบหุ้นคล้ายกับระบบของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษแต่เปิดขายให้กับสาธารณชนด้วย มีผู้ให้ความสนใจเข้ามาซื้อใบหุ้นเพื่อร่วมลงทุนกับบริษัทอย่างท่วมท้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1621 ได้มีการก่อตั้งขึ้นเพื่อทำการค้ากับส่วนอื่นของโลกที่ไม่ได้ทับซ้อนกับบริษัทอินเดียตะวันออกโดยหลักๆอยู่ในทะเลแอตแลนติก ทวีปอเมริกา และฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา โดยได้รับสิทธิ์ขาดในการทำการค้า 25 ปี ชาวดัตช์ยังได้ตั้งสถานีการค้ากับอาณาจักรอยุธยาของสยามด้วยในปี ค.ศ. 1604 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ความขัดแย้งกับสเปนและโปรตุเกส
สงครามระหว่างเนเธอร์แลนด์และสเปนไม่เพียงเป็นการสู้รบระหว่างชาวดัตช์และชาวสเปนในผืนแผ่นดินใหญ่เพื่อการเรียกร้องเอกราชเท่านั้น ยังเป็นการก่อสู้กับกองกำลังในสถานีการค้าและป้อมปราการในดินแดนโพ้นทะเลด้วย ชาวดัตช์เริ่มรุกรานอาณานิคมของสเปนและต่อมาของโปรตุเกสด้วย
นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1517 ท่าเรือลิสบอนของโปรตุเกสเป็นตลาดสำคัญในการซื้อขายสินค้าที่มาจากอินเดียกับชาวยุโรป แต่หลังจากที่สเปนได้ผนวกรวมโปรตุเกสเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกันภายใต้ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คในปี ค.ศ. 1580 ดินแดนและตลาดของโปรตุเกสจึงกลายเป็นของสเปนด้วย ชาวดัตช์จึงตัดสินใจที่จะออกเดินทะเลด้วยตัวเองนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1595 เป็นต้นมา โดยพยายามใช้เส้นทางการค้าที่ชาวโปรตุเกสเก็บเป็นความลับ แต่ นักสำรวจชาวดัตช์สืบหามาได้จากลิสบอน
การขยายเส้นทางการค้าของดัตช์ที่เริ่มไปไกลถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่งผลกระทบอย่างชัดเจนกับผลประโยชน์กับสเปนและโปรตุเกสที่ได้รวมเป็นอาณาจักรเดียวกัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 บริษัทอินเดียตะวันตกเริ่มบุกโจมตีอาณานิคมของโปรตุเกสในบราซิลและแอฟริกาที่เป็นดินแดนค้าน้ำตาล
เอเชีย
เมื่ออำนาจของจักรวรรดิโปรตุเกสเริ่มเสื่อมลงจากสงครามต่อเนื่อง บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์เริ่มทยอยยึดครองดินแดนอาณานิคมของโปรตุเกสทีละเล็กละน้อย เพราะแต่ละดินแดนตั้งอยู่แยกกันและยากที่จะหากำลังเสริมหากถูกโจมตี ชาวดัตช์ยึดเกาะอัมบน(ในอินโดนีเซีย)จากโปรตุเกสได้ในปี ค.ศ. 1605 แต่ยึดมะละกาไม่สำเร็จ ชาวดัตช์ค้นพบว่าเกาะอัมบนเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ไม่เหมาะและใช้ประโยชน์จากลมมรสุมไม่ได้ จึงเสาะหาที่ตั้งฐานทัพแห่งใหม่จนกระทั่งมาพบจาการ์ตาที่ตอบโจทย์นี้ ยาน คูน นำกำลังเข้ายึดในปี ค.ศ.1619 ตั้งชื่อใหม่เป็นปัตตาเวีย และกลายมาเป็นเมืองหลวงของหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ชาวดัตช์พยายามยึดดินแดนของโปรตุเกสต่อไปและยึดครองมะละกาได้สำเร็จในปี ค.ศ. 1641 ในการบุกครั้งที่สองเท่านั้น ตามมาด้วยการยึดโคลัมโบ (ค.ศ. 1656) ซีลอง (ค.ศ. 1658) (ค.ศ. 1662) และโกชิ (ค.ศ. 1662)
อย่างไรก็ตาม ชาวดัตช์ไม่สามารถยึดกัวอันเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสทางตะวันออกได้หลังบุกโจมตีในปี ค.ศ. 1603 และ 1610 และการโจมตีมาเก๊าที่ชาวโปรตุเกสตั้งเป็นศูนย์กลางการผูกขาดการค้ากับจีนและญี่ปุ่นถึงสี่ครั้งก็ไม่ประสบความสำเร็จ แต่รัฐบาลโชกุนของญี่ปุ่นเริ่มคลาแคลงใจสงสัยในการเผยแพร่ศาสนาของพระคาทอลิกชาวโปรตุเกสนำไปสู่การขับไล่ออกจากเกาะในปี ค.ศ. 1639 และเปลี่ยนมาให้สิทธิ์ขาดกับเนเธอร์แลนด์ทำการค้าขายกับญี่ปุ่น เป็นชาติตะวันตกเพียงชาติเดียวที่ได้สิทธิ์นี้ในยุคที่ญี่ปุ่นปิดประเทศในยุคเอโดะ (ค.ศ. 1639 ถึง 1854) นอกจากนี้ ชาวดัตช์ยังได้สำรวจพบบริเวณตะวันตกของออสเตรเลียกลางศตวรรษที่ 17 ด้วย
ชาวดัตช์ยึดครองมอริเชียสได้ในปี ค.ศ. 1638 โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติกับ แห่งราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา เจ้าผู้ครองดินแดนดัตช์ นับเป็นช่วงเวลาสี่สิบปีหลังจากที่กองเรือกองที่สองของเนเธอร์แลนด์ที่มาขนเครื่องเทศกลับไปขายในปี ค.ศ. 1598 อับปางด้วยพายุที่ดินแดนนี้ อย่างไรก็ตาม ชาวดัตช์ได้สละเกาะนี้ไปเนื่องจากสภาพอากาศที่ไม่อำนวยในอีกหลายสิบปีต่อมา ส่วนทางตะวันออก ชาวดัตช์ได้ตั้งอาณานิคมที่ถาหยวน ทางตอนใต้ของไต้หวัน โดยในขณะนั้นเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสที่รู้จักกันในชื่อเกาะฟอร์โมซา ก่อนที่ชาวดัตช์จะยึดครองตอนเหนือของเกาะได้จากสเปนในปี ค.ศ. 1642 ความพยายามของเนเธอร์แลนด์ในการยึดครองฟิลิปปินส์จากสเปนในปี ค.ศ. 1646 นั้นเกือบจะประสบความสำเร็จแต่มาพลาดท่าในครั้งที่จะยึดมะนิลา จากนั้น ชาวดัตช์ก็ล้มเลิกความคิดที่จะยึดมะนิลาและฟิลิปปินส์อีก
โดยรวม ชาวดัตช์ส่งชาวยุโรปไปทำงานในเส้นทางการค้ากับเอเชียระหว่างปี ค.ศ. 1602 ถึง 1796 เกือบหนึ่งล้านคน หลายคนเสียชีวิตด้วยโรคภัยในการเดินทางกลับยุโรปแต่อีกหลายคนก็ปรับตัวเข้ากับดินแดนอาณานิคมได้ ชาวดัตช์มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับชาวพื้นเมืองในศรีลังกาและหมู่เกาะอินโดนีเซีย
อเมริกา
ในทะเลแอตแลนติกนั้น บริษัทอินเดียตะวันตกของเนเธอร์แลนด์เน้นการขยายอำนาจไปยังดินแดนศูนย์กลางการค้าน้ำตาลและทาสแข่งกับจักรวรรดิโปรตุเกสและสเปน ชาวดัตช์ยึดบาเอียที่ชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิลได้ในปี ค.ศ. 1624 แต่ก็ถูกกองกำลังผสมสเปนโปรตุเกสยึดคืนได้ในปีถัดมา แม้โดยรวมแล้ว บริษัทอินเดียตะวันตกของเนเธอร์แลนด์จะทำสงครามสู้รบกับอาณาจักรสเปนไม่ได้ แต่ พลเรือเอกของดัตช์โจมตีและจับกุมกองเรือของสเปนได้ในปี ค.ศ. 1628 แล้วส่งสินค้าและโลหะมีค่ากลับไปยังบริษัททำให้บริษัทอินเดียตะวันตกสามารถจ่ายเงินปันผลคืนให้กับผู้ถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70 ชาวดัตช์ยึดครองเปร์นัมบูกู ถิ่นการค้าน้ำตาลของโปรตุเกสได้ในปี ค.ศ. 1630 ตลอดจนโรงงานน้ำตาลที่อยู่รอบๆ และยึดเมือง ศูนย์กลางการค้าทาสได้จากโปรตุเกสในปี ค.ศ. 1637 เพื่อป้อนแรงงานสู่อุตสาหกรรมน้ำตาล ส่วนในแอฟริกา ชาวดัตช์ยึดครองชุมชนโปรตุเกสในแองโกลาได้ในปี ค.ศ. 1641 และเมือง(ปัจจุบันอยู่ในประเทศกานา)ได้ในปีต่อมา กล่าวได้ว่า ภายในปี ค.ศ. 1650 ชาวดัตช์สามารถยึดครองเส้นทางการค้าน้ำตาลและทาสได้อย่างมั่นคง และยังได้ยึดครองหมู่เกาะแคริบเบียน ได้แก่ ซินต์มาร์เติน กือราเซา อารูบา และโบแนเรอได้เพื่อครอบครองนาเกลือของหมู่เกาะ
อย่างไรก็ตาม การยึดครองอาณานิคมในบราซิลและแอฟริกาจากมือของโปรตุเกสนั้นไม่ประสบความสำเร็จเหมือนในเอเชียเพราะส่วนใหญ่มักจะยึดครองได้ไม่นานก็มักจะเสียไป โดยธรรมชาติแล้วชาวดัตช์เป็นพ่อค้ามากกว่าผู้ปกครองอาณานิคม ชาวโปรตุเกสหลายคนยังคงอาศัยอยู่ในดินแดนโพ้นทะเลแม้จะเสียอำนาจการปกครองให้กับชาวดัตช์ ชุมชนโปรตุเกสในเปร์นัมบูกูก่อการกบฎขึ้นนปี ค.ศ. 1654 ขับชาวดัตช์ออกจากบราซิล และโปรตุเกสยังได้ส่งกองกำลังจากบราซิลไปยึดเมืองลูอันดา เมืองหลวงของแองโกลาคืนในปี ค.ศ. 1648 ขับไล่ชาวดัตช์ออกไปจากพื้นที่
ส่วนทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ เข้ายึดครองพื้นที่บริเวณออลบานี ริมแม่น้ำฮัดสันได้ในปี ค.ศ. 1614 และครอบครองเป็นเวลาสี่ปีก่อนที่บริษัทอินเดียตะวันตกของเนเธอร์แลนด์จะเข้ามาครอบครองกิจการ ชาวดัตช์ส่งกองเรือไปค้าขายขนสัตว์นับตั้งแต่เฮนรี ฮัดสัน นักเดินเรือชาวอังกฤษสำรวจค้นพบอ่าวฮัดสันเมื่อปี ค.ศ. 1609 อย่างไรก็ตาม ที่ตั้งของออลบานีไม่ค่อยจะปลอดภัยนักเพราะอยู่ใกล้กับดินแดนที่อังกฤษและฝรั่งเศสครอบครองอยู่ จึงได้มีการย้ายลงมาสร้างเมืองป้อมปราการอยู่ที่นิวอัมสเตอร์ดัมในปี ค.ศ. 1625 ที่ปากแม่น้ำฮัดสันและส่งเสริมให้ประชาชนมาตั้งถิ่นฐานตามเกาะลองและรัฐนิวเจอร์ซีย์ แต่โชคไม่ดีที่การค้าขนสัตว์ไม่ประสบความสำเร็จนัก การผูกขาดการค้าถูกทำลายด้วยการลักลอบค้าขาย ทำให้การตั้งอาณานิคมที่นิวเนเธอร์แลนด์ไม่ทำกำไร อย่างไรก็ดี ชาวดัตช์ได้ดินแดนเพิ่มเติมเมื่อสามารถยึดครองอาณานิคมของนิวสวีเดนริมแม่น้ำเดลาแวร์ได้ในปี ค.ศ. 1655
ในปี ค.ศ. 1643 บริษัทอินเดียตะวันตกของดัตช์ได้ตั้งอาณานิคมที่เมืองบัลดิเบีย ทางตอนใต้ของชิลีได้ในปี ค.ศ. 1643 เพื่อเปิดเส้นทางการขยายดินแดนสู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งในยุคนั้นตกอยู่ใต้อำนาจของสเปน เหตุผลหนึ่งของการยึดครองคือการเข้าถึงแหล่งทองคำที่สเปนเคยมาขุดค้นและนำแร่มีค่านี้กลับไปทำกำไรมหาศาลให้กับจักรวรรดิ อย่างไรก็ตาม ชาวพื้นเมืองที่เคยขับไล่กองทัพสเปนออกจากบัลดิเบียในปี ค.ศ. 1604 ก็ทำเช่นเดียวกันกับกองกำลังชาวดัตช์ ขับไล่ผู้รุกรานได้หลังจากการเข้ายึดครองเพียงไม่กี่เดือน หลังจากนั้นสเปนก็กลับมาที่บัลดิเบียอีกครั้งและสร้างป้อมปราการที่แข็งแกร่งขึ้นที่เมืองนี้
แอฟริกาใต้
บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์เป็นมหาอำนาจในการค้าเครื่องเทศและไหมช่วงกลางศตรรษที่ 17 มีการตั้งอาณานิคมที่แหลมกู๊ดโฮปในปี ค.ศ. 1652 เพื่อเป็นสถานีเสบียงสำหรับเรือสินค้าที่จะเดินทางไปยุโรปและเอเชีย ชาวดัตช์ย้ายถิ่นฐานมาที่แอฟริกาใต้อย่างรวดเร็วหลังจากนั้น รัฐยังสนับสนุนเงินทุนและยกเว้นภาษีให้กับชาวอาณานิคมแลกกับการผลิตอาหารเพื่อป้อนให้กับเรือที่ผ่านไปมา นอกจากนี้ ผู้ปกครองยังนำเข้าแรงงานชาวยุโรปชาติอื่นอย่างเยอรมนีและชาวอูว์เกอโนในฝรั่งเศสเข้ามาเสริมแรงงานทาสหลายพันคนจากหม่เกาะอินเดียตะวันออกด้วย
อาณานิคมของชาวดัตช์ที่แหลมกู๊ดโฮปขยายตัวไปอย่างรวดเร็วจากการเป็นชุมชนเล็กๆสู่การตั้งเป็นอาณานิคมเคปโคโลนีในปี ค.ศ. 1778 ชาวดัตช์ปราบชนพื้นเมืองและที่เคยอาศัยอยู่ที่เคปได้และยึดดินแดนของชนพื้นเมืองมาเป็นของตน แต่การขยายดินแดนไปทางตะวันออกนั้นถูกจำกัดเมื่อมาชนกับการขยายดินแดนสู่ตะวันตกของชนพื้นเมือง รัฐบาลของดัตช์จึงได้เจรจากับหัวหน้าเผ่าคอร์ซาเพื่อหลีกเลี่ยงการสู้รบที่ไม่จำเป็นและเพื่อแบ่งเขตดินแดน ตกลงกันว่าจะไม่รุกรานกัน แต่ข้อตกลงนี้มักถูกละเมิดอยู่บ่อยครั้ง เกิดเป็นสงครามที่ยืดเยื้อและยาวนานที่สุดในดินแดนอาณานิคมแอฟริกาใต้คือ
การแข่งขันกับบริเตนใหญ่และฝรั่งเศส (ค.ศ. 1652-1795)
พระราชบัญญัติการเดินเรือที่รัฐสภาอังกฤษออกในปี ค.ศ. 1651 มีผลกระทบโดยตรงกับการเดินเรือของชาวดัตช์ในแถบทะเลแคริบเบียน นำมาสู่ความเป็นปฏิปักษ์ของทั้งสองประเทศในอีกหลายปีต่อมา เกิดเป็นสงครามอังกฤษ-ดัตช์หลายครั้ง นำมาซึ่งความเสื่อมของอำนาจทางทะเลของจักรวรรดิดัตช์
เริ่มต้นจากปี ค.ศ. 1661 ราชวงศ์ชิงของจีนส่งนายพลมารุกรานเกาะฟอร์โมซาที่ดัตช์ยึดครองในตอนนั้น เฟรเดริค โคเย็ตต์ ผู้ว่าราชการของชาวดัตช์สามารถรักษาที่มั่นได้กว่า 9 เดือน ก่อนที่นายพลของจีนจะเอาชนะกองกำลังเสริมที่ดัตช์ส่งมาจากเกาะชวาได้ ทำให้ชาวดัตช์ขาดแคลนกำลังพล โคเย็ตต์จึงได้ถอนตัวจากเกาะฟอร์โมซา และไม่เคยกลับมายึดครองอีกเลย
สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สองประทุขึ้นในปี ค.ศ. 1664 เมื่อชาวอังกฤษเคลื่อนพลเข้ายึดอาณานิคม แม้สงครามจะจบลงชัยชนะของเนเธอร์แลนด์ แต่เนเธอร์แลนด์ต้องยกอาณานิคมนิวเนเธอร์แลนด์ให้กับอังกฤษแลกกับอำนาจในการควบคุมโรงงานน้ำตาลในซูรินาม และได้ ซินต์เอิสตาซียึส และสถานีการค้าในแอฟริกาตะวันตกมาครอบครองตามสนธิสัญญาเบรดาในปี ค.ศ. 1667 อย่างไรก็ตาม ข้อตกลงในสนธิสัญญาไม่เป็นที่พอใจของทั้งสองฝ่ายเท่าไหร่นัก นำมาสู่สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม โดยชาวดัตช์พยายามจะยึดนิวเนเธอร์แลนด์คืน และทำสำเร็จในปี ค.ศ. 1673 แต่ก็เสียไปอีกครั้งในปีต่อมา จากนั้นชาวดัตช์ถอนตัวออกจากทวีปอเมริกาเหนืออย่างสิ้นเชิง แม้ชุมชนชาวดัตช์จะยังเข้มแข็งและรักษาธรรมเนียมวัฒนธรรมของตนได้อย่างเหนียวแน่นภายใต้การปกครองของอังกฤษจนถึงกลางศววรรษที่ 18 ส่วนในอเมริกาใต้ ชาวดัตช์ยึดครองกาเยินเน (ปัจจุบันคือเฟรนช์เกียนา) ได้ในปี ค.ศ. 1658 แต่มาเสียคืนให้กับฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1664 เพราะอาณานิคมไม่ได้ทำกำไรให้กับเนเธอร์แลนด์เท่าใดนัก ชาวดัตช์ยึดครองคืนมาได้ในปี ค.ศ. 1676 แต่ก็เสียคืนไปอย่างถาวรในปีต่อมา
การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปี ค.ศ. 1688 เป็นการปฏิวัติโค่นล้มราชบัลลังก์ของ สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ เจ้าชายวิลเลียมแห่งราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซา ประสบความสำเร็จในการบุกยึดอังกฤษ ด้วยกองทัพเรือของเจ้าชายวิลเลียม ตามมาซึ่งการขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษร่วมกับ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ การปฏิวัติครั้งนี้นำมาซึ่งเอกภาพในการครองราชบัลลังก์อังกฤษ สก็อตแลนด์ ไอร์แลนด์ และเนเธอร์แลนด์ จึงเป็นการยุติความขัดแย้งระหว่างเนเธอร์แลนด์และอังกฤษไปโดยปริยาย แต่ความเป็นปฏิปักษ์กับฝรั่งเศสยังคงอยู่
แต่ต่อมาในช่วงสงครามปฏิวัติอเมริกา บริเตนประกาศสงครามกับเนเธอร์แลนด์ และในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สี่ บริเตนยึดครองเกาะซีลอน อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ได้ แต่เมื่อสิ้นสงคราม สนธิสัญญาปารีสระบุว่าเกาะซีลอนตกเป็นของเนเธอร์แลนด์อีกครั้งแลกกับการเสียให้กับบริเตน ในปี ค.ศ. 1783
สมัยนโปเลียน (ค.ศ. 1795-1815)
กองกำลังปฏิวัติฝรั่งเศสเข้ายึดครองสาธารณรัฐดัตช์ในปี ค.ศ. 1795 ทำให้เนเธอร์แลนด์อยู่ใต้การปกครองของฝรั่งเศสในฐานะสาธารณรัฐปัตตาเวีย บริเตนซึ่งในขณะนั้นอยู่ในสงครามกับฝรั่งเศสจึงได้เข้ายึดครองอาณานิคมของดัตช์ในเอเชีย แอฟริกาใต้ และทะเลแคริบเบียน
บริเตนและฝรั่งเศสได้ลงนามกันในสนธิสัญญาอาเมียง โดยเคปโคโลนีและหมู่เกาะของบริษัทอินเดียตะวันตกของเนเธอร์แลนด์ที่บริเตนยึดมาได้จะถูกคืนให้กับสาธารณรัฐปัตตาเวีย เกาะซีลอนตกเป็นของจักรวรรดิบริติช และเมื่อบริเตนกับฝรั่งเศสแตกหักกันในปี ค.ศ. 1803 กองกำลังบริติชเข้ายึดครองเคปโคโลนีได้อีกครั้ง และบริเตนเข้ายึดครองเกาะชวาได้ในปี ค.ศ. 1811
ในปี ค.ศ. 1806 จักรพรรดินโปเลียนยุบสาธารณรัฐปัตตาเวียและตั้งราชวงศ์ของหลุยส์ โบนาปาร์ต พระอนุชาของพระองค์เป็นกษัตริย์ปกครองเนเธอร์แลนด์ อย่างไรก็ตาม ราชวงศ์นี้อยู่ได้ไม่นานเมื่อมีการยุบเลิกและให้เนเธอร์แลนด์ตกอยู่ใต้การปกครองของฝรั่งเศสโดยตรงในฐานะจังหวัดเมื่อปี ค.ศ. 1810 ซึ่งระบบนี้คงอยู่ได้สามปี ฝรั่งเศสก็เพี่ยงพล้ำในสงครามนำมาซึ่งอิสรภาพของเนเธอร์แลนด์ ได้มีการลงนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 1814 โดยอาณานิคมที่บริเตนเคยยึดไปก่อนหน้านี้ถูกโอนคืนให้กับเนเธอร์แลนด์ ยกเว้นเคปโคโลนี กายอานา และศรีลังกา
หลังสมัยนโปเลียน (ค.ศ. 1815-1945)
ผลจากการประชุมใหญ่แห่งเวียนนามีการแบ่งเส้นพรมแดนยุโรปใหม่ เบลเยียมและเนเธอร์แลนด์ผนวกรวมกันอีกครั้งเป็นสหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 1815 ก่อนที่เบลเยียมจะแยกประเทศออกไปในปี ค.ศ. 1830
บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ที่ล้มละลายไปในช่วงสงครามนโปเลียนถูกกู้คืนและปลดหนี้ได้สำเร็จเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1800 และดินแดนต่างๆถูกรวมเป็นชาติของหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ แต่การแข่งขันล่าอาณานิคมของอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ยังคงดำเนินต่อไป โดยเฉพาะที่สิงคโปร์ บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษยึดครองสิงคโปร์ได้ซึ่งตอนนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของสุลต่านแห่งยะโฮร์ แต่เนเธอร์แลนด์ชี้ว่าได้มีการทำสนธิสัญญากับสุลต่านพระองค์ก่อนไปแล้วที่ได้ให้ชาวดัตช์มีอำนาจควบคุมสิงคโปร์ อย่างไรก็ตาม ข้อเรียกร้องนี้กลับไม่เป็นผล สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญและมีชาวบริติชเข้ามาตั้งถิ่นฐานเป็นจำนวนมากไปแล้ว เป็นไปได้ยากที่จะอพยพย้ายออกไป เนเธอร์แลนด์มองเห็นปัญหานี้จึงได้เจรจาและลงนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 1824 โดยเนเธอร์แลนด์เสียเมืองมะละกาให้กับจักรวรรดิบริติชและยอมรับการครอบครองของบริเตนเหนือสิงคโปร์ ส่วนบริเตนจะคืนเบิงโกเลิน(ปัจจุบันคือจังหวัดเบิงกูลูในเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย)ให้กับเนเธอร์แลนด์และจะไม่เซ็นสนธิสัญญาใดๆกับผู้ปกครองของเกาะต่างๆทางตอนใต้ของช่องแคบสิงคโปร์อีก ดังนั้น ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงถูกแบ่งเป็นสองขั้วอย่างชัดเจน โดยอังกฤษครอบครองดินแดนจนถึงคาบสมุทรมลายู ส่วนชาวดัตช์ครองครองหมู่เกาะอินโดนีเซีย
ในอดีต บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ไม่ได้ครอบครองพื้นที่ของอินโดนีเซียมากนัก แต่เริ่มมาขยายดินแดนอย่างจริงจังในศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 ได้มีการขยายอาณาเขตมาจนถึงราวๆชายแดนของอินโดนีเซียในปัจจุบัน แต่เดิม ประชาชนจะอาศัยอยู่แค่ในเกาะชวา อันเป็นบริเวณเกษตรกรรมที่อุดมสมบูรณ์ ส่วนพื้นที่อื่นๆในอาเจะฮ์ ลมบก บาหลี บอร์เนียว นั้นยังเป็นเอกราช
ส่วนทางตะวันตกนั้น ดัตช์ได้ขายดินแดนโกลด์โคสต์ (ปัจจุบันคือดินแดนประเทศกานา) ให้กับอังกฤษ และได้ยุบบริษัทอินเดียตะวันตกของเนเธอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 1791 ส่วนอาณานิคมในซูรินามและในทะเลแคริบเบียนเปลี่ยนมาขึ้นตรงต่อรัฐบาลเนเธอร์แลนด์โดยตรง เศรษฐกิจของอาณานิคมดัตช์ในแคริบเบียนเคยขึ้นอยู่กับการลักลอบค้าทาสก็ได้รับผลกระทบโดยตรงเมื่อมีการประกาศเลิกทาสในปี ค.ศ. 1814 และการประกาศเอกราชของหลายประเทศในอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้จากการปกครองของสเปน เศรษฐกิจของอาณานิคมในทะเลแคริบเบียนถดถอยอย่างรวดเร็ว พ่อค้าชาวดัตช์อพยพไปอยู่สหรัฐอเมริกาและประเทศในอเมริกาใต้ เหลือเพียงประชากรส่วนน้อยที่ยังปักหลักอยู่ที่เดิมและต้องคอยรับการช่วยเหลือทางการเงินจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ การเลิกทาสในดินแดนแถบนี้เป็นไปอย่างเชื่องช้า ผู้ครองทาสเรียกร้องเงินชดเชยจากรัฐบาลเพื่อการปลดปล่อยทาสทีละเล็กละน้อย ก่อนจะมีการนำแรงงานจีนเข้ามาแทนที่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19
การปลดปล่อยอาณานิคม (ค.ศ. 1945-1975)
อินโดนีเซีย
ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะอุบัติขึ้น มีกลุ่มชาตินิยมอินโดนีเซียดำเนินการเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราช แต่ก็ถูกชาวดัตช์ผู้ปกครองปราบปรามลงได้อย่างสงบ จนกระทั่งก้าวเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพญี่ปุ่นเข้ารุกรานหมู่เกาะอินเดียตะวันออก ชาวดัตช์ยอมจำนนในอีกสองเดือนต่อมาที่ชวา ชาวอินโดนีเซียยอมเข้าร่วมกับญี่ปุ่นเพราะมองว่าเป็นผู้มาปลดปล่อยจากการเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ ญี่ปุ่นให้การสนับสนุนกลุ่มชาตินิยมโดยมีซูการ์โนเป็นผู้นำ
สองวันหลังจากญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไข ซูการ์โนและเพื่อนร่วมอุดมการณ์ชาตินิยมได้ประกาศเอกราชของอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1945 แต่ทางการเนเธอร์แลนด์ไม่ได้เห็นด้วย นำกำลังเข้าโจมตีชาวอาณานิคมหวังจะเข้าปกครองดังเดิม แต่กลับถูกนานาชาติคัดค้าน จนกระทั่งเดือนธันวาคม ค.ศ. 1949 รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ได้เจรจาและประกาศรับรองเอกราชของอินโดนีเซียอย่างเป็นทางการ แต่ชาวดัตช์ยังครอบครองดินแดนทางตะวันตกของเกาะนิวกินีอยู่และปกครองในชื่อนิวกินีของเนเธอร์แลนด์ อินโดนีเซียได้เรียกร้องและกดดันให้เนเธอร์แลนด์คืนดินแดนทั้งหมด และสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมกดดันด้วย เนเธอร์แลนด์จึงได้ยกให้กับอินโดนีเซียอย่างเป็นทางการจากข้อตกลงนิวยอร์กเมื่อปี ค.ศ. 1962
ซูรินามและเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส
ในปี ค.ศ. 1954 มีการออก ประกาศให้เนเธอร์แลนด์ ซูรินาม และเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส(รวมถึงอารูบา)เป็น ในชื่อ ราชอาณาจักรไตรภาคีเนเธอร์แลนด์ (Tripartite Kingdom of the Netherlands) อดีตอาณานิคมในอเมริกาใต้และแคริบเบียนได้รับสิทธิ์ในการปกครองตนเองยกเว้นเรื่องการป้องกันประเทศ การต่างประเทศ และสิทธิพลเมืองที่เป็นอำนาจของรัฐบาลกลาง กระทั่งในปี ค.ศ. 1969 มีการเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชในกือราเซา กองทัพเรือของเนเธอร์แลนด์ส่งกองกำลังเข้าปราบปราม กระทั่งมีการเปิดเจรจาสันติภาพกันกับซูรินามในปี ค.ศ. 1973 และรับรองเอกราชของซูรินามอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1975 ประชาชนกว่า 60,000 คนอพยพไปอยู่ในเนเธอร์แลนด์
ต่อมาในปี ค.ศ. 2010 เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสถูกยุบอย่างเป็นทางการ ซาบา ซินต์มาร์เติน และซินต์เอิสตาซียึส ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเนเธอร์แลนด์ ในฐานะเทศบาลพิเศษของประเทศ หรือที่เรียกกันว่า ส่วนเกาะอื่นๆอย่างกือราเซาและซินต์มาร์เตินแยกออกไปเป็นประเทศเอกราช แต่อยู่ภายใต้พระมหากษัตริย์องค์เดียวกันกับเนเธอร์แลนด์ ภายใต้ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
วิวัฒนาการของจักรวรรดิ
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1630
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1650
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1674
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1700
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1750
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1795
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1830
- จักรวรรดิดัตช์ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1960
- จักรวรรดิดัตช์ใน ค.ศ. 1975
อ้างอิง
- Israel, Jonathan (2003). Empires and Entrepots: Dutch, the Spanish Monarchy and the Jews, 1585–1713. London: Hambledon Press. pp. x–xii. ISBN .
- Andre du Toit & Hermann Giliomee. Afrikaner Political Thought: Analysis and Documents, Volume One (1780–1850) (1983 ed.). Claremont: David Philip (Pty) Ltd. pp. 1–305. ISBN .
- Ames, Glenn J. (2008). The Globe Encompassed: The Age of European Discovery, 1500–1700. pp. 102–103.
- Hunt, John (2005). Campbell, Heather-Ann (บ.ก.). Dutch South Africa: Early Settlers at the Cape, 1652–1708. Philadelphia: University of Pennsylvania Press. pp. 2–13. ISBN .
- http://jirat-b-fluke.blogspot.com/2012/05/blog-post.html
- Hsin-Hui, Chiu (2008). The Colonial 'civilizing Process' in Dutch Formosa: 1624–1662. Leiden: Tuta Sub Aegide Pallas. pp. 3–8. ISBN .
- Indrajit Ray (2011). Bengal Industries and the British Industrial Revolution (1757-1857). Routledge. pp. 57, 90, 174. ISBN .
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ckrwrrdixananikhmdtch dtch Nederlandse koloniale rijk epnhnunginckrwrrdixananikhmkhxngolkthiepndinaednophnthaelkhxngsatharnrthdtchsungidprakasexkrachcakckrwrrdisepn aelaepnmhaxanacthangthaelechnediywkb sepn oprtueksaelashrachxanackr prakxbdwydinaednophnthaelaelasthanikarkhathikhwbkhumodybristhexkchnkhxngdtch swnihykhuxbristhxinediytawntkaelabristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelnd sungtxmakhwbkhumodysatharnrthdtch aelarachxanackrenethxraelndtamladb inchwngaerk xananikhmkhxngdtcherimtnmacakcudprasngkhthangkarkhamakkwakarkhyayxanaekhtdinaedn mikarsrangpxmprakarrimfng orngngan thaerux aelaimkhrxbkhrxngphunthimaknkephuxeliyngkarichcayngbpramanthiimcaepninkarbriharxananikhm ennkaraelkepliynkhakhaykbchnphunemuxngdngedim ykewninekhpokholni pccubnkhuxaexfrikait aelahmuekaaxinediytawnxxkkhxngenethxraelnd pccubnkhuxxinodniesiy thimikarkhyayxanaekhtekhaipindinaednephuxpkkhrxngchawxananikhmckrwrrdixananikhmdtch Nederlandse koloniale rijkkh s 1602 kh s 1975thngchatiaephnthiaesdngxananikhmkhxngckrwrrdidtchaelasthanikarkhathiekiywkhxng siekhiywxxnkhuxdinaednthithukpkkhrxngodybristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelnd swnsiekhiywekhmthukpkkhrxngodybristhxinediytawntkkhxngenethxraelnd praethsinpccubn enethxraelnd ebleyiym brasil kana kayxana xinediy xinodniesiy yipun lkesmebirk maelesiy mxriechiys aexfrikait srilngka surinam ithy ithwn shrthxahrbexmierts shrachxanackr shrthsthanackrwrrdiemuxnghlwngxmsetxrdmprawtisastr kxtngkh s 1602 karyudkhrxngekaaxmbnkh s 1605 ekhapkkhrxngxinodniesiykh s 1800 esiyxinodniesiykh s 1949 esiyniwkinikhxngenethxraelndkh s 1962 papwniwkiniprakasexkrachkh s 1975 khwamaekhngaekrngkhxngxutsahkrrmtxeruxkhxngchawdtchmiswnsakhyinkarkhyayxanackrkarkharahwangyuorpkbolktawnxxk aetedimnnbristhkarkhainyuorpmikhnadelk immienginthunaelakalngkhnmakphxthicadaeninnganinradbihy rthsphaenethxraelndmxbsiththikhadihbristhexkchnkhuxkhuxbristhxinediytawntkaelabristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelnddaeninkarkha odymixanacsungekuxbethiybetharthbal mikhwamsamarththicaekharwmsngkhram sngcakhukprapraharchiwitnkoths ecrcasnthisyya aelacdtngxananikhmexngid nbwaepnbristhkarkhathangthaelthiihyaelakwangkhwangmakthisudinkhnann khyayesnthangkarkhaipthungthwipxemrikaitphanchxngaekhbmaecllnthangtawnxxkkhxngaexfrikaphanaehlmkudohp mienginthunihlewiynmhasal thaihkrungxmsetxrdmkidklaymaepnsunyklangkarenginkhxngyuorp cnminkesrsthsastrhlaykhnthuxihenethxraelndepnpraethsrabxbthunniympraethsaerkkhxngolk namasuyukhrungeruxngthieriykwa yukhthxngkhxngenethxraelndinstwrrsthi 17 aetemuxekhasukhriststwrrsthi 18 ckrwrrdidtcherimesuxmlngcakphlkhxngsngkhramxngkvs dtchkhrngthi 4 inchwngpi kh s 1780 thung 1784 epnphlihckrwrrdidtchsuyesiyxananikhmcanwnmakihkbckrwrrdibritich aelamaesiydinaednepnbriewnkwangchwnghlngsngkhramolkkhrngthisxngthimikareriykrxngexkrachindinaednxananikhmthwolkcuderimtn kh s 1543 1602 cuderimtnkhxngckrwrrdidtchmacakkarrwmtwepnshxanackrkhxngrthinklumpraethsaephndintakaenidepnklumsibecdmnthl khuntrngtxkarpkkhrxngodytrngkhxngckrphrrdikharlthi 5 aehngckrwrrdiormnxnskdisiththiaelakstriyaehngsepnemuxpi kh s 1543 txmaidekidodychawopretsaetnthkhuninpi kh s 1566 ephuxkarepnxisratxkarpkkhrxngkhxngsepnthiepnormnkhathxlik aelanaipsusngkhramaepdsibpi idprakasexkrachkhxngenethxraelndaelakxtngsatharnrthdtchkhuninpi kh s 1581 aetimidrbkarrbrxngcaksepncnkrathngpi kh s 1648 thiidmikarlngnaminsnthisyyasntiphaphewstfaeliythimikarlngnam yutisngkhramsamsibpi sngkhramaepdsibpi aelarbrxngexkrachkhxngsatharnrthdtchxyangepnthangkar cnghwdhxlaelndaelaeslndkhxngsatharnrtherimmibthbaththangkarkhathangthaelmatngaetkxnsmyxyuitkarpkkhrxngkhxngsepn enuxngcakthaelthitngpracwbehmaathicaepncudphankhxngsinkhaipyngfrngess skxtaelnd eyxrmni xngkvs aelarthbxltik emuxekidsngkhramkbsepn phxkhathimngkhngaelachangfimuxthiswnihychawopretsaetnthidxphyphcakaexntewirpkhunehnuxipyngkrungxmsetxrdmcnklaymaepnsunyklangkarlngthun thnakhar aelakartxeruxaehngihm canwnthunthimakkhunthaihchawdtchkhyayesnthangkarkhacakedimcakdxyuaekhephuxnbaninyuorpehnuxipsukarepidesnthangihmsuthaelemdietxereniynaelaliaewnt aelainchwngthswrrsthi 1590 chawdtcherimkhakhaykbbrasil okldokhstinaexfrika aelaepidesnthangihmsumhasmuthrxinediy xnepnaehlngkhaekhruxngethsthisakhy odyemuxpi kh s 1594 mikarkxtngkhxmpanyifanaefrerx bristhephuxaednikl khunthixmsetxrdm miepahmaycasngkxngeruxsxnglaipynghmuekaaekhruxngethsmaluku kxngeruxxxksumhasmuthrkhrngaerkinpi 1596 klbmainpi 1594 brrthukphrikithyklbmaetmla aemkaredinthangkhrngaerkcaethathun aetkchwyyunynkarmixyuaelakhwamepnipidinkarthakarkhakbhmuekaaekhruxngeths naipsukaredineruxkhrngthisxnginpi 1598 thung 1599 naekhruxngethsklbmaxikkhrngaelathakairkhrngnisungthung 400 epxresnt khwamsaerckhrngninaipsukarkxtngbristhxikhlayaehngephuxaekhngkhnthangkarkha karepidesnthangkarkhasuolktawnxxkniepnkarruklaxiththiphlkhxngoprtueksthikalngetibotepnmhaxanackhakhaykbtawnxxkiklinkhnann emuxkstriykhxngoprtueksswrrkhtaelaimmiphrarachoxrssubthxdrachsmbti oprtueksidphnwkrwmkbsepn dngnn khwamkhdaeyngkboprtuekscungklayepnkhwamkhdaeyngkbsepnodypriyay sngkhramrahwangdtchkboprtueksthaihxanackrsepntxngaebngthngngbpramanaelakalngphlthiichinkartxsukbchawdtchinphunaephndinihyinsngkhramprakasxisrphaph matxsukbchawdtchindinaednophnthaelxikdwykareruxngxanackhxngchawdtch kh s 1602 1652 emuxmibristhekidkhunmakmayhlngcakthikxngeruxbrrthukekhruxngethsklbmayngsatharnrthaelathakairmhasal phlpraoychncakkarkhacungldlngipenuxngcakkaraekhngkhnipthaihtnthunekhruxngethsthitnthanginxinodniesiymirakhasungkhun pyharahwangbristhninaipsukarkxtngshbristhxinediytawnxxk dtch Verenigde Oost Indische Compagnie hruxyxepn VOC khunemuxpi kh s 1602 odybristhidsiththikhadcakrthsphaenethxraelndinkarthakarkhaaelasarwcepnewla 21 pikbdinaednthixyuthangtawnxxkkhxngaehlmkudohpaelathangtawntkkhxngchxngaekhbmaeclln phuxanwykarkhnaerkkhxngbristh khux eherinthi 17 idrbxanacinkarsrangpxmprakar lngnaminsnthisyya cdtngkxngkalngthharthangbkaelathael aelathasngkhrampxngknphlpraoychn bristhidxxkkhayibhunkhlaykbrabbkhxngbristhxinediytawnxxkkhxngxngkvsaetepidkhayihkbsatharnchndwy miphuihkhwamsnicekhamasuxibhunephuxrwmlngthunkbbristhxyangthwmthn txmainpi kh s 1621 idmikarkxtngkhunephuxthakarkhakbswnxunkhxngolkthiimidthbsxnkbbristhxinediytawnxxkodyhlkxyuinthaelaextaelntik thwipxemrika aelafngtawntkkhxngthwipaexfrika odyidrbsiththikhadinkarthakarkha 25 pi chawdtchyngidtngsthanikarkhakbxanackrxyuthyakhxngsyamdwyinpi kh s 1604 trngkbrchsmykhxngsmedcphranerswrmharachkhwamkhdaeyngkbsepnaelaoprtueksesahluys inrthmarneya smythichawdtchpkkhrxngbrasilbangswnchychnakhxngoprtueksinyuththkarkwraraepspidchakxananikhmkhxngenethxraelndinbrasil sngkhramrahwangenethxraelndaelasepnimephiyngepnkarsurbrahwangchawdtchaelachawsepninphunaephndinihyephuxkareriykrxngexkrachethann yngepnkarkxsukbkxngkalnginsthanikarkhaaelapxmprakarindinaednophnthaeldwy chawdtcherimrukranxananikhmkhxngsepnaelatxmakhxngoprtueksdwy nbtngaetpi kh s 1517 thaeruxlisbxnkhxngoprtueksepntladsakhyinkarsuxkhaysinkhathimacakxinediykbchawyuorp aethlngcakthisepnidphnwkrwmoprtueksekhaepnxanackrediywknphayitrachwngshaphsbwrkhinpi kh s 1580 dinaednaelatladkhxngoprtuekscungklayepnkhxngsepndwy chawdtchcungtdsinicthicaxxkedinthaeldwytwexngnbtngaetpi kh s 1595 epntnma odyphyayamichesnthangkarkhathichawoprtueksekbepnkhwamlb aet nksarwcchawdtchsubhamaidcaklisbxn karkhyayesnthangkarkhakhxngdtchthierimipiklthungexechiytawnxxkechiyngitsngphlkrathbxyangchdecnkbphlpraoychnkbsepnaelaoprtueksthiidrwmepnxanackrediywkn inkhriststwrrsthi 17 bristhxinediytawntkerimbukocmtixananikhmkhxngoprtueksinbrasilaelaaexfrikathiepndinaednkhanatal exechiy chumchnhlkkhxngchawdtchaelachawoprtueksinpi kh s 1665 emuxxanackhxngckrwrrdioprtuekserimesuxmlngcaksngkhramtxenuxng bristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelnderimthyxyyudkhrxngdinaednxananikhmkhxngoprtueksthilaelklanxy ephraaaetladinaedntngxyuaeykknaelayakthicahakalngesrimhakthukocmti chawdtchyudekaaxmbn inxinodniesiy cakoprtueksidinpi kh s 1605 aetyudmalakaimsaerc chawdtchkhnphbwaekaaxmbnepncudyuththsastrthiimehmaaaelaichpraoychncaklmmrsumimid cungesaahathitngthanthphaehngihmcnkrathngmaphbcakartathitxbocthyni yan khun nakalngekhayudinpi kh s 1619 tngchuxihmepnpttaewiy aelaklaymaepnemuxnghlwngkhxnghmuekaaxinediytawnxxkkhxngenethxraelnd chawdtchphyayamyuddinaednkhxngoprtuekstxipaelayudkhrxngmalakaidsaercinpi kh s 1641 inkarbukkhrngthisxngethann tammadwykaryudokhlmob kh s 1656 silxng kh s 1658 kh s 1662 aelaokchi kh s 1662 xyangirktam chawdtchimsamarthyudkwxnepnemuxnghlwngkhxngckrwrrdioprtueksthangtawnxxkidhlngbukocmtiinpi kh s 1603 aela 1610 aelakarocmtimaekathichawoprtuekstngepnsunyklangkarphukkhadkarkhakbcinaelayipunthungsikhrngkimprasbkhwamsaerc aetrthbalochkunkhxngyipunerimkhlaaekhlngicsngsyinkarephyaephrsasnakhxngphrakhathxlikchawoprtueksnaipsukarkhbilxxkcakekaainpi kh s 1639 aelaepliynmaihsiththikhadkbenethxraelndthakarkhakhaykbyipun epnchatitawntkephiyngchatiediywthiidsiththiniinyukhthiyipunpidpraethsinyukhexoda kh s 1639 thung 1854 nxkcakni chawdtchyngidsarwcphbbriewntawntkkhxngxxsetreliyklangstwrrsthi 17 dwy chawdtchyudkhrxngmxriechiysidinpi kh s 1638 odytngchuxephuxepnekiyrtikb aehngrachwngsxxernc nsesa ecaphukhrxngdinaedndtch nbepnchwngewlasisibpihlngcakthikxngeruxkxngthisxngkhxngenethxraelndthimakhnekhruxngethsklbipkhayinpi kh s 1598 xbpangdwyphayuthidinaednni xyangirktam chawdtchidslaekaaniipenuxngcaksphaphxakasthiimxanwyinxikhlaysibpitxma swnthangtawnxxk chawdtchidtngxananikhmthithahywn thangtxnitkhxngithwn odyinkhnannepnxananikhmkhxngoprtueksthiruckkninchuxekaafxromsa kxnthichawdtchcayudkhrxngtxnehnuxkhxngekaaidcaksepninpi kh s 1642 khwamphyayamkhxngenethxraelndinkaryudkhrxngfilippinscaksepninpi kh s 1646 nnekuxbcaprasbkhwamsaercaetmaphladthainkhrngthicayudmanila caknn chawdtchklmelikkhwamkhidthicayudmanilaaelafilippinsxik odyrwm chawdtchsngchawyuorpipthanganinesnthangkarkhakbexechiyrahwangpi kh s 1602 thung 1796 ekuxbhnunglankhn hlaykhnesiychiwitdwyorkhphyinkaredinthangklbyuorpaetxikhlaykhnkprbtwekhakbdinaednxananikhmid chawdtchmiptismphnththidikbchawphunemuxnginsrilngkaaelahmuekaaxinodniesiy xemrika karyudkhrxngxananikhmkhxngdtchodybristhxinediytawntkkhxngenethxraelnd inthaelaextaelntiknn bristhxinediytawntkkhxngenethxraelndennkarkhyayxanacipyngdinaednsunyklangkarkhanatalaelathasaekhngkbckrwrrdioprtueksaelasepn chawdtchyudbaexiythichayfngtawnxxkechiyngehnuxkhxngbrasilidinpi kh s 1624 aetkthukkxngkalngphsmsepnoprtueksyudkhunidinpithdma aemodyrwmaelw bristhxinediytawntkkhxngenethxraelndcathasngkhramsurbkbxanackrsepnimid aet phleruxexkkhxngdtchocmtiaelacbkumkxngeruxkhxngsepnidinpi kh s 1628 aelwsngsinkhaaelaolhamikhaklbipyngbrisththaihbristhxinediytawntksamarthcayenginpnphlkhunihkbphuthuxhunidthungrxyla 70 chawdtchyudkhrxngeprnmbuku thinkarkhanatalkhxngoprtueksidinpi kh s 1630 tlxdcnorngngannatalthixyurxb aelayudemuxng sunyklangkarkhathasidcakoprtueksinpi kh s 1637 ephuxpxnaerngngansuxutsahkrrmnatal swninaexfrika chawdtchyudkhrxngchumchnoprtueksinaexngoklaidinpi kh s 1641 aelaemuxng pccubnxyuinpraethskana idinpitxma klawidwa phayinpi kh s 1650 chawdtchsamarthyudkhrxngesnthangkarkhanatalaelathasidxyangmnkhng aelayngidyudkhrxnghmuekaaaekhribebiyn idaek sintmaretin kuxraesa xaruba aelaobaenerxidephuxkhrxbkhrxngnaekluxkhxnghmuekaa aephnthikhxnginpi kh s 1650 xyangirktam karyudkhrxngxananikhminbrasilaelaaexfrikacakmuxkhxngoprtueksnnimprasbkhwamsaercehmuxninexechiyephraaswnihymkcayudkhrxngidimnankmkcaesiyip odythrrmchatiaelwchawdtchepnphxkhamakkwaphupkkhrxngxananikhm chawoprtuekshlaykhnyngkhngxasyxyuindinaednophnthaelaemcaesiyxanackarpkkhrxngihkbchawdtch chumchnoprtueksineprnmbukukxkarkbdkhunnpi kh s 1654 khbchawdtchxxkcakbrasil aelaoprtueksyngidsngkxngkalngcakbrasilipyudemuxngluxnda emuxnghlwngkhxngaexngoklakhuninpi kh s 1648 khbilchawdtchxxkipcakphunthi swnthangtawnxxkechiyngehnuxkhxngthwipxemrikaehnux ekhayudkhrxngphunthibriewnxxlbani rimaemnahdsnidinpi kh s 1614 aelakhrxbkhrxngepnewlasipikxnthibristhxinediytawntkkhxngenethxraelndcaekhamakhrxbkhrxngkickar chawdtchsngkxngeruxipkhakhaykhnstwnbtngaetehnri hdsn nkedineruxchawxngkvssarwckhnphbxawhdsnemuxpi kh s 1609 xyangirktam thitngkhxngxxlbaniimkhxycaplxdphynkephraaxyuiklkbdinaednthixngkvsaelafrngesskhrxbkhrxngxyu cungidmikaryaylngmasrangemuxngpxmprakarxyuthiniwxmsetxrdminpi kh s 1625 thipakaemnahdsnaelasngesrimihprachachnmatngthinthantamekaalxngaelarthniwecxrsiy aetochkhimdithikarkhakhnstwimprasbkhwamsaercnk karphukkhadkarkhathukthalaydwykarlklxbkhakhay thaihkartngxananikhmthiniwenethxraelndimthakair xyangirkdi chawdtchiddinaednephimetimemuxsamarthyudkhrxngxananikhmkhxngniwswiednrimaemnaedlaaewridinpi kh s 1655 inpi kh s 1643 bristhxinediytawntkkhxngdtchidtngxananikhmthiemuxngbldiebiy thangtxnitkhxngchiliidinpi kh s 1643 ephuxepidesnthangkarkhyaydinaednsuthangtawntkkhxngthwipxemrikait sunginyukhnntkxyuitxanackhxngsepn ehtuphlhnungkhxngkaryudkhrxngkhuxkarekhathungaehlngthxngkhathisepnekhymakhudkhnaelanaaermikhaniklbipthakairmhasalihkbckrwrrdi xyangirktam chawphunemuxngthiekhykhbilkxngthphsepnxxkcakbldiebiyinpi kh s 1604 kthaechnediywknkbkxngkalngchawdtch khbilphurukranidhlngcakkarekhayudkhrxngephiyngimkieduxn hlngcaknnsepnkklbmathibldiebiyxikkhrngaelasrangpxmprakarthiaekhngaekrngkhunthiemuxngni aexfrikait phaphkhxngxawethebil aexfrikait odymikxngeruxkhxngbristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelndpracakar inpi kh s 1683 bristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelndepnmhaxanacinkarkhaekhruxngethsaelaihmchwngklangstrrsthi 17 mikartngxananikhmthiaehlmkudohpinpi kh s 1652 ephuxepnsthaniesbiyngsahrberuxsinkhathicaedinthangipyuorpaelaexechiy chawdtchyaythinthanmathiaexfrikaitxyangrwderwhlngcaknn rthyngsnbsnunenginthunaelaykewnphasiihkbchawxananikhmaelkkbkarphlitxaharephuxpxnihkberuxthiphanipma nxkcakni phupkkhrxngyngnaekhaaerngnganchawyuorpchatixunxyangeyxrmniaelachawxuwekxoninfrngessekhamaesrimaerngnganthashlayphnkhncakhmekaaxinediytawnxxkdwy xananikhmkhxngchawdtchthiaehlmkudohpkhyaytwipxyangrwderwcakkarepnchumchnelksukartngepnxananikhmekhpokholniinpi kh s 1778 chawdtchprabchnphunemuxngaelathiekhyxasyxyuthiekhpidaelayuddinaednkhxngchnphunemuxngmaepnkhxngtn aetkarkhyaydinaednipthangtawnxxknnthukcakdemuxmachnkbkarkhyaydinaednsutawntkkhxngchnphunemuxng rthbalkhxngdtchcungidecrcakbhwhnaephakhxrsaephuxhlikeliyngkarsurbthiimcaepnaelaephuxaebngekhtdinaedn tklngknwacaimrukrankn aetkhxtklngnimkthuklaemidxyubxykhrng ekidepnsngkhramthiyudeyuxaelayawnanthisudindinaednxananikhmaexfrikaitkhuxkaraekhngkhnkbbrietnihyaelafrngess kh s 1652 1795 phrarachbyytikaredineruxthirthsphaxngkvsxxkinpi kh s 1651 miphlkrathbodytrngkbkaredineruxkhxngchawdtchinaethbthaelaekhribebiyn namasukhwamepnptipkskhxngthngsxngpraethsinxikhlaypitxma ekidepnsngkhramxngkvs dtchhlaykhrng namasungkhwamesuxmkhxngxanacthangthaelkhxngckrwrrdidtch erimtncakpi kh s 1661 rachwngschingkhxngcinsngnayphlmarukranekaafxromsathidtchyudkhrxngintxnnn efredrikh okheytt phuwarachkarkhxngchawdtchsamarthrksathimnidkwa 9 eduxn kxnthinayphlkhxngcincaexachnakxngkalngesrimthidtchsngmacakekaachwaid thaihchawdtchkhadaekhlnkalngphl okheyttcungidthxntwcakekaafxromsa aelaimekhyklbmayudkhrxngxikely sngkhramxngkvs enethxraelndkhrngthisxngprathukhuninpi kh s 1664 emuxchawxngkvsekhluxnphlekhayudxananikhm aemsngkhramcacblngchychnakhxngenethxraelnd aetenethxraelndtxngykxananikhmniwenethxraelndihkbxngkvsaelkkbxanacinkarkhwbkhumorngngannatalinsurinam aelaid sintexistasiyus aelasthanikarkhainaexfrikatawntkmakhrxbkhrxngtamsnthisyyaebrdainpi kh s 1667 xyangirktam khxtklnginsnthisyyaimepnthiphxickhxngthngsxngfayethaihrnk namasusngkhramxngkvs enethxraelndkhrngthisam odychawdtchphyayamcayudniwenethxraelndkhun aelathasaercinpi kh s 1673 aetkesiyipxikkhrnginpitxma caknnchawdtchthxntwxxkcakthwipxemrikaehnuxxyangsineching aemchumchnchawdtchcayngekhmaekhngaelarksathrrmeniymwthnthrrmkhxngtnidxyangehniywaennphayitkarpkkhrxngkhxngxngkvscnthungklangswwrrsthi 18 swninxemrikait chawdtchyudkhrxngkaeyinen pccubnkhuxefrnchekiyna idinpi kh s 1658 aetmaesiykhunihkbfrngessinpi kh s 1664 ephraaxananikhmimidthakairihkbenethxraelndethaidnk chawdtchyudkhrxngkhunmaidinpi kh s 1676 aetkesiykhunipxyangthawrinpitxma karptiwtixnrungorcninpi kh s 1688 epnkarptiwtiokhnlmrachbllngkkhxng smedcphraecaecmsthi 2 aehngxngkvs ecachaywileliymaehngrachwngsxxernc nsesa prasbkhwamsaercinkarbukyudxngkvs dwykxngthpheruxkhxngecachaywileliym tammasungkarkhunkhrxngrachbllngkxngkvsepn phraecawileliymthi 3 aehngxngkvsrwmkb smedcphrarachininathaemrithi 2 aehngxngkvs karptiwtikhrngninamasungexkphaphinkarkhrxngrachbllngkxngkvs skxtaelnd ixraelnd aelaenethxraelnd cungepnkaryutikhwamkhdaeyngrahwangenethxraelndaelaxngkvsipodypriyay aetkhwamepnptipkskbfrngessyngkhngxyu aettxmainchwngsngkhramptiwtixemrika brietnprakassngkhramkbenethxraelnd aelainsngkhramxngkvs enethxraelndkhrngthisi brietnyudkhrxngekaasilxn xananikhmkhxngenethxraelndid aetemuxsinsngkhram snthisyyaparisrabuwaekaasilxntkepnkhxngenethxraelndxikkhrngaelkkbkaresiyihkbbrietn inpi kh s 1783smynopeliyn kh s 1795 1815 kxngkalngptiwtifrngessekhayudkhrxngsatharnrthdtchinpi kh s 1795 thaihenethxraelndxyuitkarpkkhrxngkhxngfrngessinthanasatharnrthpttaewiy brietnsunginkhnannxyuinsngkhramkbfrngesscungidekhayudkhrxngxananikhmkhxngdtchinexechiy aexfrikait aelathaelaekhribebiyn brietnaelafrngessidlngnamkninsnthisyyaxaemiyng odyekhpokholniaelahmuekaakhxngbristhxinediytawntkkhxngenethxraelndthibrietnyudmaidcathukkhunihkbsatharnrthpttaewiy ekaasilxntkepnkhxngckrwrrdibritich aelaemuxbrietnkbfrngessaetkhkkninpi kh s 1803 kxngkalngbritichekhayudkhrxngekhpokholniidxikkhrng aelabrietnekhayudkhrxngekaachwaidinpi kh s 1811 inpi kh s 1806 ckrphrrdinopeliynyubsatharnrthpttaewiyaelatngrachwngskhxnghluys obnapart phraxnuchakhxngphraxngkhepnkstriypkkhrxngenethxraelnd xyangirktam rachwngsnixyuidimnanemuxmikaryubelikaelaihenethxraelndtkxyuitkarpkkhrxngkhxngfrngessodytrnginthanacnghwdemuxpi kh s 1810 sungrabbnikhngxyuidsampi frngesskephiyngphlainsngkhramnamasungxisrphaphkhxngenethxraelnd idmikarlngnaminsnthisyyaxngkvs enethxraelndinpi kh s 1814 odyxananikhmthibrietnekhyyudipkxnhnanithukoxnkhunihkbenethxraelnd ykewnekhpokholni kayxana aelasrilngkahlngsmynopeliyn kh s 1815 1945 aephnthikarkhyayxanackhxngenethxraelndinhmuekaaxinodniesiyaephnthixananikhmkhxngenethxraelndpramanpi kh s 1840 thnginhmuekaaxinediytawnxxk kuxraesa surinam aelaokldokhst phlcakkarprachumihyaehngewiynnamikaraebngesnphrmaednyuorpihm ebleyiymaelaenethxraelndphnwkrwmknxikkhrngepnshrachxanackrenethxraelndinpi kh s 1815 kxnthiebleyiymcaaeykpraethsxxkipinpi kh s 1830 bristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelndthilmlalayipinchwngsngkhramnopeliynthukkukhunaelapldhniidsaercemuxwnthi 1 mkrakhm kh s 1800 aeladinaedntangthukrwmepnchatikhxnghmuekaaxinediytawnxxkkhxngenethxraelnd aetkaraekhngkhnlaxananikhmkhxngxngkvsaelaenethxraelndyngkhngdaenintxip odyechphaathisingkhopr bristhxinediytawnxxkkhxngxngkvsyudkhrxngsingkhopridsungtxnnnxyuphayitkarpkkhrxngkhxngsultanaehngyaohr aetenethxraelndchiwaidmikarthasnthisyyakbsultanphraxngkhkxnipaelwthiidihchawdtchmixanackhwbkhumsingkhopr xyangirktam khxeriykrxngniklbimepnphl singkhoprklayepnsunyklangkarkhathisakhyaelamichawbritichekhamatngthinthanepncanwnmakipaelw epnipidyakthicaxphyphyayxxkip enethxraelndmxngehnpyhanicungidecrcaaelalngnaminsnthisyyaxngkvs enethxraelndinpi kh s 1824 odyenethxraelndesiyemuxngmalakaihkbckrwrrdibritichaelayxmrbkarkhrxbkhrxngkhxngbrietnehnuxsingkhopr swnbrietncakhunebingokelin pccubnkhuxcnghwdebingkuluinekaasumatra xinodniesiy ihkbenethxraelndaelacaimesnsnthisyyaidkbphupkkhrxngkhxngekaatangthangtxnitkhxngchxngaekhbsingkhoprxik dngnn dinaednexechiytawnxxkechiyngitcungthukaebngepnsxngkhwxyangchdecn odyxngkvskhrxbkhrxngdinaedncnthungkhabsmuthrmlayu swnchawdtchkhrxngkhrxnghmuekaaxinodniesiy inxdit bristhxinediytawnxxkkhxngenethxraelndimidkhrxbkhrxngphunthikhxngxinodniesiymaknk aeterimmakhyaydinaednxyangcringcnginstwrrsthi 19 cnthungtnstwrrsthi 20 idmikarkhyayxanaekhtmacnthungrawchayaednkhxngxinodniesiyinpccubn aetedim prachachncaxasyxyuaekhinekaachwa xnepnbriewnekstrkrrmthixudmsmburn swnphunthixuninxaecah lmbk bahli bxreniyw nnyngepnexkrach swnthangtawntknn dtchidkhaydinaednokldokhst pccubnkhuxdinaednpraethskana ihkbxngkvs aelaidyubbristhxinediytawntkkhxngenethxraelndinpi kh s 1791 swnxananikhminsurinamaelainthaelaekhribebiynepliynmakhuntrngtxrthbalenethxraelndodytrng esrsthkickhxngxananikhmdtchinaekhribebiynekhykhunxyukbkarlklxbkhathaskidrbphlkrathbodytrngemuxmikarprakaselikthasinpi kh s 1814 aelakarprakasexkrachkhxnghlaypraethsinxemrikaehnuxaelaxemrikaitcakkarpkkhrxngkhxngsepn esrsthkickhxngxananikhminthaelaekhribebiynthdthxyxyangrwderw phxkhachawdtchxphyphipxyushrthxemrikaaelapraethsinxemrikait ehluxephiyngprachakrswnnxythiyngpkhlkxyuthiedimaelatxngkhxyrbkarchwyehluxthangkarengincakrthbalenethxraelnd karelikthasindinaednaethbniepnipxyangechuxngcha phukhrxngthaseriykrxngenginchdechycakrthbalephuxkarpldplxythasthilaelklanxy kxncamikarnaaerngngancinekhamaaethnthiinchwngplaykhriststwrrsthi 19karpldplxyxananikhm kh s 1945 1975 xinodniesiy prathanathibdisukaron phunaeriykrxngexkrachkhxngxinodniesiy kxnsngkhramolkkhrngthisxngcaxubtikhun miklumchatiniymxinodniesiydaeninkarekhluxnihweriykrxngexkrach aetkthukchawdtchphupkkhrxngprabpramlngidxyangsngb cnkrathngkawekhasusngkhramolkkhrngthisxng kxngthphyipunekharukranhmuekaaxinediytawnxxk chawdtchyxmcanninxiksxngeduxntxmathichwa chawxinodniesiyyxmekharwmkbyipunephraamxngwaepnphumapldplxycakkarepnxananikhmkhxngenethxraelnd yipunihkarsnbsnunklumchatiniymodymisukaronepnphuna sxngwnhlngcakyipunprakasyxmaephsngkhramxyangimmienguxnikh sukaronaelaephuxnrwmxudmkarnchatiniymidprakasexkrachkhxngxinodniesiy emuxwnthi 17 knyayn kh s 1945 aetthangkarenethxraelndimidehndwy nakalngekhaocmtichawxananikhmhwngcaekhapkkhrxngdngedim aetklbthuknanachatikhdkhan cnkrathngeduxnthnwakhm kh s 1949 rthbalenethxraelndidecrcaaelaprakasrbrxngexkrachkhxngxinodniesiyxyangepnthangkar aetchawdtchyngkhrxbkhrxngdinaednthangtawntkkhxngekaaniwkinixyuaelapkkhrxnginchuxniwkinikhxngenethxraelnd xinodniesiyideriykrxngaelakddnihenethxraelndkhundinaednthnghmd aelashrthxemrikaekharwmkddndwy enethxraelndcungidykihkbxinodniesiyxyangepnthangkarcakkhxtklngniwyxrkemuxpi kh s 1962 surinamaelaenethxraelndaexnthillis chawxananikhminsurinam pi kh s 1920 chawyuorpswnihyklbenethxraelndhlngsurinamidxisrphaphinpi kh s 1975 inpi kh s 1954 mikarxxk prakasihenethxraelnd surinam aelaenethxraelndaexnthillis rwmthungxaruba epn inchux rachxanackritrphakhienethxraelnd Tripartite Kingdom of the Netherlands xditxananikhminxemrikaitaelaaekhribebiynidrbsiththiinkarpkkhrxngtnexngykewneruxngkarpxngknpraeths kartangpraeths aelasiththiphlemuxngthiepnxanackhxngrthbalklang krathnginpi kh s 1969 mikarekhluxnihweriykrxngexkrachinkuxraesa kxngthpheruxkhxngenethxraelndsngkxngkalngekhaprabpram krathngmikarepidecrcasntiphaphknkbsurinaminpi kh s 1973 aelarbrxngexkrachkhxngsurinamxyangepnthangkarinpi kh s 1975 prachachnkwa 60 000 khnxphyphipxyuinenethxraelnd txmainpi kh s 2010 enethxraelndaexnthillisthukyubxyangepnthangkar saba sintmaretin aelasintexistasiyus thukrwmepnswnhnungkhxngpraethsenethxraelnd inthanaethsbalphiesskhxngpraeths hruxthieriykknwa swnekaaxunxyangkuxraesaaelasintmaretinaeykxxkipepnpraethsexkrach aetxyuphayitphramhakstriyxngkhediywknkbenethxraelnd phayitrachxanackrenethxraelndwiwthnakarkhxngckrwrrdickrwrrdidtchin kh s 1630 ckrwrrdidtchin kh s 1650 ckrwrrdidtchin kh s 1674 ckrwrrdidtchin kh s 1700 ckrwrrdidtchin kh s 1750 ckrwrrdidtchin kh s 1795 ckrwrrdidtchin kh s 1830 ckrwrrdidtchkxnsngkhramolkkhrngthisxng ckrwrrdidtchin kh s 1960 ckrwrrdidtchin kh s 1975xangxingIsrael Jonathan 2003 Empires and Entrepots Dutch the Spanish Monarchy and the Jews 1585 1713 London Hambledon Press pp x xii ISBN 978 1852850227 Andre du Toit amp Hermann Giliomee Afrikaner Political Thought Analysis and Documents Volume One 1780 1850 1983 ed Claremont David Philip Pty Ltd pp 1 305 ISBN 0908396716 Ames Glenn J 2008 The Globe Encompassed The Age of European Discovery 1500 1700 pp 102 103 Hunt John 2005 Campbell Heather Ann b k Dutch South Africa Early Settlers at the Cape 1652 1708 Philadelphia University of Pennsylvania Press pp 2 13 ISBN 978 1904744955 http jirat b fluke blogspot com 2012 05 blog post html Hsin Hui Chiu 2008 The Colonial civilizing Process in Dutch Formosa 1624 1662 Leiden Tuta Sub Aegide Pallas pp 3 8 ISBN 978 9004165076 Indrajit Ray 2011 Bengal Industries and the British Industrial Revolution 1757 1857 Routledge pp 57 90 174 ISBN 978 1 136 82552 1 duephimckrwrrdi yukhthxngkhxngenethxraelnd bthkhwampraeths dinaedn hruxekhtkarpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk